[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
18 พฤษภาคม 2567 06:42:17 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า:  [1] 2 3 ... 10
 1 
 เมื่อ: 1 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย สุขใจ ข่าวสด - กระทู้ล่าสุด โดย สุขใจ ข่าวสด
ไม่ฟินแถมสะพรึง สาวลงอ่างกับแฟน เห็นวิธีอาบน้ำแล้วจะอ้วก ถามควรเลิกกันไหม?
         


ไม่ฟินแถมสะพรึง สาวลงอ่างกับแฟน เห็นวิธีอาบน้ำแล้วจะอ้วก ถามควรเลิกกันไหม?" width="100" height="100  สาวแชร์ประสบการณ์อาบน้ำกับแฟน ช็อกเพิ่งรู้พฤติกรรมการอาบน้ำ จนอยากจะเลิก ชาวเน็ตแค่อ่านยังสะพรึงตาม
         

https://www.sanook.com/news/9386742/
         

 2 
 เมื่อ: 4 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย สุขใจ ข่าวสด - กระทู้ล่าสุด โดย สุขใจ ข่าวสด
ไรเดอร์หัวจะปวด โดนด่าหาว่าเป็นชู้กับเมีย บอกเห็นโทรมาบ่อย ตอนจบเสียงอ่อย
         


ไรเดอร์หัวจะปวด โดนด่าหาว่าเป็นชู้กับเมีย บอกเห็นโทรมาบ่อย ตอนจบเสียงอ่อย" width="100" height="100  คลิปไวรัล TikTok ไรเดอร์หัวจะปวด อยู่ดี ๆ เจอด่าหาว่าเป็นชู้กับเมีย เปิดเครื่องด่าไฟแลบ ก่อนเสียงอ่อยเมื่อรู้ความจริง
         

https://www.sanook.com/news/9386746/
         

 3 
 เมื่อ: 6 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย สุขใจ ข่าวสด - กระทู้ล่าสุด โดย สุขใจ ข่าวสด
ธรรมาภิบาล กระจายอำนาจ ความหวังของ “คนไร้ที่พึ่ง” (1) กลับไม่ได้เพราะไม่มีบ้านให้กลับ
 


<span>ธรรมาภิบาล กระจายอำนาจ ความหวังของ “คนไร้ที่พึ่ง” (1) กลับไม่ได้เพราะไม่มีบ้านให้กลับ</span>
<span><span>user8</span></span>
<span><time datetime="2024-05-16T20:59:46+07:00" title="Thursday, May 16, 2024 - 20:59">Thu, 2024-05-16 - 20:59</time>
</span>

            <div class="field field--name-field-byline field--type-text-long field--label-hidden field-item"><p>ภัทรภร ผ่องอำไพ รายงาน/ถ่ายภาพ</p></div>
     
