[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
11 พฤษภาคม 2567 16:02:32 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก เวบบอร์ด ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

  แสดงกระทู้
หน้า:  1 ... 73 74 [75] 76 77 ... 1125
1481  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "แพรวพราว แสงทอง" โพสต์ซึ้ง! สถานะครอบครัว ได้เจอ "ผู้ใหญ่บ้านฟินแลนด์" อีกค เมื่อ: 24 กุมภาพันธ์ 2567 04:38:19
"แพรวพราว แสงทอง" โพสต์ซึ้ง! สถานะครอบครัว ได้เจอ "ผู้ใหญ่บ้านฟินแลนด์" อีกครั้ง
         


"แพรวพราว แสงทอง" โพสต์ซึ้ง! สถานะครอบครัว ได้เจอ "ผู้ใหญ่บ้านฟินแลนด์" อีกครั้ง" width="100" height="100  "แพรวพราว แสงทอง" โพสต์ซึ้ง! เผยสถานะครอบครัว หลังได้เจอ "ผู้ใหญ่บ้านฟินแลนด์" อีกครั้ง บรรยากาศทำแฟนๆ ได้เห็นถึงกับยิ้มแก้มปริ
         

https://www.sanook.com/news/9257738/
         
1482  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - งวดนี้ฮือฮา! ทะเบียนรถนายกฯ เลขสวย 2 ตัว แฝงความหมายดี แถมสีเขียวเหนี่ยวทรัพย์ เมื่อ: 24 กุมภาพันธ์ 2567 03:55:33
งวดนี้ฮือฮา! ทะเบียนรถนายกฯ เลขสวย 2 ตัว แฝงความหมายดี แถมสีเขียวเหนี่ยวทรัพย์
         


งวดนี้ฮือฮา! ทะเบียนรถนายกฯ เลขสวย 2 ตัว แฝงความหมายดี แถมสีเขียวเหนี่ยวทรัพย์" width="100" height="100  มาแล้ว เลขเด็ดทะเบียนรถนายกฯ ที่คอหวยรอคอย วันนี้ใช้สีเขียวเหนี่ยวทรัพย์ เลขสวย 2 ตัวเน้นๆ แถมแฝงความหมายดีเยี่ยม
         

