หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:26:57 » |
|
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 26 กรกฎาคม 2553 14:39:06 โดย Mckaforce »
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #2 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:28:42 » |
|
อันนี้อีกเวอร์ชั่นครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #3 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:28:52 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #5 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:34:11 » |
|
วัวป่า คืออะไร ? วัวป่าก็คือจิตที่ยังมืดบอดด้วยอวิชชา ไม่รู้ ไม่ประสีประสาอะไร เปรียบเสมือนจิตของคนเรา ที่โลดเแล่นไปตามอำนาจกิเลสทั้งหลายนั้นเอง ภาพที่ ๑ : เป็นรูปคนเดินอยู่กลางป่า สายตาสอดส่าย สงสัย หวาดกลัว ว้าเหว่ เก้ ๆ กัง ๆ ดูราว กับว่า เดินหาร่องรอยอะไรซักอย่างหนึ่ง ในมือของบุคคลผู้นี้มีเชือกม้วนถืออยู่อย่างกระชับมั่นว่า จะตามหาวัวป่า คือ ตามหาให้พบร่องรอย เชือกนั้นคือปัญญา
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #6 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:34:42 » |
|
ภาพที่ ๒ : บุรุษผู้นี้เดินลึกเข้าไปในป่า มีภูผาและหมู่เมฆปกคลุมอยู่เบื้องหลัง สอดส่ายสายตาก้มลงดูที่พื้นดิน สายตาพบว่าเห็นรอยเท้าวัวอยู่ตรงหน้า จิตก็มีความหวังขึ้นมาว่าเราเริ่มเห็นร่องรอยเท้าวัวตัวนี้แล้ว เมื่อมีรอยเท้ามันจะต้องมีวัวอยู่ข้างหน้า
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #7 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:35:38 » |
|
ภาพที่ ๓ : เมื่อเห็นรอยเท้าวัว จิตก็เริ่มมั่นใจว่าจะได้พบตัววัวป่า สะกดรอยเท้าตามไปอย่างกระชั้นชิด แล้วก็แลเห็นหลังวัวป่าวิ่งหลบไปข้างหน้าอยู่ลัด ๆ หางวัวปลิวสะบัดอยู่ไหว ๆ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #8 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:35:59 » |
|
ภาพที่ ๔ : บุรุษผู้ตามจับวัวกระชับเชือกไว้ในมืออย่างมั่นคง เชือกหมายถึงสติปัฏฐานหรือปัญญา ที่จะเป็นเครื่องมือจับวัวป่า เขารีบเหวี่ยงบ่วงบาศเชือกไปคล้องคอวัวตัวนั้นไว้ได้อย่างแม่นยำ วัวป่าที่พยายามดิ้นรนสุดแรงเกิด แต่คนจับวัวรู้ดีว่าจะต้องสู้เอาชนะมันให้ได้ ด้วยจิตใจที่เข้มแข็ง และการยื้อยุดฉุดรั้งระหว่างคนกับวัวเป็นไปด้วยความพยายามและเหน็ดเหนื่อยแต่ผลสุดท้ายก็ทำให้วัวป่าเริ่มเชื่องช้า และหมดฤทธิ์ ปล่อยให้คนใช้เชือกร้อยจมูกชักจูงได้