            <div class="field field--name-body field--type-text-with-summary field--label-hidden field-item"><p>“คนไร้บ้าน” แค่มีบ้านก็พอใจสุขสบายแล้วจริงหรือ?&nbsp;</p><p>โมเดลการสร้างสถานสงเคราะห์ชดเชยปัญหาที่อยู่อาศัยเพื่อให้คนไร้บ้านมีบ้านอยู่เพียงพอหรือแท้จริงแล้วเป็นไปตามความต้องการของคนไร้บ้านหรือไม่?</p><p>มิติของการแก้ปัญหาให้กลุ่มคนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง ได้รับการแก้ไขอย่างถูกจุดแล้วหรือไม่?&nbsp;</p><p>สารคดีตอนแรกซึ่งเป็นหนึ่งในสองตอนนี้จะได้ทำความรู้จักกับ คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่งใน กรุงเทพมหานคร พื้นที่บริเวณตรอกสาเกและพื้นที่หัวลำโพง เรื่องเล่าที่ต้องการสะท้อนความรู้สึก ความทรงจำ เกี่ยวกับถิ่นที่อยู่ที่เรียกว่า “บ้าน” และภาวะที่กลับบ้านไม่ได้เพราะ “ไม่มีบ้าน” ให้กลับนั้นเป็นอย่างไร&nbsp;</p><h2>เรื่องเล่าจาก “คนไร้บ้าน/คนไร้ที่พึ่ง”</h2><img src="https://live.staticflickr.com/65535/53725528199_90f90526e6_k.jpg" width="2048" height="1365" loading="lazy"><p class="picture-with-caption">หนึ่ง วัย 38 ปี อดีตคนไร้ที่พึ่งที่เคยอาศัยนอนบริเวณ หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง คนแรกรู้จักในชื่อ หนึ่ง พื้นเพเดิมเป็นคนจังหวัด อุบลราชธานี ย้ายเข้ามาอยู่กรุงเทพฯ กับพ่อแม่ พ่อประกอบอาชีพขับรถแท็กซี่ ส่วนแม่ขายส้มตำ&nbsp;</p><p>หลังจากย่าของเขาเสียชีวิต ครอบครัวจึงย้ายถิ่นฐานกลับบ้านที่ อุบลฯ ตามเดิม แต่หนึ่งไม่ได้ตามไปด้วย แต่ไปได้งานเสิร์ฟอาหารในร้านอาหารแห่งหนึ่งในย่านสุขุมวิท&nbsp;</p><p>กระทั่งเจอโควิดระลอกแรก แม้เขาจะยังพอมีเงินจุนเจือให้สามารถประคองชีวิตอยู่รอดได้ แต่ชีวิตของหนึ่งต้องมาพบกับความอับจนเมื่อร้านอาหารนั้นสังกัดปิดตัวลงหลังจากเจอโควิดรอบสองด้วยว่าไม่สามารถแบกต้นทุนต่อไปได้ ถึงเดือนมิถุนายน ปี 2565 เมื่อไม่มีรายได้เพียงพอที่จะจ่ายค่าเช่าห้องอีกต่อไป หนึ่งจึงตัดสินใจออกมาอาศัยพื้นที่บริเวณหลังสถานีหัวลำโพงที่เป็นพักพิง</p><p>“ถ้าถามว่าทำไมถึงไม่กลับไปพร้อมกับพ่อแม่ที่อุบลฯ ถ้าเป็นคนต่างจังหวัดจะเข้าใจว่างานในต่างจังหวัดมันไม่ได้มีเยอะ กลับบ้านมันก็เหนื่อยนะ”</p><h2>จากห้องเช่า เป็น “บ้านถาวร”</h2>หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>“วันแรกที่มานอน ก็กลัวนะ ไม่ใช่ไม่กลัว แต่มันเป็นภาวะต้องยอมจำนน คืนแรกหลับๆ ตื่นๆ ตลอด หลังจากนั้นก็มารวมกลุ่มนอนกับป้าๆ แถวๆ นี้เอา นอนไปนอนมามันก็ชินไปเองเรื่องอาหารก็ไม่ได้ลำบากอะไร เพราะมีคนมาแจกข้าวบ่อยจนกินไม่ทันต้องขอให้เขาให้อย่างอื่นแทน เช่น ยากันยุงบ้าง ยาลดปวดไข้บ้าง คนมาแจกเขาก็เข้าใจนะ บางคนก็ให้เป็นเงินสดแนบมาก็มี ลำบากบ้างเวลาจะอาบน้ำเข้าห้องน้ำหรือถ้าหนักสุดบางคนป่วยไม่มีบัตรประชาชนก็ตายตรงนี้เลย คนไร้บ้านแถวนี้ตายเป็นข่าวก็เยอะ แต่ก็ทำได้แค่มองดูเขาตายช่วยอะไรทำอะไรไม่ได้”</p><p>หนึ่ง เล่าว่า ในช่วงโควิดระลอกหลังที่เขาและเพื่อนที่อาศัยนอนสาธารณะแถวนั้นจำต้องคอยหลบเจ้าหน้าที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) หน่วยงานของ กทม. หน่วยงานเทศกิจ ฯลฯ ไม่ให้โดนจับ การรับมือกับสถานการณ์คนไร้บ้านช่วงนั้นถือว่าใช้มาตรการที่รุนแรงไม่ว่าจะเป็น ใช้รถทหารจับคนขึ้นรถ ใช้ปืนน้ำแรงสูงฉีดน้ำไล่ ทำให้เวลาที่ได้ยินเสียงรถหรือเห็นคนใส่ชุดสีชมพู คนแถวนี้เป็นที่รู้กันว่าต้องวิ่งหนี</p><p>“ตอนนี้มีงานทำอยู่แล้วเพราะฉะนั้นสิ่งที่ต้องการมากที่สุดคือ ที่อยู่อาศัย มันคงไม่สามารถเปลี่ยนจากห้องเช่ามาเป็นบ้านถาวรได้หรอก มันก็คงต้องเป็นบ้านเช่าแบบนี้ไปนั้นแหละ” หนึ่ง หัวเราะ</p><p>“มีบ้านต่างจังหวัดแก่ตัวอายุ 40 อย่างมากก็กลับบ้านได้ แต่คนที่ไม่มีบ้านอ่ะเขาจะยังไง” หนึ่ง กล่าว</p><h2>พิษเศรษฐกิจบีบบังคับให้กลายสถานะเป็น “คนไร้ที่พึ่ง”</h2>บังอร วัย 62 ปี อดีตคนไร้ที่พึ่งที่เคยอาศัยนอนบริเวณ หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">บังอร วัย 62 ปี อดีตคนไร้ที่พึ่งที่เคยอาศัยนอนบริเวณ หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง คนที่สองชื่อ บังอร วัย 62 ปี เป็นคนจังหวัด สมุทรปราการ ประกอบอาชีพขายของและขายผลไม้เดินทางจากสมุทรปราการมาขายผลไม้ในเมืองใกล้กับตลาดมหานาคและหาห้องเช่าใกล้ๆ เพื่ออยู่อาศัย แต่หลังจากเจอกับสถานการณ์โควิด-19 ระบาด เธอค้าขายได้ไม่ดีนัก เงินที่ได้ก็ไม่เพียงพอที่จะเช่าห้อง จนสุดท้ายเธอกลายสถานะมาเป็น “คนไร้ที่พึ่ง”</p><p>“ช่วงแรกที่มานอนใหม่ๆ ก็กลัวไม่กล้านอน แต่ว่าเห็นว่าแถวนี้ก็มีผู้หญิงด้วย และคนก็เยอะ ตอนช่วงโควิดก็มีคนมาแจกข้าว น้ำ และก็มีให้เงินด้วยบางคน ก็เลยอยู่ตรงนี้ นอนตรงนี้จนเป็นปีอ่ะ”</p><p>บังอร เล่าว่า ระลอกแรกของโควิด-19 เจ้าหน้าที่รัฐ เจ้าหน้าที่เทศกิจ กทม. ไม่ได้เข้ามาช่วย ตรงกันข้ามกลับมองว่าไม่ทำมาหากิน และว่ากล่าว ติเตียน กลุ่มคนที่มาแจกของแจกข้าวว่าพฤติกรรมนี้เป็นการส่งเสริมให้กลุ่มคนไร้บ้านมีนิสัยขี้เกียจ ไม่ยอมออกไปหางานทำ บ่อยครั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจ เทศกิจ ไล่ไม่ให้คนมาแจกเกิดเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทให้เห็นบ่อยครั้ง&nbsp;</p><p>มาระลอกหลังที่มีเจ้าหน้าที่พยาบาลจากโรงพยาบาลเข้ามาตรวจฉีดวัคซีนโควิด-19 ดูแล รวมทั้งมีหน่วยงานภาคประชาสังคม (NGOs) เช่น เครือข่ายคนไร้บ้าน รวบรวมข้อมูลสอบถามความคิดเห็นพี่น้องคนไร้บ้าน และทำงานหน่วยงานภาครัฐมากขึ้นได้รับการช่วยเหลือ สนับสนุน รวมทั้งเช็คสิทธิ์สวัสดิการต่างๆ ท่าทีของหน่วยงานก็มีแนวโน้มที่ดีขึ้น</p><p>“สำหรับตนไม่ได้ขออะไรเยอะขอแค่โอกาส ช่วยหาห้องเช่าในช่วงไม่มีบ้าน ไม่มีที่นอน ช่วยหางานให้ทุนในการช่วยเหลือให้ตั้งหลักได้ แค่นี้ตนก็พอใจแล้ว”</p><h2>“บ้าน” ที่กลับไม่ได้</h2>เวท วัย 50 ปี คนไร้บ้านที่นอนประจำแถวเทเวศร์ ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">เวท วัย 50 ปี คนไร้บ้านที่นอนประจำแถวเทเวศร์ ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง รายสุดท้ายที่ได้สัมภาษณ์ ชื่อ เวท วัย 50 ปี เป็นคนจังหวัด ราชบุรี อาชีพเดิมรับจ้างทำสวน แต่รายได้ไม่ดีมากนักจึงตัดสินใจเข้ามาทำงานที่ กรุงเทพฯ เป็นเด็กกระเป๋ารถเมล์ รับจ้างทั่วไป ปัจจุบันด้วยอายุที่มากขึ้นจึงไม่ได้ทำงาน อีกทั้งเขายังเคยประสบอุบัติเหตุถูกรถชนทำให้ขาพิการ</p><p>เวทเล่าว่าช่วงแรกไม่ได้นอนที่ไหนเป็นพิเศษย้ายถิ่นไปเรื่อยๆ รวมกลุ่มนอนกับเพื่อนบ้าง นอนคนเดียวบ้าง แต่ไม่ได้ไปนอนแถวซอยตรอกสาเก ราชดำเนินฯ เพราะเห็นเจ้าถิ่นใช้กำลังทำร้าย ขโมยของบ้าง ปัจจุบันนอนอยู่ที่เทเวศร์ เพราะสงบเงียบกว่ามาก นานๆ ทีถึงจะกลับราชบุรี</p><p>“บ้านที่ราชบุรีที่เคยอยู่ ตอนนี้ไม่มีแล้ว”</p><p>“มีแต่ทะเบียนบ้าน ถ้าจะกลับก็ไปอยู่กับญาตินานๆ ทีผมจะกลับ ญาติก็มีจำได้บ้าง ไม่ได้บ้างเหมือนกัน เขาก็ไม่อยากให้เราอยู่” เวท กล่าว</p>ตรอกสาเก" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">ตรอกสาเก ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><h2>ป่วย ไข้ ไม่สบาย แก้ได้ถ้าเข้าถึงสิทธิ์</h2><p>เวท เล่าว่า เขามีบัตรประชาชน บัตรคนพิการเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว มีมูลนิธิอิสรชนที่พาไปทำเรื่องลงทะเบียนรักษา 30 บาทรักษาทุกโรค เวลาป่วยจึงไม่ได้กังวลเพราะใช้สิทธิ์รักษาตามบัตรได้ เจ้าหน้าที่พยาบาล โรงพยาบาลดูแลให้บริการดี แต่กรณีเพื่อนคนไร้บ้านที่รู้จักก็มีหลายคนที่ไม่มีบัตรประชาชน และยังไม่ได้ทำเรื่อง</p><p>“แต่ถ้าอย่างบางคนไม่มีบัตรอะไรเลย ป่วยที มันก็แล้วแต่เวรกรรมแต่ละคน”&nbsp;</p><h2>รัฐเสนอ “โครงการบ้านอิ่มใจ” และ “โครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง”</h2><p>จากเรื่องราวของคนทั้งสามคน ทำให้เกิดคำถามว่าคนที่ไร้บ้านไร้ที่พึ่งพาอาศัยเขามีชีวิตกันอย่างไร มีใครให้ความช่วยเหลือพวกเขาบ้างหรือเปล่า ทางการดูแลเขาแค่ไหน เท่าที่ได้สำรวจทำให้ทราบถึงโครงการบ้าน 2 ชื่อ คือ “โครงการบ้านอิ่มใจ” และ “โครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง” แล้วโครงการทั้งสองนี้เป็นอย่างไร อยู่ภายใต้การดูแลหน่วยงานไหน และใช้งบประมาณใด?