https://www.sanook.com/news/9249718/
         
1483  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - เปิด 'โลกผู้ป่วยจิตเวช-โรคมีราคา' กับสิทธิการรักษาที่มีอยู่โดยที่บางคนยังต เมื่อ: 24 กุมภาพันธ์ 2567 03:46:30
เปิด 'โลกผู้ป่วยจิตเวช-โรคมีราคา' กับสิทธิการรักษาที่มีอยู่โดยที่บางคนยังต้องต่อสู้และบางคนยังไม่รู้
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2024-02-24 02:23</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>พิชญ์สินี ชัยทวีธรรม รายงาน</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>รายงานสัมภาษณ์ผู้ศึกษากระบวนการเข้าถึงการรักษาพยาบาลจิตเวชในรูปแบบต่างๆ รวมทั้งสวัสดิการของรัฐ พร้อมทั้งพูดคุยกับผู้ผ่านประสบการณ์การรักษาจิตเวช โดยเฉพาะผู้ที่ที่ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายทุกเดือนจากค่ายารักษา เพื่อทำความเข้าใจสถานการณ์ หลังต้นเดือนก่อน สส.ก้าวไกลเปิดประเด็นนี้ในสภา จนเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ในวงกว้าง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53548004385_b491359eae_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">“วันที่ 5 มกราคม 2566 สิริลภัส กองตระการ สส.กทม. พรรคก้าวไกล ลุกขึ้นอภิปรายถึงงบประมาณในสัดส่วนกระทรวงสาธารณสุข ว่า จากนโยบายที่พรรคเพื่อไทย หาเสียงกับประชาชน นพ.ชลน่าน ศรีแก้ว รมว.สาธารณสุข ได้หยิบยกประเด็นสุขภาพจิตและยาเสพติดให้เป็นนโยบายสำคัญ 1 ใน 13 นโยบาย ยกระดับ 30 บาทพลัส เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตประชาชน และดูเหมือนว่ารัฐบาลชุดนี้จะให้น้ำหนักไปที่อาการของผู้ป่วยจิตเวชที่มาจากยาเสพติดมากกว่าปัญหาสุขภาพจิตปกติที่เป็นวิกฤตเหมือนกัน” (ภาพและเนื้อข่าวจาก </span><span style="color:#e67e22;">[url]https://www.thaipbs.or.th/news/content/33567</span>[/url]<span style="color:#e67e22;">)</span></p>
<p>หลังจาก สส.ก้าวไกลเปิดประเด็นดังกล่าวในสภา สิ่งที่ตามมาคือกระแสวิพากษ์วิจารณ์ถึงปัญหานี้ในสังคมออนไลน์และเพื่อทำความเข้าใจสถานการณ์ผู้ป่วยซึมเศร้า และกระบวนการเข้าถึงการรักษาพยาบาลหรือสวัสดิการของรัฐ จึงชวนผู้อ่านไปพูดคุยกับกลุ่มคนที่ศึกษาวิจัยเรื่องนี้โดยตรง ผู้ผ่านประสบการณ์การรักษาจิตเวชในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะผู้ที่ที่ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายทุกเดือนจากค่ายารักษา</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">3 กลุ่มป่วยโรคซึมเศร้า และสิทธิที่มีอยู่ในหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ</span></h2>
<p>ฐิตินบ โกมลนิมิ ตัวแทนกลุ่มเพื่อนผู้ป่วยซึมเศร้า ระบุว่า ในวัฎจักรของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามีคนอยู่อย่างน้อย 3 กลุ่มหลัก   คือ </p>
<ol>
<li>คนที่ไม่รู้ตัวว่าป่วยเป็นโรคซึมเศร้าจนอาการปรากฏแล้วและไม่มีโอกาสเข้ารับการรักษาพยาบาล</li>
<li>คนที่รู้ตัวว่าป่วยแต่ไม่สามารถเข้าถึงระบบการรักษาพยาบาล และ  </li>
<li>ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่อยู่ระหว่างการรักษาและทุกข์อยู่กับระบบสุขภาพอย่างเดียวดาย</li>
</ol>
<p>​“หากแพทย์วินิจฉัยว่าผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการรักษานั้น หรือจำเป็นต้องได้รับยานอกบัญชีฯ การเรียกเก็บค่าส่วนต่างถือเป็นเรื่องผิดกฎหมาย เพราะ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ระบุไว้ว่า สถานพยาบาล หรือโรงพยาบาล  ‘ไม่สามารถเรียกเก็บค่าบริการเพิ่ม’ หรือ ‘เรียกเก็บค่าบริการเกินกว่าที่คณะกรรมการกำหนดไว้’ (Extra Billing) จากผู้ใช้สิทธิบัตรทอง ซึ่งเรื่องนี้เป็นเรื่องที่ผู้ใช้บริการร้องเรียนกับ สปสช. มูลนิธิเพื่อผู้บริโภคและสภาองค์กรของผู้บริโภคจำนวนมาก”</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547898449_75335981cc_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">ฐิตินบ โกมลนิมิ ตัวแทนกลุ่มเพื่อนผู้ป่วยซึมเศร้า</span></p>
