[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้

นั่งเล่นหลังสวน => สุขใจ ร้านน้ำชา => ข้อความที่เริ่มโดย: สุขใจ ข่าวสด ที่ 27 ตุลาคม 2566 22:29:57



หัวข้อ: [ข่าวมาแรง] - 'ฟอร์ตี้ฟายไรต์' พบ ตำรวจแม่สอด รีดไถเงิน 'ผู้ลี้ภัยพม่า' ที่พยายามเข้ารั
เริ่มหัวข้อโดย: สุขใจ ข่าวสด ที่ 27 ตุลาคม 2566 22:29:57
'ฟอร์ตี้ฟายไรต์' พบ ตำรวจแม่สอด รีดไถเงิน 'ผู้ลี้ภัยพม่า'  ที่พยายามเข้ารับบริการสาธารณสุข
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2023-10-27 16:29</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>ฟอร์ตี้ฟายไรต์ พบ ผู้ลี้ภัยพม่า ในแม่สอด จ.ตาก ถูกตำรวจจับกุมและรี<wbr></wbr>ดไถเงิน หลังพยายามที่เข้ารั<wbr></wbr>บบริการสาธารณสุข เรียกร้องรัฐบาลไทยป้องกันไม่<wbr></wbr>ให้มีการจับกุมโดยพลการและรี<wbr></wbr>ดไถเงินผู้ลี้ภัย และควรกำหนดสถานะคุ้<wbr></wbr>มครองทางกฎหมายแก่ผู้ลี้ภั<wbr></wbr>ยในประเทศไทย</p>
<p> </p>
<p>27 ต.ค. 2566 ฟอร์ตี้ฟายไรต์เปิดรายงานการสอบสวนใหม่ของฟอร์ตี้<wbr></wbr>ฟายไรต์เผยให้เห็นว่า ผู้ลี้ภัยจากพม่าที่เข้ารั<wbr></wbr>บบริการสาธารณสุข ถูกเจ้าหน้าที่ไทยจับกุมและรี<wbr></wbr>ดไถในอำเภอแม่สอด ซึ่งเป็นเมืองชายแดนของไทย</p>
<p>“ผู้ลี้ภัยจากพม่าในประเทศไทยควรได้รั<wbr></wbr>บสถานะคุ้มครองทางกฎหมายโดยเร่<wbr></wbr>งด่วน เพื่อประกันสิทธิการเข้าถึงบริ<wbr></wbr>การสาธารณสุขที่จำเป็นต่อพวกเขา<wbr></wbr>” แพททริก พงศธร ผู้เชี่ยวชาญการรณรงค์อาวุ<wbr></wbr>โส ฟอร์ตี้ฟายไรต์กล่าว “ผู้ลี้ภัยในอำเภอแม่สอดกำลั<wbr></wbr>งตกเป็นเหยื่อการรี<wbr></wbr>ดไถของตำรวจในพื้นที่ที่ดำเนิ<wbr></wbr>นไปโดยไร้การตรวจสอบ การปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจเช่<wbr></wbr>นนี้ และการขาดสถานะทางกฎหมายของผู้<wbr></wbr>ลี้ภัยในประเทศไทย กำลังทำให้ชีวิตของพวกเขาตกอยู่<wbr></wbr>ใต้ความเสี่ยง”</p>
<p> </p>

<p>นับตั้งแต่เดือนมกราคม 2566 ฟอร์ตี้ฟายไรต์สัมภาษณ์ผู้ลี้ภั<wbr></wbr>ยจากพม่า 38 คน ในพื้นที่บริเวณพรมแดนประเทศไทย<wbr></wbr>-พม่า โดยมีผู้ให้สัมภาษณ์แปดคนเป็นผู้<wbr></wbr>หญิง ฟอร์ตี้ฟายไรต์ยังได้พูดคุยกั<wbr></wbr>บบุคคลอีกสี่คนที่มีความรู้เกี่<wbr></wbr>ยวกับบริบทของบริการสาธารณสุ<wbr></wbr>ขตามแนวพรมแดนประเทศไทยกับพม่า ทั้งนี้ มีการเปลี่ยนชื่อจริงของประจั<wbr></wbr>กษ์พยานและผู้รอดชีวิตจากการถู<wbr></wbr>กละเมิดฯ ที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้ เพื่อป้องกันมิให้พวกเขาเผชิญกั<wbr></wbr>บผลลัพธ์ใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในภายหลัง</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">“ชเว ซิน”</span></h2>