</p><h3>‘บ้านอิ่มใจ’&nbsp;</h3><p>‘โครงการบ้านอิ่มใจ’ เปิดโครงการครั้งแรกวันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 โดย ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครขณะนั้นมีแนวทางต้องการช่วยเหลือคนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง คนมีรายได้น้อย ในพื้นที่กรุงเทพฯ ทั้งที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านสวัสดิการและการสงเคราะห์แก่ผู้รับบริการ ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย&nbsp;</p><p>บ้านอิ่มใจเป็นห้องพักรายวัน ตั้งอยู่ที่สี่แยกแม้นศรี เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย บริเวณสำนักงานการประปา สาขาแม้นศรี (เดิม) เนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 64.70 ตารางวา พื้นที่ใช้สอยรวม 10,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่เช่าของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อาคารตึกสูง 3 ชั้น แบ่งห้องพักเป็นห้องพักรวม ห้องพักชาย และห้องพักหญิง รองรับการเข้าพักได้วันละ 200 คน</p>บ้านอิ่มใจ" width="2048" height="1536" loading="lazy<p class="picture-with-caption">ที่มา : เฟสบุ๊ค บ้านอิ่มใจ กรุงเทพมหานคร</p><p>ต่อมา 14 มีนาคม 2562 ในสมัยที่ พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) มีมติเห็นชอบให้คืนพื้นประปาแม้นศรี(เดิม) ให้กับสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ในเดือนกันยายน 2562 เนื่องจาก กทม. เช่าพื้นที่ดังกล่าวในอัตราปีละ 28 ล้านบาท ตั้งแต่ปี 2555 – 2562 รวมเป็นเงินราว 200 ล้านบาท แต่กลับใช้พื้นที่ไม่คุ้มค่าประกอบกับคนไร้ที่พึ่งเข้าพักอาศัยอยู่ไม่มาก โดย กทม. กำหนดให้คนไร้ที่พึ่งออกภายในเดือนมิถุนายน 2562</p><p>ทั้งนี้ทาง กทม. ได้ย้ายมาเช่าพื้นที่บริเวณศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด อาคาร 4 ชั้น ที่วัดบางพลัดแทน เพื่อรองรับให้กับ คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง ในส่วนอัตราค่าเช่าเสียปีละ 100,000 บาท และสิ้นสุดสัญญาเช่าในปี 2565 จากนั้นข่าวคราวเกี่ยวกับโครงการก็เงียบหายไป</p><p>จนกระทั่ง 29 กุมภาพันธ์ 2567 ปรากฏข่าวเกี่ยวกับโครงการบ้านอิ่มใจอีกครั้ง โดยชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม.คนปัจจุบัน มีแผนจะเปิดให้บริการโดยกลับไปเช่าพื้นที่สำนักการประปาสาขาแม้นศรี(เดิม) กับสำนักงานทรัพย์สินฯ อีกครั้งเป็นสัญญาเช่า 30 ปี ค่าเช่า 3 ปีแรก 2567-2569 เดือนละ 1,071,050 บาท หรือปีละ 12,852,600 บาท และหากเป็นไปตามแผนบ้านอิ่มใจจะได้เปิดให้บริการในเดือนกันยายน 2567</p><h3>‘ค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง’</h3><p>โครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง คือ โครงการจัดที่อยู่อาศัยผ่านการมีส่วนร่วมของคนไร้บ้านในรูปแบบการ ‘แชร์’ ค่าเช่าที่อยู่อาศัย ร่วมกับกองทุนเครือข่ายคนไร้บ้าน มูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และภาคีเครือข่ายภาควิชาการ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม&nbsp;</p><p>จุดประสงค์ของโครงการเพื่อสนับสนุนที่อยู่อาศัยสำหรับคนไร้บ้าน ส่งเสริมการทำอาชีพต่างๆ และจัดการการเงินผ่านกองทุนเก็บออม เพื่อนำไปสู่การตั้งหลักชีวิตในระยะยาว ควบคู่กับการยกระดับคุณภาพชีวิต และลดความเสี่ยงทางสุขภาวะของคนไร้บ้านในพื้นที่สาธารณะ โดยให้คนไร้บ้านสมทบค่าเช่าร่วมกับโครงการฯ ในสัดส่วน 60:60 ของค่าเช่าห้อง ส่วนต่างที่เหลือร้อยละ 20 จะนำไปเป็นเงินกองทุนเพื่อช่วยเหลือสมาชิกคนไร้บ้านรายอื่นๆ หรือ สมทบในด้านอื่นๆ ต่อไป</p><p>วราวุธ ศิลปอาชา รมว. การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) กล่าวถึง เงื่อนไขของผู้เข้าร่วมโครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง คือ ต้องเป็นผู้ที่ไม่มีที่อยู่อาศัย ไม่มีงานทำ ห้องเช่าราคาถูกไม่เกิน 2,000 - 3,000 บาท เพื่อที่จะทำให้คนที่ประสบปัญหาไม่มีที่พักอาศัยสามารถมีที่อยู่และมีงานทำ กรณีคนไม่มีงานทำ กรมพัฒนาสังคมฯ จะช่วยหางานช่วยฝึกอาชีพให้ &nbsp;ซึ่งทางกระทรวง พม. ตั้งเป้าเอาไว้ว่าภายในปี 2579 ประชาชนทุกคนต้องมีที่อยู่อาศัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น</p><p>จากการที่เราได้สัมภาษณ์คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง หนึ่งและบังอรเป็น 2 คน ที่เคยเข้าร่วมโครงการนี้และเห็นด้วยที่จะให้โครงการนี้มีต่อไป</p><p>“ตอนแรกจะเข้าโครงการบ้านอิ่มใจ แต่เพราะไม่มีใครไปด้วย คนที่เคยไปแล้วกลับมาเล่ามีทั้งดีบ้างไม่ดีบ้างก็เลยไม่ได้ไป หลักๆ ก็ไกลเกินคนเลยไม่อยากจะไปจนมาได้รู้จักกับ โด่ง และ พัฒน์ เพื่อนเครือข่ายคนไร้บ้าน ทั้งสองคนชวนให้มารู้จักกับ ‘โครงการเช่าบ้านคนละครึ่ง’ ตอนนั้นลงทะเบียนเข้าร่วมอยู่เฟส 3 ก็รู้สึกว่าไม่แน่ใจว่าโครงการดีไหม จนอยู่บ้านเช่ามีเจ้าหน้าที่ช่วยหางาน หน่วยงานสนับสนุนให้ทุนซื้อรถเข่งผลไม้ มีเงินผ่อนค่าห้อง ปัจจุบันก็ไม่ได้มานอนหัวลำโพงแล้ว ถ้ามีโครงการนี้อีกก็สนใจจะสมัครเข้าร่วมด้วย” บังอร กล่าว</p><p>“รู้จักโครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่งผ่านทาง โด่ง มูลนิธิที่อยู่เพื่อการพัฒนา เคยเข้าร่วมโครงการครั้งหนึ่ง รู้สึกว่าโครงการนี้ช่วยคนไร้บ้านได้เยอะมาก หน่วยงานต่างๆ เข้ามาช่วยดูในเรื่องหางาน พาทำบัตรประชาชน เช็คสิทธิ์การรักษาต่างๆ ให้” หนึ่ง กล่าว</p><p>แต่ก็ยังมีเสียงที่สะท้อนความกังวล อย่างเช่น เวท ที่ถึงแม้ว่าจะรับรู้เรื่องโครงการทั้งสองแล้ว แต่ก็ไม่ได้เข้าร่วมเลือกใช้ชีวิตนอนสาธารณะดั่งเดิม</p><p>“เคยได้ยินมาเหมือนกัน โครงการบ้านต่างๆ ที่ให้คนไร้บ้านไปอยู่ แต่ไม่อยากไป ไม่อยากเข้าไปยุ่ง มันมีกติกา กฏระเบียบที่เราฝืนไม่ได้ สถานที่มันรวมกลุ่มคนที่ต่างคนก็ต่างมาจากหลายที่ ต่างคนก็ต่างจิตใจกัน คนเร่รอนในกรุงเทพฯ รั่วเยอะ” เวท กล่าว</p><p>อย่างไรก็ตาม โครงการทั้งสองที่ว่ามา ยังอยู่ห่างไกลจากสถานะที่จะเป็นที่พักพิงให้คนที่ไร้ที่พึ่งได้อย่างจริงจัง ทั้งปัญหาที่เกิดจากภายในระบบราชการเองอย่างกรณีของบ้านอิ่มใจ เมื่อมีเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เปลี่ยนผู้บริหารกรุงเทพมหานครแต่ละทีก็เปลี่ยนนโยบาย โครงการนี้จึงดูเหมือนจะกลับไปกลับมาอยู่อย่างนั้น เอาตัวเองยังไม่รอด ดูไม่น่าจะเป็นที่พึ่งให้ใครได้ ส่วนโครงการบ้านคนละครึ่งนั้นก็ฟังดูดี แต่ทางปฏิบัติก็อาจจะยาก เพราะคนที่ไร้ที่พึ่ง ไร้อาชีพจริงๆ หรือ อาจจะมีอาชีพที่ไม่สามารถหารายได้เพียงพอที่จะจ่ายค่าเช่าได้แม้แต่ 2,000-3,000 บาทต่อเดือนก็จัดว่าเป็นเงินที่ไม่น้อย ยังไม่นับว่าจะมีที่อยู่อาศัยแบบนั้นให้อย่างเพียงพอหรือไม่</p><p>เห็นได้ว่าการช่วยเหลือกลุ่มคนไร้บ้านไร้ที่พึ่งนั้นมีหน่วยงานที่เข้ามาเกี่ยวข้องเยอะแยะมากมายไม่ว่าจะเป็น รัฐ ภาคประชาสังคมและเครือข่ายรวมทั้งนักวิชาการ แต่ก็ยังดูเหมือนไม่มีแนวทางที่ยั่งยืนนักและการขาดรายได้ที่เพียงพอก็ยังอาจเป็นอุปสรรคในการเข้าถึงที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัย</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง ไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของความต้องการ “บ้าน”เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงสวัสดิการคุณภาพชีวิตที่ดีในฐานะประชาชนคนหนึ่งด้วย</p></div>
      <div class="node-taxonomy-container">
    <ul class="taxonomy-terms">
          <li class="taxonomy-term"><a href="http://prachatai.com/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" hreflang="th">ข่าhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1" hreflang="th">สังคhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99" hreflang="th">สิทธิมนุษยชhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95" hreflang="th">คุณภาพชีวิhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A" hreflang="th">ท้องถิ่นสร้างสื่อสอhttp://prachatai.com/category/depth" hreflang="th">depth[/url]</li>
          <li class="taxonomy-term"><a href="http://prachatai.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9E%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87" hreflang="th">คนไร้ที่พึ่http://prachatai.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99" hreflang="th">คนไร้บ้าhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99" hreflang="th">ท้องถิ่http://prachatai.com/category/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3" hreflang="th">กรุงเทพมหานคhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%A2" hreflang="th">ที่อยู่อาศัhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3" hreflang="th">สวัสดิกาhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A0%E0%B8%A3-%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%9E" hreflang="th">ภัทรภร ผ่องอำไhttps://prachataistore.net</div>
     