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #9 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:36:22 » |
|
ภาพที่ ๕ : คนจับวัวประสบความสำเร็จในการจับวัวป่า จิตที่เข้มแข็งด้วยสติ และปัญญาสามารถ หยุดยั้งสัญชาติญาณดิบของวัวป่าได้เป็นผลสำเร็จ วัวยอมแพ้ คนชนะใจวัว สามารถจูงวัวเดินกลับบ้านได้ เหมือนจิตที่ถูกฝึกจนดีแล้ว จะควบคุมไปในทิศทางใดก็ย่อมทำได้ตามประสงค์ คนก็จูงวัวไปใหน ๆ ได้ตามที่ตนต้องการ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #10 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:36:57 » |
|
ภาพที่ ๖ : คนจับวัวมาฝึกให้ละพยศ ลดสันดานดิบแห่งป่า มันเริ่มตอบรับเชือกแห่งปัญญาของมนุษย์ ละทิฏฐิมานะที่จะดื้อดึงให้เชือกขาดแล้วกระโจนเข้าป่าต่อไปอีก หากแต่ว่าวัวตัวนี้กลายเป็นวัวเชื่องที่ยอมอยู่กับเจ้าของเชือก วัวไว้วางใจคนมากขึ้น ยินยอมให้คนขึ้นนั่งขี่บนหลังได้ ยิ่งไปกว่านั้น คนก็ไม่ต้องจับเชือกจูงวัวอีกแล้ว แต่สามารถนั่งเป่าขลุ่ยบนหลังวัวอย่างสบายไม่กลัวตกหล่น มีปีติเพลิดเพลินใจ วัวก็เดินไปอย่างกระฉับกระเฉง เหมือนกายกับจิต หรือเหมือนนายกับบ่าว เปรียบเสมือนการฝึกจิตให้เข้ารูปเข้ารอย เกิดความสะอาดสว่าง สงบ เย็นในชีวิต
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #11 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:37:29 » |
|
ภาพที่ ๗ : จิตที่ได้รับการฝึกฝนจนสงบเย็นดีแล้ว ศีล สมาธิ ปัญญา ก็เกิดขึ้น เปรียบเสมือนดวงจันทร์สว่างนวลเหนือท้องฟ้า อำนาจแห่งอวิชชาของราตรีกาลไม่อาจบดบังแสงจันทร์แห่งปัญญาได้ บัดนี้คนฝึกวัวบรรลุธรรมแล้ว ไม่ต้องมีวัวอยู่อีกต่อไป ไม่มีวัวที่ถูกฝึก ไม่มีคนผู้ฝึกวัว เหมือนคนพายเรือถึงฝั่งไม่ต้องแบกเรือไว้บนหลัง ลืมวัว ลืมความสุข อย่างโลก ๆ ไม่มีตัวเอง ไม่มีตัวกู ของกู อยู่ในจิตอีกต่อไป
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #12 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:37:51 » |
|
ภาพที่ ๘ : เมื่อไม่มีวัว ไม่มีผู้ฝึกวัว ไม่มีความยึดมั่นถือมั่น ไม่มีตัวกู ของกู ภาพที่ ๘ นี้จึงเป็นภาพของ " สุญญตา " ธรรม คือ " ว่าง " ในวงกลมนี้ไม่มีภาพอะไร เหมือนกระจกใสสะอาด สว่าง ไร้ใฝฝ้า หรือฝุ่นละอองมาจับต้อง นี่คือปริศนาธรรมที่สะท้อนธรรมที่ว่า " สุญญตา " คือความว่าง ว่างจากคน ว่างจากวัว ว่างจากความสุขอันเกิดจากผู้บริโภคอย่างโลกียสุข แต่เป็นโลกุตรสุขที่ไม่สิ้นสุด หรือเป็นอนันตกาล