<p>“ชเว ซิน” วัย 51 ปี จากรัฐฉาน พม่า ต้องการหาหมอเพื่อรักษาอาการข้<wbr></wbr>อนิ้วอักเสบที่คลินิกอำเภอแม่<wbr></wbr>สอด เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2566 แต่ก็ถูกตำรวจในพื้นที่เรียกให้<wbr></wbr>หยุดตรวจ</p>
<p>“ตอนนั้นเวลาประมาณบ่ายโมง ตำรวจเรียกเราให้หยุด” “ชเว ซิน” บอกกับฟอร์ตี้ฟายไรต์ “มอเตอร์ไซค์รับจ้างก็รู้สึกกลั<wbr></wbr>วตอนที่ตำรวจเรียกตรวจ พวกเราอยู่ใกล้คลินิกมากแล้ว...<wbr></wbr>จนขนาดที่เรามองเห็นป้ายชื่อคลิ<wbr></wbr>นิกแล้ว ตอนที่ตำรวจเรียกหยุดตรวจ”</p>
<p>จากนั้นตำรวจไทยก็ได้จับกุม “ชเว ซิน” และคนขี่มอเตอร์ไซค์รับจ้าง และพาตัวพวกเขาไปที่โรงพักแถวนั้<wbr></wbr>น และซักถามเป็นเวลาสามชั่วโมง </p>
<p>“จากนั้นมาดิฉันก็ไม่เคยไปที่<wbr></wbr>คลินิกอีกเลย ดิฉันรู้ว่<wbr></wbr>าหมอสามารถบรรเทาอาการเจ็บป่<wbr></wbr>วยของดิฉันได้ แต่ก็ไม่อยากเสี่ยงอีก” “ชเว ซิน” กล่าว</p>

<h2><span style="color:#2980b9;">“จ่อ เอย์”</span></h2>
<p>“จ่อ เอย์” วัย 46 ปี จากภาคพะโค พม่า บอกกับฟอร์ตี้ฟายไรต์ว่า เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2566 เขาถูกตำรวจเรียกตรวจถึงสามครั้<wbr></wbr>ง ระหว่างที่ไปหาหมอเพื่อรั<wbr></wbr>กษาอาการเบาหวาน</p>
<p>เหตุการณ์ครั้งแรกเกิดระหว่<wbr></wbr>างทางไปคลินิก ตำรวจเรียกหยุ<wbr></wbr>ดตรวจพวกเราตรงแยกใกล้กับป้<wbr></wbr>อมจราจร....พอเราอธิบายว่<wbr></wbr>าเรากำลังจะไปคลินิก พวกเขาก็ปล่อยเราไป....ครั้งที่<wbr></wbr>สอง พวกเขาเรียกให้หยุ<wbr></wbr>ดตรวจบนถนนตรงข้ามกับคลินิก ส่วนครั้งสุดท้าย เจ้าหน้าที่เรียกหยุดตรวจตรงที่<wbr></wbr>ตลาดอำเภอแม่สอด ระหว่างที่เราเดินทางกลับจากคลิ<wbr></wbr>นิก</p>
<p>เมื่อพูดถึงผลกระทบจากการปฏิบั<wbr></wbr>ติหน้าที่ของตำรวจต่<wbr></wbr>อความสามารถของเขาในการเข้าถึ<wbr></wbr>งบริการสาธารณสุข “จ่อ เอย์” บอกกับฟอร์ตี้ฟายไรต์ว่า </p>
<p>“ผมรู้สึกว่า ผมคงต้องตายสักวันหนึ่งจากการถู<wbr></wbr>กตำรวจเรียกตรวจ....ผมคงไม่มี<wbr></wbr>ทางได้รับการรักษาพยาบาลทั<wbr></wbr>นเวลาแน่นอน” จ่อ เอย์ กล่าว</p>

<h2><span style="color:#2980b9;">“โม โม”</span></h2>
<p>ฟอร์ตี้ฟายไรต์ยังได้พูดคุยกั<wbr></wbr>บผู้ลี้ภัยอีกคนหนึ่ง “โม โม” วัย 52 ปี จากภาคพะโค ซึ่งเคยถูกจับติด ๆ กันในช่วงต้นปี 2565 ระหว่างที่เข้ารับบริ<wbr></wbr>การสาธารณสุขในอำเภอแม่สอด บอกว่า</p>