 

http://prachatai.com/journal/2024/05/109222
 

 4 
 เมื่อ: 6 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย สุขใจ ข่าวสด - กระทู้ล่าสุด โดย สุขใจ ข่าวสด
หนุ่มเดินอยู่ดีๆ โดนต่อยปากฉีก อึ้ง ตำรวจถามทำไมไม่ต่อยกลับ จับไม่ได้หรอกแค่คนบ้า
         


หนุ่มเดินอยู่ดีๆ โดนต่อยปากฉีก อึ้ง ตำรวจถามทำไมไม่ต่อยกลับ จับไม่ได้หรอกแค่คนบ้า" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;หนุ่มเดินอยู่ดีๆ โดนคนแปลกหน้าต่อยปากฉีก อึ้ง ตำรวจถามทำไมไม่ต่อยกลับ จับไม่ได้หรอกแค่คนบ้า ทั้งที่กล้องชัดมาก
         

https://www.sanook.com/news/9386730/
         

 5 
 เมื่อ: 8 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย สุขใจ ข่าวสด - กระทู้ล่าสุด โดย สุขใจ ข่าวสด
"ปิงปอง ศิรศักดิ์" หมดสิทธิ์ลงสมัคร สว. โทษตัวเองที่เพิ่งรู้ พลาดครั้งเดียวจบเลย
         


&quot;ปิงปอง ศิรศักดิ์&quot; หมดสิทธิ์ลงสมัคร สว. โทษตัวเองที่เพิ่งรู้ พลาดครั้งเดียวจบเลย" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;"ปิงปอง ศิรศักดิ์" เศร้า ลงสมัคร สว.ไม่ได้ เผยเหตุถูกตัดสิทธิ์ ขอโทษคนที่ฝากความหวัง เรื่องนี้คงต้องโทษตัวเอง
         

https://www.sanook.com/news/9386518/
         

 6 
 เมื่อ: 9 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย สุขใจ ข่าวสด - กระทู้ล่าสุด โดย สุขใจ ข่าวสด
หวยลาววันนี้ 17 พฤษภาคม 2567 ผลหวยลาววันนี้ ออกอะไร
         


หวยลาววันนี้ 17 พฤษภาคม 2567 ผลหวยลาววันนี้ ออกอะไร" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;ลุ้นสด หวยลาววันนี้ 17/5/67 ถ่ายทอดสดหวยลาว หวยลาวล่าสุด หวยลาวพัฒนา 17 พ.ค. 67 หวยลาวย้อนหลัง หวยลาว 6 ตัว วันนี้ออกอะไร งวด 17 พฤษภาคม 2567
         

https://www.sanook.com/news/9386042/
         

 7 
 เมื่อ: 11 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย สุขใจ ข่าวสด - กระทู้ล่าสุด โดย สุขใจ ข่าวสด
หนุ่มวอนโซเชียลช่วยอ่านลายมือหมอ สรุปป่วยเป็นอะไร?
         


หนุ่มวอนโซเชียลช่วยอ่านลายมือหมอ สรุปป่วยเป็นอะไร?" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;ผู้ใช้เฟสบุ๊กโพสภาพใบความเห็นแพทย์ โซเชียลถกกันวุ่นหมายถึงโรคอะไรเนี่ย
         

https://www.sanook.com/news/9386094/
         

 8 
 เมื่อ: 12 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย สุขใจ ข่าวสด - กระทู้ล่าสุด โดย สุขใจ ข่าวสด
ธรรมาภิบาล กระจายอำนาจ ความหวังของ “คนไร้ที่พึ่ง” (1) กลับไม่ได้เพราะไม่มีบ้านให้กลับ
 


<span>ธรรมาภิบาล กระจายอำนาจ ความหวังของ “คนไร้ที่พึ่ง” (1) กลับไม่ได้เพราะไม่มีบ้านให้กลับ</span>
<span><span>user8</span></span>
<span><time datetime="2024-05-16T20:59:46+07:00" title="Thursday, May 16, 2024 - 20:59">Thu, 2024-05-16 - 20:59</time>
</span>

            <div class="field field--name-field-byline field--type-text-long field--label-hidden field-item"><p>ภัทรภร ผ่องอำไพ รายงาน/ถ่ายภาพ</p></div>
     