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #13 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:38:12 » |
|
ภาพที่ ๙ : ภาพตอไม้ที่หงิกงอและหักโค่นด้วยกาลเวลา ร่องรอยแห่งชราและมรณะปรากฏอยู่ที่พื้นดินและหินผา เปรียบประดุจดังต้นไม้เฒ่า และต้นไม้ใหญ่ซึ่งผลิดอกเบ่งบาน ต้อนรับฤดูกาลแห่งมรรคผล แห่งปัญญาอันสูงสุดของผู้บรรลุธรรม
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์
เพศ:
United Kingdom
กระทู้: 7862
• Big Bear •
ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 5.0.375.99
|
|
« ตอบ #14 เมื่อ: 26 กรกฎาคม 2553 14:38:34 » |
|
ภาพ ๑o : เมื่อจิตของผู้ปฏิบัติธรรม หรือผู้ฝึกวัวป่าบรรลุธรรมมีปัญญาติดตัวมากพอที่พกพาไปใหน ๆ ได้แล้ว วิญญาณโพธิสัตว์ก็จะเกิดขึ้นแก่คนฝึกวัวว่า ปัญญาที่มีอยู่ควรจะนำไปแจกจ่ายให้แก่เพื่อนมนุษย์ผู้มืดบอดทั้งหลาย ห่อผ้าที่ผูกติดปลายไม้เท้าของคนฝึกวัวนั้นเปรียบเสมือนหนึ่งปัญญาวิมุตติ หรือวิชชาที่นำไปเจือจานเผื่อแผ่แก่เพื่อนมนุษย์ ผู้ร่วมทุกข์เกิดแก่ เจ็บ ตาย ต่อไป รูปปรามาจารย์ เซ็น ที่ยืนถือตะเกียงอยู่ตรงหน้า และถุงผ้าใหญ่ผูกไม้เท้าแบกอยู่ข้างหลังนั้นเปรียบเสมือนปัญญาที่มากล้น ของพระคณาจารย์เช็น นั่นเอง ( โปรดสังเกตุว่า ห่อผ้าที่เล็กของคนฝึกวัวสำเร็จ ปัญญาน้อยกว่า ปรามาจารย์เซ็นที่มีห่อผ้าใหญ่กว่า ปัญญามากกว่า แจกได้มากกว่า ) ปริศนาธรรมฝึกวัว หรือจับวัวทั้ง ๑o ภาพที่อธิบายมานี้ ข้าพเจ้าได้รับรู้จากท่านอาจารย์พุทธทาสภิกขุ ซึ่งท่านเมตตาอธิบายย่อ ๆ ให้ฟังก่อนจะลงมือเขียนภาพฝาผนังชุดนี้ไว้ขนาบสองข้างของภาพปฏิจจสมุปบาทธิเบตหลังจอหนังของโรงมหรสพทางเวิญาณเมื่อปี ๒๕o๙ ขอให้ผู้อ่านเข้าใจว่า คำอธิบายภาพปริศนาธรรมจับวัวหรือฝึกวัว ทั้ง ๑o ภาพนี้ ข้าพเจ้าเขียนขึ้นโดยเนื้อหาที่ท่านอธิบายย่อ ๆ ไม่ใช่ตามถ้อยคำ หรือตัวพยัญชนะของท่าน ฉะนั้นการที่จะช่วยให้เกิดความเข้าใจในปริศนาธรรมเซ็นชุดนี้ ควรจะได้อ่านคำอธิบายภาพปริศนาธรรมชุด จับวัว ( เกิดมาทำไม ) ซึ่งตีพิมพ์จากอรรถและพยัญชนะจากท่านอาจารย์พุทธทาสโดยตรงก็จะสำเร็จประโยชน์สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เมื่อกล่าวถึงการเขียนภาพปริศนาธรรมชุด จับวัวหรือฝึกวัว เมื่อปี พ.