<p>ครั้งแรกที่ดิฉันถูกจับคือเดื<wbr></wbr>อนกุมภาพันธ์ 2565 ตอนนั้นดิฉันมีอาการปวดตัวทางด้<wbr></wbr>านขวา....พวกเราเดินทางออกจากบ้<wbr></wbr>านหลังทานข้าวเช้าเสร็จ ตำรวจหยุดตรวจเราประมาณเก้<wbr></wbr>าโมงครึ่ง ตรงทางแยกใกล้ถึงคลินิกซึ่งติ<wbr></wbr>ดกับถนนใหญ่ พวกเขาซุ่มรออยู่ตรงมุ<wbr></wbr>มถนนและเรียกเราให้หยุด....<wbr></wbr>ตอนนั้นดิฉันรู้สึกปวดมาก </p>
<p>เจ้าหน้าที่ไทยได้จับกุม “โม โม” อีกครั้งในเดือนมีนาคม 2565 พร้อมกับสามีและลูกอีกสองคน ระหว่างที่เดินทางกลับจากฉีดวั<wbr></wbr>คซีนโควิด-19 ที่คลินิก</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">“หม่อง หม่อง”</span></h2>
<p>ฟอร์ตี้ฟายไรต์ยังพูดคุยกั<wbr></wbr>บบรรดาแพทย์ชาวพม่า ซึ่งหลบหนีมายังประเทศไทย หลังตกเป็นเป้าของการคุ<wbr></wbr>กคามของรัฐบาลทหารพม่า “หม่อง หม่อง” วัย 30 ปี แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไปจากภาคย่<wbr></wbr>างกุ้ง เป็นผู้ให้การรักษาพยาบาลผู้<wbr></wbr>ประท้วงต่อต้านรัฐประหาร และได้ตั้งคลินิกขึ้นในพื้นที่<wbr></wbr>ที่มีการสู้รบในรัฐกะเหรี่<wbr></wbr>ยงและคะเรนนี เขาและภรรยาหลบหนีออกจากพม่าเมื่อเดือนมีนาคม 2565 หลังมีการโพสต์ข้อมูลส่วนตั<wbr></wbr>วของเขาในช่องเทเลแกรมของกองทั<wbr></wbr>พพม่า ทำให้เกิดความเสี่ยงภัยกั<wbr></wbr>บเขาอย่างยิ่ง</p>
<p>เมื่อเขาเดินทางมาถึงอำเภอแม่<wbr></wbr>สอด “หม่อง หม่อง” ยังคงให้ความช่วยเหลือคลินิกที่<wbr></wbr>เขาได้ร่วมก่อตั้งขึ้นมาในพม่า เมื่อเดือนมีนาคม 2566 ตำรวจไทยได้บุกตรวจค้นบ้านพั<wbr></wbr>กของ “หม่อง หม่อง” และได้ยึดยารักษาโรคและอุปกรณ์<wbr></wbr>อื่น ๆ ที่เขาเก็บรวบรวมมาเพื่อบริ<wbr></wbr>จาคให้กับคลินิกในพื้นที่<wbr></wbr>สงครามในพม่า</p>
<p>“[
ตำรวจ] ค้นบ้านพักของผม จากนั้นก็เห็นยารักษาโรค” “หม่อง หม่อง” บอกกับฟอร์ตี้ฟายไรต์ “พวกเขาเห็นหลอดฉีดยาและขวดยา..<wbr></wbr>..เลยกลายเป็นเรื่องใหญ่” จากนั้นตำรวจได้จับกุม “หม่อง หม่อง” และเอาตัวไปซักถามที่โรงพัก “พวกเขาถามผมว่า ‘คุณเป็นหมอหรือ?’ ผมบอกว่า ‘เปล่าเลย ผมไม่ได้เป็นหมอ’ [ในประเทศไทย] ผมแค่สนับสนุนผู้ลี้ภัย’ ถ้าพวกเขารู้ว่าผมเป็นแพทย์ พวกเขาก็คงขอเงินจากผมเพิ่มขึ้<wbr></wbr>นอีก”</p>

<p>สุดท้ายเจ้าหน้าที่ไทยได้ปล่<wbr></wbr>อยตัว “หม่อง หม่อง” และเอายาและเครื่องมืออื่น ๆ คืนให้กับเขา หลังจากที่เขายอมจ่ายเงินมากกว่<wbr></wbr>า 30,000 บาทให้กับตำรวจในพื้นที่ ฟอร์ตี้ฟายไรต์เชื่อว่าการที่<wbr></wbr>เจ้าหน้าที่เรียกรับเงินดังกล่<wbr></wbr>าวเป็นการกระทำที่มิชอบด้<wbr></wbr>วยกฎหมาย และยังเข้าข่ายเป็นการรีดไถ</p>
<p>“หม่อง หม่อง” เป็นหนึ่งในผู้ลี้ภัยหลายคนที่<wbr></wbr>ระบุว่าถูกรี<wbr></wbr>ดไถโดยตำรวจไทยในอำเภอแม่สอด</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">“จ่อ มิน”</span></h2>