            <div class="field field--name-body field--type-text-with-summary field--label-hidden field-item"><p>“คนไร้บ้าน” แค่มีบ้านก็พอใจสุขสบายแล้วจริงหรือ?&nbsp;</p><p>โมเดลการสร้างสถานสงเคราะห์ชดเชยปัญหาที่อยู่อาศัยเพื่อให้คนไร้บ้านมีบ้านอยู่เพียงพอหรือแท้จริงแล้วเป็นไปตามความต้องการของคนไร้บ้านหรือไม่?</p><p>มิติของการแก้ปัญหาให้กลุ่มคนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง ได้รับการแก้ไขอย่างถูกจุดแล้วหรือไม่?&nbsp;</p><p>สารคดีตอนแรกซึ่งเป็นหนึ่งในสองตอนนี้จะได้ทำความรู้จักกับ คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่งใน กรุงเทพมหานคร พื้นที่บริเวณตรอกสาเกและพื้นที่หัวลำโพง เรื่องเล่าที่ต้องการสะท้อนความรู้สึก ความทรงจำ เกี่ยวกับถิ่นที่อยู่ที่เรียกว่า “บ้าน” และภาวะที่กลับบ้านไม่ได้เพราะ “ไม่มีบ้าน” ให้กลับนั้นเป็นอย่างไร&nbsp;</p><h2>เรื่องเล่าจาก “คนไร้บ้าน/คนไร้ที่พึ่ง”</h2><img src="https://live.staticflickr.com/65535/53725528199_90f90526e6_k.jpg" width="2048" height="1365" loading="lazy"><p class="picture-with-caption">หนึ่ง วัย 38 ปี อดีตคนไร้ที่พึ่งที่เคยอาศัยนอนบริเวณ หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง คนแรกรู้จักในชื่อ หนึ่ง พื้นเพเดิมเป็นคนจังหวัด อุบลราชธานี ย้ายเข้ามาอยู่กรุงเทพฯ กับพ่อแม่ พ่อประกอบอาชีพขับรถแท็กซี่ ส่วนแม่ขายส้มตำ&nbsp;</p><p>หลังจากย่าของเขาเสียชีวิต ครอบครัวจึงย้ายถิ่นฐานกลับบ้านที่ อุบลฯ ตามเดิม แต่หนึ่งไม่ได้ตามไปด้วย แต่ไปได้งานเสิร์ฟอาหารในร้านอาหารแห่งหนึ่งในย่านสุขุมวิท&nbsp;</p><p>กระทั่งเจอโควิดระลอกแรก แม้เขาจะยังพอมีเงินจุนเจือให้สามารถประคองชีวิตอยู่รอดได้ แต่ชีวิตของหนึ่งต้องมาพบกับความอับจนเมื่อร้านอาหารนั้นสังกัดปิดตัวลงหลังจากเจอโควิดรอบสองด้วยว่าไม่สามารถแบกต้นทุนต่อไปได้ ถึงเดือนมิถุนายน ปี 2565 เมื่อไม่มีรายได้เพียงพอที่จะจ่ายค่าเช่าห้องอีกต่อไป หนึ่งจึงตัดสินใจออกมาอาศัยพื้นที่บริเวณหลังสถานีหัวลำโพงที่เป็นพักพิง</p><p>“ถ้าถามว่าทำไมถึงไม่กลับไปพร้อมกับพ่อแม่ที่อุบลฯ ถ้าเป็นคนต่างจังหวัดจะเข้าใจว่างานในต่างจังหวัดมันไม่ได้มีเยอะ กลับบ้านมันก็เหนื่อยนะ”</p><h2>จากห้องเช่า เป็น “บ้านถาวร”</h2>หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>“วันแรกที่มานอน ก็กลัวนะ ไม่ใช่ไม่กลัว แต่มันเป็นภาวะต้องยอมจำนน คืนแรกหลับๆ ตื่นๆ ตลอด หลังจากนั้นก็มรวมกลุ่มนอนกับป้าๆ แถวๆ นี้เอา นอนไปนอนมามันก็ชินไปเองเรื่องอาหารก็ไม่ได้ลำบากอะไร เพราะมีคนมาแจกข้าวบ่อยจนกินไม่ทันต้องขอให้เขาให้อย่างอื่นแทน เช่น ยากันยุงบ้าง ยาลดปวดไข้บ้าง คนมาแจกเขาก็เข้าใจนะ บางคนก็ให้เป็นเงินสดแนบมาก็มี ลำบากบ้างเวลาจะอาบน้ำเข้าห้องน้ำหรือถ้าหนักสุดบางคนป่วยไม่มีบัตรประชาชนก็ตายตรงนี้เลย คนไร้บ้านแถวนี้ตายเป็นข่าวก็เยอะ แต่ก็ทำได้แค่มองดูเขาตายช่วยอะไรทำอะไรไม่ได้”</p><p>หนึ่ง เล่าว่า ในช่วงโควิดระลอกแรกเขาและเพื่อนที่อาศัยนอนสาธารณะแถวนั้นต้องคอยหลบเจ้าหน้าที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) หน่วยงานของ กทม. หน่วยงานเทศกิจ ฯลฯ ไม่ให้โดนจับ การรับมือกับสถานการณ์คนไร้บ้านช่วงนั้นถือว่าใช้มาตรการที่รุนแรงไม่ว่าจะเป็น ใช้รถทหารจับคนขึ้นรถ ใช้ปืนน้ำแรงสูงฉีดน้ำไล่ ทำให้เวลาที่ได้ยินเสียงรถหรือเห็นคนใส่ชุดสีชมพู คนแถวนี้เป็นที่รู้กันว่าต้องวิ่งหนี</p><p>“ตอนนี้มีงานทำอยู่แล้วเพราะฉะนั้นสิ่งที่ต้องการมากที่สุดคือ ที่อยู่อาศัย มันคงไม่สามารถเปลี่ยนจากห้องเช่ามาเป็นบ้านถาวรได้หรอก มันก็คงต้องเป็นบ้านเช่าแบบนี้ไปนั้นแหละ” หนึ่ง หัวเราะ</p><p>“มีบ้านต่างจังหวัดแก่ตัวอายุ 40 อย่างมากก็กลับบ้านได้ แต่คนที่ไม่มีบ้านอ่ะเขาจะยังไง” หนึ่ง กล่าว</p><h2>พิษเศรษฐกิจบีบบังคับให้กลายสถานะเป็น “คนไร้ที่พึ่ง”</h2>บังอร วัย 62 ปี อดีตคนไร้ที่พึ่งที่เคยอาศัยนอนบริเวณ หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">บังอร วัย 62 ปี อดีตคนไร้ที่พึ่งที่เคยอาศัยนอนบริเวณ หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง คนที่สองชื่อ บังอร วัย 62 ปี เป็นคนจังหวัด สมุทรปราการ ประกอบอาชีพขายของและขายผลไม้เดินทางจากสมุทรปราการมาขายผลไม้ในเมืองใกล้กับตลาดมหานาคและหาห้องเช่าใกล้ๆ เพื่ออยู่อาศัย แต่หลังจากเจอกับสถานการณ์โควิด-19 ระบาด เธอค้าขายได้ไม่ดีนัก เงินที่ได้ก็ไม่เพียงพอที่จะเช่าห้อง จนสุดท้ายเธอกลายสถานะมาเป็น “คนไร้ที่พึ่ง”</p><p>“ช่วงแรกที่มานอนใหม่ๆ ก็กลัวไม่กล้านอน แต่ว่าเห็นว่าแถวนี้ก็มีผู้หญิงด้วย และคนก็เยอะ ตอนช่วงโควิดก็มีคนมาแจกข้าว น้ำ และก็มีให้เงินด้วยบางคน ก็เลยอยู่ตรงนี้ นอนตรงนี้จนเป็นปีอ่ะ”</p><p>บังอร เล่าว่า ระลอกแรกของโควิด-19 เจ้าหน้าที่รัฐ เจ้าหน้าที่เทศกิจ กทม. ไม่ได้เข้ามาช่วย ตรงกันข้ามกลับมองว่าไม่ทำมาหากิน และว่ากล่าว ติเตียน กลุ่มคนที่มาแจกของแจกข้าวว่าพฤติกรรมนี้เป็นการส่งเสริมให้กลุ่มคนไร้บ้านมีนิสัยขี้เกียจ ไม่ยอมออกไปหางานทำ บ่อยครั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจ เทศกิจ ไล่ไม่ให้คนมาแจกเกิดเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทให้เห็นบ่อยครั้ง&nbsp;</p><p>มาระลอกหลังที่มีเจ้าหน้าที่พยาบาลจากโรงพยาบาลเข้ามาตรวจฉีดวัคซีนโควิด-19 ดูแล รวมทั้งมีหน่วยงานภาคประชาสังคม (NGOs) เช่น เครือข่ายคนไร้บ้าน รวบรวมข้อมูลสอบถามความคิดเห็นพี่น้องคนไร้บ้าน และทำงานหน่วยงานภาครัฐมากขึ้นได้รับการช่วยเหลือ สนับสนุน รวมทั้งเช็คสิทธิ์สวัสดิการต่างๆ ท่าทีของหน่วยงานก็มีแนวโน้มที่ดีขึ้น</p><p>“สำหรับตนไม่ได้ขออะไรเยอะขอแค่โอกาส ช่วยหาห้องเช่าในช่วงไม่มีบ้าน ไม่มีที่นอน ช่วยหางานให้ทุนในการช่วยเหลือให้ตั้งหลักได้ แค่นี้ตนก็พอใจแล้ว”</p><h2>“บ้าน” ที่กลับไม่ได้</h2>เวท วัย 50 ปี คนไร้บ้านที่นอนประจำแถวเทเวศร์ ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">เวท วัย 50 ปี คนไร้บ้านที่นอนประจำแถวเทเวศร์ ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง รายสุดท้ายที่ได้สัมภาษณ์ ชื่อ เวท วัย 50 ปี เป็นคนจังหวัด ราชบุรี อาชีพเดิมรับจ้างทำสวน แต่รายได้ไม่ดีมากนักจึงตัดสินใจเข้ามาทำงานที่ กรุงเทพฯ เป็นเด็กกระเป๋ารถเมล์ รับจ้างทั่วไป ปัจจุบันด้วยอายุที่มากขึ้นจึงไม่ได้ทำงาน อีกทั้งเขายังเคยประสบอุบัติเหตุถูกรถชนทำให้ขาพิการ</p><p>เวทเล่าว่าช่วงแรกไม่ได้นอนที่ไหนเป็นพิเศษย้ายถิ่นไปเรื่อยๆ รวมกลุ่มนอนกับเพื่อนบ้าง นอนคนเดียวบ้าง แต่ไม่ได้ไปนอนแถวซอยตรอกสาเก ราชดำเนินฯ เพราะเห็นเจ้าถิ่นใช้กำลังทำร้าย ขโมยของบ้าง ปัจจุบันนอนอยู่ที่เทเวศร์ เพราะสงบเงียบกว่ามาก นานๆ ทีถึงจะกลับราชบุรี</p><p>“บ้านที่ราชบุรีที่เคยอยู่ ตอนนี้ไม่มีแล้ว”</p><p>“มีแต่ทะเบียนบ้าน ถ้าจะกลับก็ไปอยู่กับญาตินานๆ ทีผมจะกลับ ญาติก็มีจำได้บ้าง ไม่ได้บ้างเหมือนกัน เขาก็ไม่อยากให้เราอยู่” เวท กล่าว</p>ตรอกสาเก" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">ตรอกสาเก ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><h2>ป่วย ไข้ ไม่สบาย แก้ได้ถ้าเข้าถึงสิทธิ์</h2><p>เวท เล่าว่า เขามีบัตรประชาชน บัตรคนพิการเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว มีมูลนิธิอิสรชนที่พาไปทำเรื่องลงทะเบียนรักษา 30 บาทรักษาทุกโรค เวลาป่วยจึงไม่ได้กังวลเพราะใช้สิทธิ์รักษาตามบัตรได้ เจ้าหน้าที่พยาบาล โรงพยาบาลดูแลให้บริการดี แต่กรณีเพื่อนคนไร้บ้านที่รู้จักก็มีหลายคนที่ไม่มีบัตรประชาชน และยังไม่ได้ทำเรื่อง</p><p>“แต่ถ้าอย่างบางคนไม่มีบัตรอะไรเลย ป่วยที มันก็แล้วแต่เวรกรรมแต่ละคน”&nbsp;</p><h2>รัฐเสนอ “โครงการบ้านอิ่มใจ” และ “โครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง”</h2><p>จากเรื่องราวของคนทั้งสามคน ทำให้เกิดคำถามว่าคนที่ไร้บ้านไร้ที่พึ่งพาอาศัยเขามีชีวิตกันอย่างไร มีใครให้ความช่วยเหลือพวกเขาบ้างหรือเปล่า ทางการดูแลเขาแค่ไหน เท่าที่ได้สำรวจทำให้ทราบถึงโครงการบ้าน 2 ชื่อ คือ “โครงการบ้านอิ่มใจ” และ “โครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง” แล้วโครงการทั้งสองนี้เป็นอย่างไร อยู่ภายใต้การดูแลหน่วยงานไหน และใช้งบประมาณใด?</p><h3>‘บ้านอิ่มใจ’&nbsp;</h3><p>‘โครงการบ้านอิ่มใจ’ เปิดโครงการครั้งแรกวันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 โดย ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครขณะนั้นมีแนวทางต้องการช่วยเหลือคนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง คนมีรายได้น้อย ในพื้นที่กรุงเทพฯ ทั้งที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านสวัสดิการและการสงเคราะห์แก่ผู้รับบริการ ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย&nbsp;</p><p>บ้านอิ่มใจเป็นห้องพักรายวัน ตั้งอยู่ที่สี่แยกแม้นศรี เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย บริเวณสำนักงานการประปา สาขาแม้นศรี (เดิม) เนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 64.70 ตารางวา พื้นที่ใช้สอยรวม 10,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่เช่าของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อาคารตึกสูง 3 ชั้น แบ่งห้องพักเป็นห้องพักรวม ห้องพักชาย และห้องพักหญิง รองรับการเข้าพักได้วันละ 200 คน</p>บ้านอิ่มใจ" width="2048" height="1536" loading="lazy<p class="picture-with-caption">ที่มา : เฟสบุ๊ค บ้านอิ่มใจ กรุงเทพมหานคร</p><p>ต่อมา 14 มีนาคม 2562 ในสมัยที่ พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) มีมติเห็นชอบให้คืนพื้นประปาแม้นศรี(เดิม) ให้กับสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ในเดือนกันยายน 2562 เนื่องจาก กทม. เช่าพื้นที่ดังกล่าวในอัตราปีละ 28 ล้านบาท ตั้งแต่ปี 2555 – 2562 รวมเป็นเงินราว 200 ล้านบาท แต่กลับใช้พื้นที่ไม่คุ้มค่าประกอบกับคนไร้ที่พึ่งเข้าพักอาศัยอยู่ไม่มาก โดย กทม. กำหนดให้คนไร้ที่พึ่งออกภายในเดือนมิถุนายน 2562</p><p>ทั้งนี้ทาง กทม. ได้ย้ายมาเช่าพื้นที่บริเวณศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด อาคาร 4 ชั้น ที่วัดบางพลัดแทน เพื่อรองรับให้กับ คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง ในส่วนอัตราค่าเช่าเสียปีละ 100,000 บาท และสิ้นสุดสัญญาเช่าในปี 2565 จากนั้นข่าวคราวเกี่ยวกับโครงการก็เงียบหายไป</p><p>จนกระทั่ง 29 กุมภาพันธ์ 2567 ปรากฏข่าวเกี่ยวกับโครงการบ้านอิ่มใจอีกครั้ง โดยชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม.คนปัจจุบัน มีแผนจะเปิดให้บริการโดยกลับไปเช่าพื้นที่สำนักการประปาสาขาแม้นศรี(เดิม) กับสำนักงานทรัพย์สินฯ อีกครั้งเป็นสัญญาเช่า 30 ปี ค่าเช่า 3 ปีแรก 2567-2569 เดือนละ 1,071,050 บาท หรือปีละ 12,852,600 บาท และหากเป็นไปตามแผนบ้านอิ่มใจจะได้เปิดให้บริการในเดือนกันยายน 2567</p><h3>‘ค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง’</h3><p>โครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง คือ โครงการจัดที่อยู่อาศัยผ่านการมีส่วนร่วมของคนไร้บ้านในรูปแบบการ ‘แชร์’ ค่าเช่าที่อยู่อาศัย ร่วมกับกองทุนเครือข่ายคนไร้บ้าน มูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และภาคีเครือข่ายภาควิชาการ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม&nbsp;</p><p>จุดประสงค์ของโครงการเพื่อสนับสนุนที่อยู่อาศัยสำหรับคนไร้บ้าน ส่งเสริมการทำอาชีพต่างๆ และจัดการการเงินผ่านกองทุนเก็บออม เพื่อนำไปสู่การตั้งหลักชีวิตในระยะยาว ควบคู่กับการยกระดับคุณภาพชีวิต และลดความเสี่ยงทางสุขภาวะของคนไร้บ้านในพื้นที่สาธารณะ โดยให้คนไร้บ้านสมทบค่าเช่าร่วมกับโครงการฯ ในสัดส่วน 60:60 ของค่าเช่าห้อง ส่วนต่างที่เหลือร้อยละ 20 จะนำไปเป็นเงินกองทุนเพื่อช่วยเหลือสมาชิกคนไร้บ้านรายอื่นๆ หรือ สมทบในด้านอื่นๆ ต่อไป</p><p>วราวุธ ศิลปอาชา รมว. การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) กล่าวถึง เงื่อนไขของผู้เข้าร่วมโครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง คือ ต้องเป็นผู้ที่ไม่มีที่อยู่อาศัย ไม่มีงานทำ ห้องเช่าราคาถูกไม่เกิน 2,000 - 3,000 บาท เพื่อที่จะทำให้คนที่ประสบปัญหาไม่มีที่พักอาศัยสามารถมีที่อยู่และมีงานทำ กรณีคนไม่มีงานทำ กรมพัฒนาสังคมฯ จะช่วยหางานช่วยฝึกอาชีพให้ &nbsp;ซึ่งทางกระทรวง พม. ตั้งเป้าเอาไว้ว่าภายในปี 2579 ประชาชนทุกคนต้องมีที่อยู่อาศัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น</p><p>จากการที่เราได้สัมภาษณ์คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง หนึ่งและบังอรเป็น 2 คน ที่เคยเข้าร่วมโครงการนี้และเห็นด้วยที่จะให้โครงการนี้มีต่อไป</p><p>“ตอนแรกจะเข้าโครงการบ้านอิ่มใจ แต่เพราะไม่มีใครไปด้วย คนที่เคยไปแล้วกลับมาเล่ามีทั้งดีบ้างไม่ดีบ้างก็เลยไม่ได้ไป หลักๆ ก็ไกลเกินคนเลยไม่อยากจะไปจนมาได้รู้จักกับ โด่ง และ พัฒน์ เพื่อนเครือข่ายคนไร้บ้าน ทั้งสองคนชวนให้มารู้จักกับ ‘โครงการเช่าบ้านคนละครึ่ง’ ตอนนั้นลงทะเบียนเข้าร่วมอยู่เฟส 3 ก็รู้สึกว่าไม่แน่ใจว่าโครงการดีไหม จนอยู่บ้านเช่ามีเจ้าหน้าที่ช่วยหางาน หน่วยงานสนับสนุนให้ทุนซื้อรถเข่งผลไม้ มีเงินผ่อนค่าห้อง ปัจจุบันก็ไม่ได้มานอนหัวลำโพงแล้ว ถ้ามีโครงการนี้อีกก็สนใจจะสมัครเข้าร่วมด้วย” บังอร กล่าว</p><p>“รู้จักโครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่งผ่านทาง โด่ง มูลนิธิที่อยู่เพื่อการพัฒนา เคยเข้าร่วมโครงการครั้งหนึ่ง รู้สึกว่าโครงการนี้ช่วยคนไร้บ้านได้เยอะมาก หน่วยงานต่างๆ เข้ามาช่วยดูในเรื่องหางาน พาทำบัตรประชาชน เช็คสิทธิ์การรักษาต่างๆ ให้” หนึ่ง กล่าว</p><p>แต่ก็ยังมีเสียงที่สะท้อนความกังวล อย่างเช่น เวท ที่ถึงแม้ว่าจะรับรู้เรื่องโครงการทั้งสองแล้ว แต่ก็ไม่ได้เข้าร่วมเลือกใช้ชีวิตนอนสาธารณะดั่งเดิม</p><p>“เคยได้ยินมาเหมือนกัน โครงการบ้านต่างๆ ที่ให้คนไร้บ้านไปอยู่ แต่ไม่อยากไป ไม่อยากเข้าไปยุ่ง มันมีกติกา กฏระเบียบที่เราฝืนไม่ได้ สถานที่มันรวมกลุ่มคนที่ต่างคนก็ต่างมาจากหลายที่ ต่างคนก็ต่างจิตใจกัน คนเร่รอนในกรุงเทพฯ รั่วเยอะ” เวท กล่าว</p><p>อย่างไรก็ตาม โครงการทั้งสองที่ว่ามา ยังอยู่ห่างไกลจากสถานะที่จะเป็นที่พักพิงให้คนที่ไร้ที่พึ่งได้อย่างจริงจัง ทั้งปัญหาที่เกิดจากภายในระบบราชการเองอย่างกรณีของบ้านอิ่มใจ เมื่อมีเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เปลี่ยนผู้บริหารกรุงเทพมหานครแต่ละทีก็เปลี่ยนนโยบาย โครงการนี้จึงดูเหมือนจะกลับไปกลับมาอยู่อย่างนั้น เอาตัวเองยังไม่รอด ดูไม่น่าจะเป็นที่พึ่งให้ใครได้ ส่วนโครงการบ้านคนละครึ่งนั้นก็ฟังดูดี แต่ทางปฏิบัติก็อาจจะยาก เพราะคนที่ไร้ที่พึ่ง ไร้อาชีพจริงๆ หรือ อาจจะมีอาชีพที่ไม่สามารถหารายได้เพียงพอที่จะจ่ายค่าเช่าได้แม้แต่ 2,000-3,000 บาทต่อเดือนก็จัดว่าเป็นเงินที่ไม่น้อย ยังไม่นับว่าจะมีที่อยู่อาศัยแบบนั้นให้อย่างเพียงพอหรือไม่</p><p>เห็นได้ว่าการช่วยเหลือกลุ่มคนไร้บ้านไร้ที่พึ่งนั้นมีหน่วยงานที่เข้ามาเกี่ยวข้องเยอะแยะมากมายไม่ว่าจะเป็น รัฐ ภาคประชาสังคมและเครือข่ายรวมทั้งนักวิชาการ แต่ก็ยังดูเหมือนไม่มีแนวทางที่ยั่งยืนนักและการขาดรายได้ที่เพียงพอก็ยังอาจเป็นอุปสรรคในการเข้าถึงที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัย</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง ไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของความต้องการ “บ้าน”เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงสวัสดิการคุณภาพชีวิตที่ดีในฐานะประชาชนคนหนึ่งด้วย</p></div>
      <div class="node-taxonomy-container">
    <ul class="taxonomy-terms">
          <li class="taxonomy-term"><a href="http://prachatai.com/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" hreflang="th">ข่าhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1" hreflang="th">สังคhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99" hreflang="th">สิทธิมนุษยชhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95" hreflang="th">คุณภาพชีวิhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A" hreflang="th">ท้องถิ่นสร้างสื่อสอhttp://prachatai.com/category/depth" hreflang="th">depth[/url]</li>
          <li class="taxonomy-term"><a href="http://prachatai.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9E%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87" hreflang="th">คนไร้ที่พึ่http://prachatai.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99" hreflang="th">คนไร้บ้าhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99" hreflang="th">ท้องถิ่http://prachatai.com/category/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3" hreflang="th">กรุงเทพมหานคhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%A2" hreflang="th">ที่อยู่อาศัhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3" hreflang="th">สวัสดิกาhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A0%E0%B8%A3-%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%9E" hreflang="th">ภัทรภร ผ่องอำไhttps://prachataistore.net</div>
     