ศ. ๒๕o๙ ข้าพเจ้าอยากจะบันทึกไว้ว่า สำหรับท่านที่เคยชมภาพชุดนี้ในโรงมหรสพทางวิญาณ ท่าจะเห็นว่าภาพปริศนาธรรมตั้งแต่ภาพที่ ๑ ถึงภาพที่ ๑o ซ้าย ๕ ภาพ : ขวา ๕ ภาพ จะมีรูปแบล็กกราวด์เป็นคล่นบุญ - คลื่นบาปอยู่บบนพื้นหลังของภาพวงกลมทั้ง ๑o คลื่นบุญ - บาป เป็นความคิดของท่านอาจารย์พุทธทาสภิกขุ ท่านอาจารย์พุทธทาสต้องการให้แบล็คกราวด์ของปริศนาธรรมชุดฝึกวัว มีความหมายทางธรรม ท่านจึงนำภาพตัวอย่างซึ่งเป็นงานเขียนของญี่ปุ่นมาให้ขาพเจ้าดู เพื่อใช้เป็นแบบสำหรับเป็นแนวเขียนภาพคลื่นบุญ - คลื่นบาป เมื่อข้าพเจ้าเขียนภาพชุดปริศนาธรรม ฝึกวัวครบ ๑o ภาพแล้ว ต่อจากนั้นจึงลงมือเขียนภาพคลื่นบุญ - คลื่นบาปนั้น ท่านอาจารย์พุทธทาสยืนดูอยู่ข้างล่าง ข้าพเจ้าเขียนอยู่บนนั่งร้านสูง ดูเหมือนท่านจะสังเกตุเห็นว่า เส้นสายของคลื่นสีขาวที่เรียกว่า คลื่นบุญตัดกับคลื่นบาปที่เป็นพื้นสีดำนั้น ช่วงที่คลื่นม้วนตัวพลิ้วไหวเป็นวงน้ำวนนั้น ท่านให้ความเห็นว่ามันแข็งไป ท่านจึงบอกให้ข้าพเจ้ารู้ เพื่อจะได้แก้ไข ให้เส้นบางลงกว่าเดิม " เส้นคลื่นที่พลิ้วบางตรงที่มันม้วนตัวพลิกมันแข็งไป คุณต้องเขียนให้มันบางกว่านี้ แล้วมันจะดูไหว เหมือนวงน้ำกระเพื่อมไหว" ท่านพูดให้ฟังข้างล่าง แล้วท่านก็หยิบช็อคมาเขียนตัวอย่างให้ดูที่พื้น ข้าพเจ้าก้มมองดูก็เข้าใจคำแนะนำที่ท่านบอก ซึ่งมันก็จริงอย่างที่ท่านพูด คลื่นมันแข็งเป็นอะไรไม่รู้ มันเหมือนลายผ้า มันไม่ใช่สายน้ำที่กระเพื่อมไหว ข้าพเจ้าจึงรีบแก้ไขตามที่ท่านอจารย์พุทธทาสแนะนำทุกประการ ข้อที่น่าอัศจรรย์ในการเขียนภาพฝาผนังของโรงมหรสพทางวิญาณในครั้งนั้นก็คือ ท่านอาจารย์พุทธทาสภิกขุไม่เคยเป็นช่างเขียนไม่เคยเรียนด้านศิลปะ แต่จิตของท่านรู้ และเห็นความงามของศิลปะอย่างน่าอัศจรรย์ ตรงทางขึ้นบันไดชั้นบนของโรงมหรสพทางวิญญาณด้านซ้ายและด้านขวา ๒ ภาพ ซึ่งต่อมามีการปรับปรุงแก้ไขสีสดใสขึ้น โดยอาจารย์โกวิทหรือท่านเขมานันทะ รวมทั้งภาพปริศนาธรรมไทยอีก ๒ - ๓ ภาพ ที่ชั้นล่างมุมตึกด้านทิศเหนือผนังด้านทิศตะวันออก ปริศนาธรรมเซ็น และปริศนาธรรมอื่น ๆ ภายในโรงมหรสพทางวิญญาณ เป็นความสำเร็จที่เกิดจากภูมิธรรมอันล้ำลึกของท่านอาจารย์พุทธทาส แม้วันนี้มม่านจะจากไปแล้ว แต่ผลงานที่เป็นธรรมทัศน์ของท่านก่อให้เกิดผลคุณูปการให้แก่พุทธบริษัทและเยาวชนไทย ผู้ซึ่งท่านหวังไว้ว่าจะเป็นตัวแทนแห่งสันติภาพของโลกในอนาคต สัมพันธ์ ก้องสมุทร : ผู้บันทึกและเขียนภาพ ที่มาของภาพ สาธุ http://www.shokoku-ji.or.jp/english/e_museum/collections/painting/jyugyuzu.html
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
B l a c k B e a r : T h e D i a r y
|
|
|
|
กำลังโหลด...