<p>ตำรวจไทยจับกุม “จ่อ มิน” วัย 38 ปี จากเมืองย่างกุ้ง ระหว่างที่เขากำลังเดินทางกลั<wbr></wbr>บจากคลินิกแห่งหนึ่งในอำเภอแม่<wbr></wbr>สอด หลังจากที่เขาได้ไปหาหมอเพื่อรั<wbr></wbr>กษาอาการติดเชื้อในดวงตา “ตำรวจจับผมบนถนน ก่อนจะถึงคลินิกประมาณสองกิ<wbr></wbr>โลเมตร [มากกว่าหนึ่งไมล์]” “จ่อ มิน” กล่าว เขายังบอกกับฟอร์ตี้ฟายไรต์ต่<wbr></wbr>อไปว่า</p>
<p>ล่าม [ที่โรงพัก] บอกกับผมว่า ‘ถ้าคุณอยากกลับบ้าน ก็ต้องยอมจ่ายเงิน’ .... ‘คุณไม่มีเอกสารประจำตัว [คุณก็] ต้องจ่ายเงิน 30,000 หรือ 40,000 [บาท]’ ผมจึงตอบว่า ‘ผมไม่มีเงิน [มีแค่] 5,000 [หรือ] 6,000 [บาท]’ พวกเขาเลยบอกว่า ‘8,000 แล้วกัน’ ผมก็เลยต้องจ่าย 8,000 บาท เพื่อจะได้กลับ [บ้าน]</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">“ชเว ซิน”</span></h2>
<p>“ชเว ซิน” ซึ่งถูกเจ้าหน้าที่ไทยจับกุมเมื่<wbr></wbr>อวันที่ 19 พฤษภาคม 2566 เล่าถึงประสบการณ์ที่ถู<wbr></wbr>กตำรวจไทยรีดไถว่า “ตอนนั้นดิฉันกำลังไปคลินิ<wbr></wbr>กเอกชนแห่งหนึ่ง ที่ฉันจะได้รับการรักษาโดยไม่ต้<wbr></wbr>องจ่ายเงิน ดิฉันก็เลยไม่ได้เอาเงินติดตั<wbr></wbr>วไปด้วย ดิฉันบอกตั้งหลายครั้งกับ [ตำรวจไทย] ว่า งั้นก็จับดิฉันไปเลย เพราะดิฉันไม่สามารถจ่ายเงินได้<wbr></wbr>ตามจำนวนที่พวกคุณเรียกหรอก”</p>
<p>สุดท้ายตำรวจก็ปล่อยตัว “ชเว ซิน” ไป โดยแลกกับเงินจำนวน 5,000 บาท “หลังจากนั้น พวกเขาก็ปล่อยตัวดิฉันไป” “ชเว ซิน” กล่าว “ดิฉันไม่ต้องเซ็นชื่ออะไรทั้<wbr></wbr>งสิ้น และก็ไม่มีใบเสร็จด้วย”</p>

<p>ผู้ลี้ภัยในประเทศไทยบอกว่า ความกลัวที่จะถูกจับกุม การไม่มีเอกสารยืนยั<wbr></wbr>นสถานะทางกฎหมาย การเข้าไม่ถึงประโยชน์จากหลั<wbr></wbr>กประกันสุขภาพถ้วนหน้าของรัฐ และอุปสรรคด้านภาษา เป็นเหตุผลส่วนหนึ่งที่ทำให้<wbr></wbr>พวกเขาไม่สามารถเข้าถึงบริ<wbr></wbr>การสาธารณสุขที่มีความจำเป็นได้ โดยเฉพาะในโรงพยาบาลหรือสถานให้<wbr></wbr>บริการของรัฐ เหล่านี้ทำให้ผู้ลี้ภัยในแม่<wbr></wbr>สอดมักจะต้องพึ่งพาคลินิกที่ไม่<wbr></wbr>ต้องเสียค่าใช้จ่าย ซึ่งดำเนินงานโดยองค์<wbr></wbr>กรภาคประชาสังคม</p>
<p>“โม โม” บอกกับฟอร์ตี้ฟายไรต์ว่า เธอต้องเปลี่ยนวิธีที่ไปรับบริ<wbr></wbr>การสาธารณสุขสำหรับตั<wbr></wbr>วเองและครอบครัว หลังจากถูกจับซ้ำติด ๆ กันในประเทศไทยเมื่อปี 2565</p>
<p>เราพยายามซื้อยามาตุนไว้ที่บ้<wbr></wbr>านไว้ให้ได้มากที่สุด ตอนที่ลูก ๆ ฉันป่วย ฉันก็อาศัยซื้อยาจากร้<wbr></wbr>านขายยาใกล้บ้าน ซึ่งมีพนักงานขายเป็นคนพม่า ถ้าไม่มีอาการร้ายแรงจริง ๆ พวกเราจะหลีกเลี่ยงไม่ไปคลินิก เพราะกลัวจะถูกจับ หรือกลัวว่าจะมีปัญหา</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">พันธกรณีตามกฎหมายที่จะต้องจัดให้ทุกคนเข้าถึงบริ<wbr></wbr>การสาธารณสุข</span></h2>