 

http://prachatai.com/journal/2024/05/109222
 

 9 
 เมื่อ: 12 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย Kimleng - กระทู้ล่าสุด โดย Kimleng

หลวงพ่อดำ พระประธานในอุโบสถวัดช้างใหญ่


หลวงพ่อดำ วัดช้างใหญ่ ต.ช้างใหญ่ อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา


พลายคชศักดิ์ วัดช้างใหญ่

วัดช้างใหญ่
ตำบลช้างใหญ่ อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา


วัดช้างใหญ่ เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา ในอำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ห่างจากศูนย์ศิลปาชีพบางไทร ประมาณ ๑ กิโลเมตร

วัดช้างใหญ่ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ.๒๓๑๙ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ.๒๓๖๐ เป็นวัดเก่าแก่สร้างก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมเรียกว่า วัดเสาธงหิน เพราะมีเสาธงเก่าแก่ตั้งอยู่ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วัดช้างเฉย แล้วจึงเปลี่ยนชื่อมาเป็น "วัดช้างใหญ่" เพราะเคยเป็นที่ตั้งของเพนียดคล้องช้างสำหรับฝึกช้างป่า และเป็นที่อยู่ของช้างป่าจำนวนมาก

ปูชนียวัตถุที่สำคัญ คือ หลวงพ่อทอง ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น หลวงพ่อดำศักดิ์สิทธิ์ ประดิษฐานอยู่ในอุโบสถ เชื่อกันว่า หลวงพ่อสามารถหยั่งถึงจิตใจของผู้ที่เข้าไปสักการะได้ โดยจะรู้ว่ามีความสุขหรือทุกข์โดยสังเกตจากสีหน้าของหลวงพ่อ
...วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (ที่มาข้อมูล)


อุโบสถวัดช้างใหญ่






จิตรกรรมผนังอุโบสถ วัดช้างใหญ่


"พญานาคสีดำ" จัดอยู่ใน "ตระกูลกัณหาโคตะมะ" เป็นตระกูลนาคที่มีผิวกาย หรือเกล็ดเป็น "สีดำนิลกาฬมหิธร"
ถือกำเนิดแบบสังเสทชะ คือ เกิดจากเหงื่อไคล และสิ่งหมักหมมต่างๆ หรือ แบบอัณฑชะคือเกิดจากไข่







พระอินทร์ประทับนั่งเหนือช้างเอราวัณสามเศียร (ซ้ายมือ) ท้าวเวสสุวรรณ ศิลปโบราณ (ขวามือ)




850

 10 
 เมื่อ: 13 ชั่วโมงที่แล้ว 
เริ่มโดย สุขใจ ข่าวสด - กระทู้ล่าสุด โดย สุขใจ ข่าวสด
ธรรมาภิบาล กระจายอำนาจ ความหวังของ “คนไร้ที่พึ่ง” (1) กลับไม่ได้เพราะไม่มีบ้านให้กลับ
 


<span>ธรรมาภิบาล กระจายอำนาจ ความหวังของ “คนไร้ที่พึ่ง” (1) กลับไม่ได้เพราะไม่มีบ้านให้กลับ</span>
<span><span>user8</span></span>
<span><time datetime="2024-05-16T20:59:46+07:00" title="Thursday, May 16, 2024 - 20:59">Thu, 2024-05-16 - 20:59</time>
</span>

            <div class="field field--name-field-byline field--type-text-long field--label-hidden field-item"><p>ภัทรภร ผ่องอำไพ รายงาน</p></div>
     
            <div class="field field--name-body field--type-text-with-summary field--label-hidden field-item"><p>“คนไร้บ้าน” แค่มีบ้านก็พอใจสุขสบายแล้วจริงหรือ?&nbsp;</p><p>โมเดลการสร้างสถานสงเคราะห์ชดเชยปัญหาที่อยู่อาศัยเพื่อให้คนไร้บ้านมีบ้านอยู่เพียงพอหรือแท้จริงแล้วเป็นไปตามความต้องการของคนไร้บ้านหรือไม่?</p><p>มิติของการแก้ปัญหาให้กลุ่มคนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง ได้รับการแก้ไขอย่างถูกจุดแล้วหรือไม่?&nbsp;</p><p>สารคดีตอนแรกซึ่งเป็นหนึ่งในสองตอนนี้จะได้ทำความรู้จักกับ คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่งใน กรุงเทพมหานคร พื้นที่บริเวณตรอกสาเกและพื้นที่หัวลำโพง เรื่องเล่าที่ต้องการสะท้อนความรู้สึก ความทรงจำ เกี่ยวกับถิ่นที่อยู่ที่เรียกว่า “บ้าน” และภาวะที่กลับบ้านไม่ได้เพราะ “ไม่มีบ้าน” ให้กลับนั้นเป็นอย่างไร&nbsp;</p><h2>เรื่องเล่าจาก “คนไร้บ้าน/คนไร้ที่พึ่ง”</h2><img src="https://live.staticflickr.com/65535/53725528199_90f90526e6_k.jpg" width="2048" height="1365" loading="lazy"><p class="picture-with-caption">หนึ่ง วัย 38 ปี อดีตคนไร้ที่พึ่งที่เคยอาศัยนอนบริเวณ หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง คนแรกรู้จักในชื่อ หนึ่ง พื้นเพเดิมเป็นคนจังหวัด อุบลราชธานี ย้ายเข้ามาอยู่กรุงเทพฯกับพ่อแม่ พ่อประกอบอาชีพขับรถแท็กซี่ ส่วนแม่ขายส้มตำ หลังจากย่าของหนึ่ง เสียชีวิตครอบครัวจึงย้ายถิ่นฐานกลับบ้านที่ อุบลฯ ตามเดิม หนึ่งไม่ได้ตามไปด้วย แต่ได้ไปทำงานเสิร์ฟอาหารในร้านอาหารแห่งหนึ่งในย่านสุขุมวิท โควิดระลอกแรกยังพอมีเงินจุนเจือให้สามารถประคองชีวิตอยู่รอดได้ ชีวิตของหนึ่งต้องมาพบกับความอับจนเมื่อร้านอาหารนั้นปิดตัวลงหลังจากเจอโควิดรอบสองด้วยว่าไม่สามารถแบกต้นทุนต่อไปได้ พอถึงเดือนมิถุนายน ปี 2565 เมื่อไม่มีรายได้เพียงพอที่จะจ่ายค่าเช่าห้องอีกต่อไป หนึ่งจึงตัดสินใจออกมาอาศัยพื้นที่บริเวณหลังหัวลำโพงที่เป็นพักพิง</p><p>“ถ้าถามว่าทำไมถึงไม่กลับไปพร้อมกับพ่อแม่ที่อุบลฯ ถ้าเป็นคนต่างจังหวัดจะเข้าใจว่างานในต่างจังหวัดมันไม่ได้มีเยอะ กลับบ้านมันก็เหนื่อยนะ”</p><h2>จากห้องเช่า เป็น “บ้านถาวร”</h2>หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>“วันแรกที่มานอน ก็กลัวนะ ไม่ใช่ไม่กลัว แต่มันเป็นภาวะต้องยอมจำนน คืนแรกหลับๆ ตื่นๆ ตลอด หลังจากนั้นก็มารวมกลุ่มนอนกับป้าๆ แถวๆ นี้เอา นอนไปนอนมามันก็ชินไปเองเรื่องอาหารก็ไม่ได้ลำบากอะไร เพราะมีคนมาแจกข้าวบ่อยจนกินไม่ทันต้องขอให้เขาให้อย่างอื่นแทน เช่น ยากันยุงบ้าง ยาลดปวดไข้บ้าง คนมาแจกเขาก็เข้าใจนะ บางคนก็ให้เป็นเงินสดแนบมาก็มี ลำบากบ้างเวลาจะอาบน้ำเข้าห้องน้ำหรือถ้าหนักสุดบางคนป่วยไม่มีบัตรประชาชนก็ตายตรงนี้เลย คนไร้บ้านแถวนี้ตายเป็นข่าวก็เยอะ แต่ก็ทำได้แค่มองดูเขาตายช่วยอะไรทำอะไรไม่ได้”</p><p>หนึ่ง เล่าว่า ในช่วงโควิดระลอกสอง ที่เขาและเพื่อนที่อาศัยนอนสาธารณะแถวนั้นต้องคอยหลบเจ้าหน้าที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) หน่วยงานของ กทม. หน่วยงานเทศกิจ ฯลฯ ไม่ให้โดนจับ การรับมือกับสถานการณ์คนไร้บ้านช่วงนั้นถือว่าใช้มาตรการที่รุนแรงไม่ว่าจะเป็น ใช้รถทหารจับคนขึ้นรถ ใช้ปืนอัดน้ำแรงสูงฉีดน้ำไล่ เวลาที่ได้ยินเสียงรถ หรือเห็นคนใส่ชุดสีชมพู คนแถวนี้เป็นที่รู้กันว่าต้องวิ่งหนี</p><p>“ตอนนี้มีงานทำอยู่แล้วเพราะฉะนั้นสิ่งที่ต้องการมากที่สุดคือ ที่อยู่อาศัย มันคงไม่สามารถเปลี่ยนจากห้องเช่ามาเป็นบ้านถาวรได้หรอก มันก็คงต้องเป็นบ้านเช่าแบบนี้ไปนั้นแหละ” หนึ่ง หัวเราะ</p><p>“มีบ้านต่างจังหวัดแก่ตัวอายุ 40 อย่างมากก็กลับบ้านได้ แต่คนที่ไม่มีบ้านอ่ะเขาจะยังไง” หนึ่ง กล่าว</p><h2>พิษเศรษฐกิจบีบบังคับให้กลายสถานะเป็น “คนไร้ที่พึ่ง”</h2>บังอร วัย 62 ปี อดีตคนไร้ที่พึ่งที่เคยอาศัยนอนบริเวณ หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">บังอร วัย 62 ปี อดีตคนไร้ที่พึ่งที่เคยอาศัยนอนบริเวณ หัวลำโพง ริมคลองผดุงกรุงเกษม ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง คนที่สองชื่อ บังอร วัย 62 ปี เป็นคนจังหวัด สมุทรปราการ ประกอบอาชีพขายของและขายผลไม้เดินทางจากสมุทรปราการมาขายผลไม้ในเมืองใกล้กับตลาดมหานาคและหาห้องเช่าใกล้ๆ เพื่ออยู่ แต่หลังจากเจอกับสถาการณ์โควิด-19 ระบาด เธอค้าขายได้ไม่ดีนัก เงินที่ได้ก็ไม่เพียงพอที่จะสามารถเช่าห้อง จนสุดท้ายเธอกลายสถานะมาเป็น “คนไร้ที่พึ่ง”</p><p>“ช่วงแรกที่มานอนใหม่ๆ ก็กลัวไม่กล้านอน แต่ว่าเห็นว่าแถวนี้ก็มีผู้หญิงด้วย และคนก็เยอะ ตอนช่วงโควิดก็มีคนมาแจกข้าว น้ำ และก็มีให้เงินด้วยบางคน ก็เลยอยู่ตรงนี้ นอนตรงนี้จนเป็นปีอ่ะ”</p><p>บังอร เล่าว่า ระลอกแรกของโควิด-19 เจ้าหน้าที่รัฐ เจ้าหน้าที่เทศกิจ กทม. ไม่ได้เข้ามาช่วยตรงกันข้ามผลักออก มองว่าไม่ทำมาหากิน กล่าวว่า ติเตียน กลุ่มคนที่มาแจกของ แจกข้าว ว่าพฤติกรรมนี้เป็นการส่งเสริมให้กลุ่มคนไร้บ้านมีนิสัยขี้เกียจ ไม่ยอมออกไปหางานทำ บ่อยครั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจ เทศกิจ ไล่ไม่ให้คนมาแจกเกิดเหตุการณ์ทะเลาะวิวาทให้เห็นบ่อยครั้ง มาระลอกหลังที่มีเจ้าหน้าที่พยาบาลจากโรงพยาบาลเข้ามาตรวจฉีดวัคซีนโควิด-19 ดูแล รวมทั้งมีหน่วยงานภาคประชาสังคม (NGOs) เช่น พี่โด่ง รวบรวมข้อมูลสอบถามความคิดเห็นพี่น้องคนไร้บ้าน และทำงานหน่วยงานภาครัฐมากขึ้นได้รับการช่วยเหลือ สนับสนุน รวมทั้งเช็ตสิทธิ์สวัสดิการต่างๆ ท่าทีของหน่วยงานก็มีแนวโน้มที่ดีขึ้น</p><p>“สำหรับตนไม่ได้ขออะไรเยอะขอแค่โอกาส ช่วยหาห้องเช่าในช่วงไม่มีบ้าน ไม่มีที่นอน ช่วยหางานให้ทุนในการช่วยเหลือให้ตั้งหลักได้ แค่นี้ตนก็พอใจแล้ว”</p><h2>“บ้าน” ที่กลับไม่ได้</h2>เวท วัย 50 ปี คนไร้บ้านที่นอนประจำแถวเทเวศร์ ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">เวท วัย 50 ปี คนไร้บ้านที่นอนประจำแถวเทเวศร์ ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><p>คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง รายสุดท้ายที่ได้สัมภาษณ์ ชื่อ เวท วัย 50 ปี เป็นคนจังหวัด ราชบุรี อาชีพเดิมรับจ้างทำสวน แต่รายได้ไม่ดีมากนักตัดสินใจเข้ามาทำงานที่ กรุงเทพฯ เป็นเด็กกระเป๋ารถเมล์ รับจ้างทั่วไป ปัจจุบันด้วยอายุที่มากขึ้นจึงไม่ได้ทำงาน เขาไม่ได้นอนแถวซอยตรอกสาเก ราชดำเนินฯ เพราะเจ้าถิ่นที่นี้ใช้กำลัง มีทำร้าย ทุบ ขโมยของบ้างจากประสบการณ์ที่เคยเห็น ทำให้ช่วงแรกไม่ได้นอนที่ไหนเป็นพิเศษย้ายถิ่นไปเรื่อยๆ รวมกลุ่มนอนกับเพื่อนบ้าง นอนคนเดียวบ้าง ปัจจุบันนี้นอนอยู่ที่เทเวศร์ เพราะสงบ เงียบกว่ามาก ส่วนบ้านที่จังหวัดราชบุรีนานครั้งถึงจะกลับที</p><p>“บ้านที่ราชบุรีที่เคยอยู่ ตอนนี้ไม่มีแล้ว”</p><p>“มีแต่ทะเบียนบ้าน ถ้าจะกลับก็ไปอยู่กับญาตินานๆ ทีผมจะกลับ ญาติก็มีจำได้บ้าง ไม่ได้บ้างเหมือนกัน เขาก็ไม่อยากให้เราอยู่” เวท กล่าว</p>ตรอกสาเก" width="2048" height="1365" loading="lazy<p class="picture-with-caption">ตรอกสาเก ภาพ : ภัทรภร ผ่องอำไพ</p><h2>ป่วย ไข้ ไม่สบาย แก้ได้ถ้าเข้าถึงสิทธิ์</h2><p>เวท เล่าว่า เขามีบัตรประชาชน บัตรคนพิการเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว มีมูลนิธิอิสรชนที่พาไปทำเรื่องลงทะเบียนรักษา 30 บาทรักษาทุกโรค เวลาป่วยจึงไม่ได้กังวลเพราะใช้สิทธิ์รักษาตามบัตรได้ เจ้าหน้าที่พยาบาล โรงพยาบาลดูแลให้บริการดี แต่กรณีเพื่อนคนไร้บ้านที่รู้จักก็มีหลายคนที่ไม่มีบัตรประชาชน และยังไม่ได้ทำเรื่อง</p><p>“บัตรอะไรที่เป็น บัตรสิทธิ์ ผมมีหมดอ่ะ บัตรคนพิการก็ยังมี”</p><p>“แต่ถ้าอย่างบางคนไม่มีบัตรอะไรเลย ป่วยที มันก็แล้วแต่เวรกรรมแต่ละคน”&nbsp;</p><h2>รัฐเสนอ “โครงการบ้านอิ่มใจ” และ “โครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง”</h2><p>จากเรื่องราวของคนทั้งสามคน ทำให้เกิดคำถามว่าคนที่ไร้บ้านไร้ที่พึ่งพาอาศัยเขามีชีวิตกันอย่างไร มีใครให้ความช่วยเหลือพวกเขาบ้างหรือเปล่า ทางการดูแลเขาแค่ไหน เท่าที่ได้สำรวจทำให้ทราบถึงโครงการบ้าน 2 ชื่อ คือ “โครงการบ้านอิ่มใจ” และ “โครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง” แล้วโครงการทั้งสองนี้เป็นอย่างไร อยู่ภายใต้การดูแลหน่วยงานไหน และใช้งบประมาณใด?</p><h3>‘บ้านอิ่มใจ’&nbsp;</h3><p>‘โครงการบ้านอิ่มใจ’ เปิดโครงการครั้งแรกวันที่ 10 พฤศจิกายน 2555 โดย ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครขณะนั้นมีแนวทางต้องการช่วยเหลือคนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง คนมีรายได้น้อย ในพื้นที่กรุงเทพฯ ทั้งที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านสวัสดิการและการสงเคราะห์แก่ผู้รับบริการ ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เป็นห้องพักรายวัน ตั้งอยู่ที่สี่แยกแม้นศรี เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย บริเวณสำนักงานการประปา สาขาแม้นศรี (เดิม) เนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 64.70 ตารางวา พื้นที่ใช้สอยรวม 10,000 ตารางเมตร เป็นพื้นที่เช่าของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ อาคารตึกสูง 3 ชั้น แบ่งห้องพักเป็นรวม ห้องพักชาย และห้องพักหญิง รองรับการเข้าพักได้วันละ 200 คน</p>บ้านอิ่มใจ" width="2048" height="1536" loading="lazy<p class="picture-with-caption">ที่มา : เฟสบุ๊ค บ้านอิ่มใจ กรุงเทพมหานคร</p><p>ต่อมา 14 มีนาคม 2565 ในสมัยที่ พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง เป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.) มีมติเห็นชอบให้คืนพื้นประปาแม้นศรี(เดิม) ให้กับสำนักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์ ในเดือนกันยายน 2562 เนื่องจาก กทม. เช่าพื้นที่ดังกล่าวในอัตราปีละ 28 ล้านบาท ตั้งแต่ปี 2555 – 2562 รวมเป็นเงินราว 200 ล้านบาท แต่กลับใช้พื้นที่ไม่คุ้มค่าประกอบกับคนไร้ที่พึ่งเข้าพักอาศัยอยู่ไม่มาก โดย กทม. กำหนดให้คนไร้ที่พึ่งออกภายในเดือนมิถุนายน (2562)</p><p>ทั้งนี้ทาง กทม. ได้มีการเช่าพื้นบริเวณศูนย์ฝึกอาชีพบางพลัด อาคาร 4 ชั้น ที่วัดบางพลัด เพื่อรองรับให้กับ คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง ในส่วนอัตราค่าเช่าเสียปีละ 100,000 บาท และจะสิ้นสุดสัญญาเช่าในปี 2565</p><p>ล่าสุด 29 กุมภาพันธ์ 2567 ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าฯ กทม.