<p>ปัจจุบันมีผู้ลี้ภัยกว่า 90,000 คนจากพม่าในค่ายที่พักพิงชั่<wbr></wbr>วคราวเก้าแห่งในประเทศไทย ตามข้อมูลของหน่วยงานผู้ลี้ภั<wbr></wbr>ยแห่งสหประชาชาติ ทั้งยังมีผู้ลี้ภัยอื่น ๆ ที่ไม่ทราบจำนวน กำลังหลบซ่อนตัวอยู่ในอำเภอแม่<wbr></wbr>สอด และพื้นที่อื่นทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะหลังการทำรั<wbr></wbr>ฐประหารในพม่าเมื่อเดือนกุ<wbr></wbr>มภาพันธ์ 2564 รัฐบาลไทย <a data-saferedirecturl="https://www.google.com/url?q=https://reporting.unhcr.org/thailand-mco-factsheet&amp;source=gmail&amp;ust=1698470724849000&amp;usg=AOvVaw21DwyWYXgc4YIAE4pZRcEM" href="https://reporting.unhcr.org/thailand-mco-factsheet" target="_blank">รายงานเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2566 ว่า[/url] มีผู้ลี้ภัยจากพม่ากว่า 40,000 คนที่เข้ามาพักพิงอยู่<wbr></wbr>ในประเทศไทย นับตั้งแต่การทำรัฐประหารในพม่า แต่รัฐบาลไทยแสดงข้อมูลที่เชื่<wbr></wbr>อได้ยากว่าเกือบทั้งหมดเดิ<wbr></wbr>นทางกลับพม่าไปหมดแล้ว</p>
<p>ประเทศไทยมีพันธกรณีตามกฎหมายต่<wbr></wbr>อกฎหมายในประเทศและระหว่<wbr></wbr>างประเทศ ที่จะต้องจัดให้มีการเข้าถึงบริ<wbr></wbr>การสาธารณสุขสำหรับบุคคลทุกคน รวมทั้งผู้ลี้ภัย มาตรา 51 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจั<wbr></wbr>กรไทยประเทศไทยประกันว่า “บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกั<wbr></wbr>นในการรับบริการทางสาธารณสุขที่<wbr></wbr>เหมาะสมและได้มาตรฐาน”</p>
<p>ประเทศไทยยังเป็นรัฐภาคีของกติ<wbr></wbr>การะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิ<wbr></wbr>ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) ซึ่งตามข้อ 12 ประเทศไทยมีพันธกิจต้อง “รับรองสิทธิของทุกคนที่จะมีสุ<wbr></wbr>ขภาพกายและสุขภาพจิ<wbr></wbr>ตตามมาตรฐานสูงสุดเท่าที่เป็<wbr></wbr>นได้” ตามข้อ 2 ของกติกานี้ ประเทศไทยยังมีพันธกิจต้องประกั<wbr></wbr>นสิทธิดังกล่าว โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใด ๆ ในเรื่องชาติหรือสังคมดั้งเดิม</p>
<p>แม้ว่าประเทศไทยจะไม่ได้เป็นรั<wbr></wbr>ฐภาคีของอนุสัญญาของสหประชาชาติ<wbr></wbr>ว่าด้วยสถานะผู้ลี้ภัย พ.ศ. 2494 หรือพิธีสารเลือกรับ พ.ศ. 2510 แต่อนุสัญญานี้กำหนดแนวปฏิบัติ<wbr></wbr>ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการคุ้<wbr></wbr>มครองผู้ลี้ภัยตามกฎหมายระหว่<wbr></wbr>างประเทศ ในข้อ 23 ของอนุสัญญา ผู้ลี้ภัยจะต้องสามารถเข้าถึ<wbr></wbr>งบริการสาธารณสุขในระดับเดียวกั<wbr></wbr>บพลเมืองของชาติที่ตนเข้<wbr></wbr>าไปแสวงหาที่พักพิง</p>
<p>หากไม่มีกรอบกฎหมายที่เป็นผลเพื่<wbr></wbr>อรับรองและคุ้มครองผู้ลี้ภั<wbr></wbr>ยในประเทศไทย ผู้ลี้ภัยจะต้องถู<wbr></wbr>กลงโทษทางอาญาตามพระราชบัญญัติ<wbr></wbr>คนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 ของประเทศไทย ซึ่งห้ามการเข้ามาหรือพำนักอาศั<wbr></wbr>ยในประเทศไทยโดยไม่ได้รับอนุญาต ส่งผลให้ผู้ลี้ภัยในประเทศไทยต้<wbr></wbr>องตกเป็นเหยื่อของการจับกุ<wbr></wbr>มและควบคุมตัวโดยพลการ การไม่มีสถานะทางกฎหมายยังทำให้<wbr></wbr>ผู้ลี้ภัยไม่สามารถใช้ประโยชน์<wbr></wbr>จากหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่<wbr></wbr>างที่แรงงานต่างชาติมีสิทธิเข้<wbr></wbr>าถึงได้</p>
<p>ในเดือนธันวาคม 2562 รัฐบาลไทย <a data-saferedirecturl="https://www.google.com/url?q=https://www.fortifyrights.org/tha-inv-2019-11-11/&amp;source=gmail&amp;ust=1698470724849000&amp;usg=AOvVaw1PblFoP5miN7NMv0gcZtXw" href="https://www.fortifyrights.org/tha-inv-2019-11-11/" target="_blank">ประกาศจัดทำกลไกคัดกรองระดั<wbr></wbr>บชาติ (NSM[/url]) ซึ่งเป็นกลไกใหม่เพื่<wbr></wbr>อจำแนกและให้ความคุ้มครองต่อผู้<wbr></wbr>ลี้ภัยในประเทศไทย หลังจากล่าช้ามาหลายปี กลไกคัดกรองระดับชาติได้เริ่มมี<wbr></wbr>ผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2566 จากข้อมูลของสำนักงานข้<wbr></wbr>าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่<wbr></wbr>งสหประชาชาติ ตำรวจไทยได้เริ่มกระบวนการคั<wbr></wbr>ดกรองดังกล่าว และระบุให้ผู้ที่ได้รับ “สถานะคุ้มครอง” สามารถเข้ารับบริการสาธารณสุข การศึกษา และบัตรผู้อยู่อาศัยชั่วคราวได้</p>
<p>ก่อนหน้านี้ บทวิเคราะห์ของฟอร์ตี้ฟายไรต์ต่<wbr></wbr>อกฎเกณฑ์ภายใต้กลไกคัดกรองระดั<wbr></wbr>บชาติ (NSM) ได้แสดงความกังวลต่อบทบัญญัติ<wbr></wbr>หลายข้อที่กีดกันบุคคลบางจำพวก เช่น แรงงานชาวพม่า กัมพูชา และลาว ไม่ให้เข้าถึงการคุ้<wbr></wbr>มครองในประเทศไทยโดยไม่จำเป็<wbr></wbr>นและโดยพลการ</p>
<p>ประเทศไทยควรให้สัตยาบันรั<wbr></wbr>บรองอนุสัญญาของสหประชาชาติว่<wbr></wbr>าด้วยสถานะผู้ลี้ภัย พ.ศ. 2494 และพิธีสารเลือกรับทันที และในระหว่างนี้ จะต้องมีการเปิดลงทะเบียนเพื่<wbr></wbr>อให้สถานะของการคุ้มครองชั่<wbr></wbr>วคราว และประกันการเข้าถึงบริ<wbr></wbr>การสาธารณสุขที่เสมอภาคกับผู้ลี้<wbr></wbr>ภัยจากพม่า ฟอร์ตี้ฟายไรต์กล่าว</p>