คนปัจจุบัน มีแผนจะเปิดให้บริการบ้านอิ่มใจ ปีงบประมาณ 2567 โดยเช่าพื้นที่สำนักการประปาสาขาแม้นศรี(เดิม) ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ เนื้อที่ 4 ไร่ 3 งาน 64.70 ตารางวา พื้นที่ใช้สอย 9,958.36 ตารางเมตร ภายในประกอบด้วย อาคาร 3 ชั้น อาคาร 6 ชั้น และอาคารอนุรักษ์ เพื่อจัดทำบ้านอิ่มใจ โดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้กำหนดเงื่อนไขระยะเวลาการเช่าไม่เกิน 30 ปี ค่าเช่า 3 ปีแรก 2567-2569 เดือนละ 1,071,050 บาท หรือปีละ 12,852,600 บาท โดยสำนักพัฒนาสังคม (สพส.) ได้ขอจัดสรรงบกลางแล้ว หากได้รับงบประมาณ คาดว่าจะทำสัญญาเช่ากับสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ในช่วงกลางเดือน เม.ย. 2567 ในส่วนของ สพส. ร่วมมือกับฝ่ายโยธา เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ออกแบบการปรับปรุงอาคาร 3 ชั้น คาดว่าการออกแบบจะเสร็จภายในสิ้นเดือน มี.ค. 2567 จึงจะส่งแบบการปรับปรุงให้สำนักทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ กรมศิลปากร คณะกรรมการเกาะรัตนโกสินทร์พิจารณา เมื่อได้รับความเห็นชอบ ทาง สพส. ขอจัดสรรงบกลางเป็นค่าปรับปรุงและค่าบริหารจัดการ ก่อนประกาศหาตัวผู้รับจ้างโดยใช้เวลาปรับปรุง 120 วัน เพื่อเปิดให้บริการ ก.ย. 2567</p><img src="https://live.staticflickr.com/65535/53725620445_8767ebd324_b.jpg" width="1000" height="970" loading="lazy"><p class="picture-with-caption">ที่มา: นสพ.ไทยรัฐ ฉบับวันที่ 1 มี.ค. 2567</p><h3>‘ค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง’</h3><p>โครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง คือ โครงการจัดที่อยู่อาศัยผ่านการมีส่วนร่วมของคนไร้บ้านในรูปแบบการ ‘แชร์’ ค่าเช่าที่อยู่อาศัย ร่วมกับกองทุนเครือข่ายคนไร้บ้าน มูลนิธิพัฒนาที่อยู่อาศัย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และภาคีเครือข่ายภาควิชาการ ภาครัฐ และประชาสังคม จุดประสงค์โครงการเพื่อสนับสนุนที่อยู่อาศัยสำหรับคนไร้บ้าน ส่งเสริมการทำอาชีพต่างๆ และจัดการการเงินผ่านกองทุนเก็บออม เพื่อนำไปสู่การตั้งหลักชีวิตในระยะยาว ควบคู่กับการยกระดับคุณภาพชีวิต และลดความเสี่ยงทางสุขภาวะของคนไร้บ้านในพื้นที่สาธารณะ โดยให้คนไร้บ้านสมทบค่าเช่าร่วมกับโครงการฯ ในสัดส่วน 60:60 ของค่าเช่าห้อง ส่วนต่างที่เหลือร้อยละ 20 จะนำไปเป็นเงินกองทุนเพื่อช่วยเหลือสมาชิกคนไร้บ้านรายอื่นๆ หรือ สมทบในด้านอื่นๆ ต่อไป</p><p>จากการที่เราได้สัมภาษณ์คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง หนึ่งและบังอรเป็น 2 คน ที่เคยเข้าร่วมโครงการนี้และเห็นด้วยที่จะให้โครงการนี้มีต่อไป</p><p>“ตอนแรกจะเข้าโครงการบ้านอิ่มใจ แต่เพราะไม่มีใครไปด้วย คนที่เคยไปแล้วกลับมาเล่ามีทั้งดีบ้างไม่ดีบ้างก็เลยไม่ได้ไป หลักๆ ก็ไกลเกินคนเลยไม่อยากจะไปจนมาได้รู้จักกับ โด่ง และ พัฒน์ เพื่อนเครือข่ายคนไร้บ้าน ทั้งสองคนชวนให้มารู้จักกับ ‘โครงการเช่าบ้านคนล่ะครึ่ง’ ตอนนั้นลงทะเบียนเข้าร่วมอยู่เฟส 3 ก็รู้สึกว่าไม่แน่ใจว่าโครงการดีไหม จนอยู่บ้านเช่ามีเจ้าหน้าที่ช่วยหางาน หน่วยงานสนับสนุนให้ทุนซื้อรถเข่งผลไม้ มีเงินผ่อนค่าห้อง ปัจจุบันก็ไม่ได้มานอนหัวลำโพงแล้ว ถ้ามีโครงการนี้อีกก็สนใจจะสมัครเข้าร่วมด้วย” บังอร กล่าว</p><p>“รู้จักโครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่งผ่านทาง โด่ง มูลนิธิที่อยู่เพื่อการพัฒนา เคยเข้าร่วมโครงการครั้งหนึ่ง รู้สึกว่าโครงการนี้ช่วยคนไร้บ้านได้เยอะมาก หน่วยงานต่างๆ เข้ามาช่วยดูในเรื่องหางาน พาทำบัตรประชาชน เช็คสิทธิ์การรักษาต่างๆ ให้” หนึ่ง กล่าว</p><p>แต่ก็ยังมีเสียงที่สะท้อนความกังวล อย่างเช่น เวท ที่ถึงแม้ว่าจะรับรู้เรื่องโครงการทั้งสองแล้ว แต่ก็ไม่ได้เข้าร่วมเลือกใช้ชีวิตนอนสาธารณะดั่งเดิม</p><p>“เคยได้ยินมาเหมือนกัน โครงการบ้านต่างๆ ที่ให้คนไร้บ้านไปอยู่ แต่ไม่อยากไป ไม่อยากเข้าไปยุ่ง มันมีกติกา กฏระเบียบที่เราฝืนไม่ได้ สถานที่มันรวมกลุ่มคนที่ต่างคนก็ต่างมาจากหลายที่ ต่างคนก็ต่างจิตใจกัน คนเร่รอนในกรุงเทพฯ รั่วเยอะ” เวท กล่าว</p><p>ทางด้าน วราวุธ ศิลปอาชา รมว. การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) กล่าวถึง เงื่อนไขของผู้เข้าร่วมโครงการค่าเช่าบ้านคนละครึ่ง คือ ต้องเป็นผู้ที่ไม่มีที่อยู่อาศัย ไม่มีงานทำ ห้องเช่าราคาถูกไม่เกิน 2,000 - 3,000 บาท เพื่อที่จะทำให้คนที่ประสบปัญหาไม่มีที่พักอาศัยสามารถมีที่อยู่และมีงานทำ กรณีคนไม่มีงานทำ กรมพัฒนาสังคมฯ จะช่วยหางานช่วยฝึกอาชีพให้ &nbsp;ซึ่งทางกระทรวง พม. ตั้งเป้าเอาไว้ว่าภายในปี 2579 ประชาชนทุกคนต้องมีที่อยู่อาศัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น</p><p>จากการสัมภาษณ์และรวบรวมข้อมูลจะเห็นได้ว่ามิติในประเด็นของ คนไร้บ้าน/ไร้ที่พึ่ง ไม่ได้เป็นเพียงเรื่องของความต้องการ “บ้าน” แต่เป็นแง่ของสวัสดิการคุณภาพชีวิตที่ดีในฐานะประชาชนคนหนึ่งเท่านั้น&nbsp;</p><p>นอกจากนี้จะเห็นได้ว่าในประเด็นเดียวนั้นมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเยอะแยะมากมายไม่ว่าจะเป็น รัฐ ภาคประชาสังคมและเครือข่ายรวมทั้งนักวิชาการ&nbsp;</p><p>แต่อย่างที่กล่าวมาข้างต้น โครงการทั้งสองที่ว่ามา ยังอยู่ห่างไกลจากสถานะที่จะเป็นที่พักพิงให้คนที่ไร้ที่พึ่งได้อย่างจริงจัง ทั้งปัญหาที่เกิดจากภายในระบบราชการเองอย่างกรณีของบ้านอิ่มใจ เมื่อมีเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เปลี่ยนผู้บริหารกรุงเทพมหานครแต่ละที่ก็เปลี่ยนนโยบาย โครงการนี้จึงดูเหมือนจะกลับไปกลับมาอยู่อย่างนั้น เอาตัวเองยังไม่รอด ดูไม่น่าจะเป็นที่พึ่งให้ใครได้ ส่วนโครงการบ้านคนละครึ่งนั้นก็ฟังดูดี แต่ทางปฏิบัติก็อาจจะยาก เพราะคนที่ไร้ที่พึ่ง ไร้อาชีพจริงๆ หรือ อาจจะมีอาชีพที่ไม่สามารถหารายได้เพียงพอที่จะจ่ายค่าเช่าได้แม้แต่ 2,000-3,000 บาทต่อเดือนก็จัดว่าเป็นเงินที่ไม่น้อย ยังไม่นับว่าจะมีที่อยู่อาศัยแบบนั้นให้อย่างเพียงพอหรือไม่</p><div class="more-story"><p><strong>ท้องถิ่นสร้างสื่อสอบ</strong></p><ul><li>สิทธิคนพิการนอกเมืองหลวง: ความเหลื่อมล้ำอันซ้ำซ้อน, สราวุธ ถิ่นวัฒนากูล รายงาน, 29 เม.ย. 2567</li><li>เคว้งคว้างอยู่กลางเมืองใหญ่ด้วยสถานะของ ‘คนไร้บ้าน’, วรรณรี ศรีสริ รายงาน, 10 ก.พ. 2567</li><li>เมื่อพิการ, ทำอย่างไรบ้านจึงจะน่าอยู่, อรรถพล ศรีชิษณุวรานนท์ รายงาน, คชรักษ์ แก้วสุราช ถ่ายภาพ, 14 ธ.ค. 2566</li><li>ฝ่าระเบียบและปัญหาสารพันในการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ (ตอนจบ), อรรถพล ศรีชิษณุวรานนท์ รายงาน, คชรักษ์ แก้วสุราช ถ่ายภาพ, 18 ธ.ค. 2566</li></ul></div><img src="https://live.staticflickr.com/65535/53695857746_3e30229a3f_k.jpg" width="2047" height="1071" loading="lazy"></div>
      <div class="node-taxonomy-container">
    <ul class="taxonomy-terms">
          <li class="taxonomy-term"><a href="http://prachatai.com/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" hreflang="th">ข่าhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1" hreflang="th">สังคhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99" hreflang="th">สิทธิมนุษยชhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95" hreflang="th">คุณภาพชีวิhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9A" hreflang="th">ท้องถิ่นสร้างสื่อสอhttp://prachatai.com/category/depth" hreflang="th">depth[/url]</li>
          <li class="taxonomy-term"><a href="http://prachatai.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9E%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87" hreflang="th">คนไร้ที่พึ่http://prachatai.com/category/%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99" hreflang="th">คนไร้บ้าhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%97%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99" hreflang="th">ท้องถิ่http://prachatai.com/category/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%A3" hreflang="th">กรุงเทพมหานคhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%A2" hreflang="th">ที่อยู่อาศัhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3" hreflang="th">สวัสดิกาhttp://prachatai.com/category/%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A0%E0%B8%A3-%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8%9E" hreflang="th">ภัทรภร ผ่องอำไhttps://prachataistore.net</div>
     
 

http://prachatai.com/journal/2024/05/109222
 

หน้า:  [1] 2 3 ... 10
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 7.222 วินาที กับ 24 คำสั่ง

Google visited last this page 04 เมษายน 2567 20:52:25