<p>“แนวปฏิบัติหลักของประเทศไทยต่<wbr></wbr>อผู้ที่หลบหนีอาชญากรรมที่เกิ<wbr></wbr>ดขึ้นในพม่านับเป็นความป่<wbr></wbr>วยไข้อย่างหนึ่ง” แพททริก พงศธร กล่าว “ในวาระที่<a data-saferedirecturl="https://www.google.com/url?q=https://globalcompactrefugees.org/about/global-refugee-forum/global-refugee-forum-2023&amp;source=gmail&amp;ust=1698470724849000&amp;usg=AOvVaw29jSkhnaNmFDyjTC6vjwfu" href="https://globalcompactrefugees.org/about/global-refugee-forum/global-refugee-forum-2023" target="_blank">การประชุมเวทีผู้ลี้<wbr></wbr>ภัยโลก[/url]ใกล้จะมาถึง รัฐบาลใหม่ของไทยมีโอกาสที่<wbr></wbr>จะเปลี่ยนแนวทางนี้ ไม่ควรมีใครถูกจับเพียงเพราะเป็<wbr></wbr>นผู้ลี้ภัย หรือเพราะพยายามเข้าถึงบริ<wbr></wbr>การสาธารณสุข”</p>

<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ข่าว[/url]</div></div></div><div class="field field-name-field-category field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">การเมือง[/url]</div><div class="field-item odd"><a href="/category/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">สังคม[/url]</div><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">สิทธิมนุษยชน[/url]</div><div class="field-item odd"><a href="/category/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">คุณภาพชีวิต[/url]</div></div></div><div class="field field-name-field-tags field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%9F%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B9%8C" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ฟอร์ตี้ฟายไรต์[/url]</div><div class="field-item odd"><a href="/category/%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%B2" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ผู้ลี้ภัยพม่า[/url]</div><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%94" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">แม่สอด[/url]</div><div class="field-item odd"><a href="/category/%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">บริการสาธารณสุข[/url]</div><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81-%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%98%E0%B8%A3" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">แพททริก พงศธร[/url]</div></div></div><div class="field field-name-field-promote-end field-type-text field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even">ติดตามประชาไทอัพเดท ได้ที่เฟซบุ๊ก https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/10/106539