<p>​ฐิตินบ ในฐานะผู้ป่วยซึมเศร้าและผู้วิจัยระบุว่า ได้รับการวินัจฉัยว่าป่วยเป็นโรคซึมเศร้าชนิดรุนแรงที่กลับมาป่วยซ้ำหลายครั้ง และมีแนวโน้มต้องกินยาต้านเศร้าประคองอาการไปตลอดชีวิต ซึ่งป่วยมาแล้ว 8 ปี โดยเฉพาะ 4 ปี หลังจำเป็นต้องพึ่งพาบริการบัตรทองแต่ถูกเรียกเก็บเงินยานอกบัญชียามาเกือบตลอด เมื่อเร็วๆ นี้ก็เพิ่งเจรจากับหน่วยบริการโดยไม่ให้เสียความสัมพันธ์กับแพทย์ผู้รักษา ทำให้การรักษาพยาบาล 3 ครั้งหลังไม่ต้องจ่ายเงินแล้ว </p>
<p>​“สิทธิที่เรามีอยู่แล้ว แต่เรากลับต้องต่อสู้เพื่อให้ได้สิทธินั้นมาและมีผู้ป่วยจำนวนมากยังไม่รู้ ไม่กล้าเจรจากับแพทย์ผู้รักษา”</p>
<p>เกิดประเด็นเรื่องสุขภาพจิตสำคัญอย่างไร และทำไมจึงต้องเป็นเรื่องที่รัฐต้องให้ความสำคัญ บทความนี้จะเล่าผ่านประสบการณ์ของผูป่วยจิตเวชส่วนเล็กๆที่อนุญาตให้เปิดเผยเรื่องราวการรักษา เป็นเพียงยแค่บุคคลส่วนน้อยของู้ป่วยจิตเวชอีกมากมายในสังคมไทยที่สามารถเล่าเรื่องราวการรักษา และความเจ็บป่วยของโรคจิตเวชได้ว่าเป็นเรื่องที่รัฐต้องให้ความสำคัญ</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เรารักษาเพื่อไปทำงานหาเงินแล้วมารักษาต่อ</span></h2>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53546693192_2abb5ddc07_o.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">ภาพวาด ภัทร คะชะนา</span></p>
<p>“การที่เราป่วยเป็นจิตเวช มันถูกผลักให้เป็นภาระของผู้ป่วยเองในการดูแลตัวเอง เพื่อไปหาเงินมาดูแลตัวเอง จ่ายค่ารักษาทุกเดือนเพื่อออกไปหาเงินมาจ่ายค่ายา ชีวิตมันวนแบบนี้พร้อมค่าใช้จ่ายจิตเวชที่กลายมาเป็นค่าใช้จ่ายประจำทุกเดือน”</p>
<p>ภัทร คะชะนา แรงงานนอกระบบหรือฟรีแลนซ์ หนึ่งในผู้ผ่านประสบการณ์การรักษาจิตเวชที่ต้องแบกรับค่าใช้จ่ายทุกเดือนจากค่ายารักษาจิตเวช</p>
<p>“การกินยามันก็ช่วยให้เราออกไปทำงานเพื่อหาเงินมารักษาได้ แต่ก็เป็นภาระทุกเดือน ถ้าทำงานเป็นแรงงานเงินเดือนอาจจะพอจ่ายไหว แต่แรงงานนอกระบบที่ไม่มีสวัสดิการแบบเราก็ถือว่าเป็นค่าใช้จ่ายที่หนักหนาอยู่”</p>
<p>ภัทร เล่าว่า การที่ได้กินยาจิตเวชก็เป็นเรื่องที่ดี ทำให้นอนหลับ ผ่อนคลายได้ แต่ไม่ได้หายขาด และต้องใช้เวลารักษาต่อเนื่อง บางคนอาจแค่ไม่กี่ปี แต่อาการแต่ละคนของผู้จิตเวชก็ไม่มีเหมือนกัน ในใจ ประสบการณ์เลวร้ายต่างๆที่เผชิญบนสังคมนี้ทำให้กลายมาเป็นผู้ป่วยจิตเวช ดังนั้นค่าใช้จ่ายยารักษาผู้ป่วยจิตเวชจึงกลายมาเป็นค่าใช้จ่ายประจำ ที่ไม่สามารถตอบได้ว่าแต่ละคนต้องจ่ายไปอีกนานแค่ไหน</p>
<p>“แม้แต่การเข้าถึงนักจิตวิทยา ก็เป็นเรื่องยาก เพราะผู้ป่วยมีจำนวนมาก ทำให้หลายครั้งที่ต้องไปรอ เราเสียโอกาสในการทำงาน เพื่อหาเงินมาจ่ายค่ายาอีก มันยิ่งทับถมให้เราเครียดกับเรื่องค่าใช้จ่าย สุดท้ายเราก็เลิกหาหมอเพราะค่าใช้จ่ายและการสูญเสียรายได้ไป”</p>
<p>ภัทร เล่าถึงประสบการณ์การไปหาหมอจิตเวชในรพ.รัฐ ซึ่งจำนวนผู้ป่วยเยอะ และบางครั้งที่อาการของเขาแย่ลงมากๆ ก็ไม่สามารถเข้าถึงการรักษาได้ เพราะต้องรอถึงสามเดือน รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายและการสูญเสียเวลาทำงาน ยิ่งทำให้ตัวเขาที่อาการแย่อยู่แล้วมาเจอความเครียดในการเข้าถึงการรักษา ก็ยิ่งทำให้อาการแย่ลง</p>
<p>“ดังนั้นคนที่มีกำลังเงินและเวลาก็จะมีโอกาสเข้าถึงการรักษา ถ้ารัฐให้ความสำคัญจริงๆมันต้องเป็นการรักษาที่ฟรีทุกตัว และทุกกลุ่มโรคจิตเวชต้องเป็นรัฐสวัสดิการ”</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">มองโลกในแง่ดี</span></h2>
<p>“การที่เราป่วยมันเพราะเรามองโลกในแง่ลบเกินไป ต้องมองแบบนี้ถึงดีขึ้น แต่ทำไมการรักษามันกลายมาเป็นเรื่องของปัจเจกบุคคล ที่ต้องมองในแง่ดี ต้องคิดในแง่ดี ทั้งๆที่ความเป็นจริงสภาพเศรษฐกิจมันแย่จนหางานทำแทบไม่ได้ กลายเป็นวาทกรรมต่อผู้ป่วยจิตเวชต่างๆ แต่การรักษาทำไมไม่อยู่ในการดูแลของรัฐ เพราะแต่ละวันที่ออกไปทำงาน เจอสังคม มันก็เกิดความเครียด ความรู้สึกแย่ได้ ซึ่งมันไม่ได้เกิดขึ้นเพราะเรารู้สึก แต่เพราะสถานการณ์ที่ไปเจอในสังคมมันกระตุ้นให้อาการแย่ลง”</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53546693267_2c49a92063_o.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">ภาพถ่ายเชิงศิลปะสะท้อนภาวะซึมเศร้า โดย ภัทร คะชะนา</span></p>
<p>ภัทรเล่าว่า ยารักษาจิตเวชที่ยังคงต้องมีค่าใช้จ่ายก็เป็นการทับถมผู้ป่วย หากมองชีวิตปัจเจกบุคคลในแต่ละวัน ทุกคนต้องตื่นออกมาทำงาน ออกมาใช้ชีวิตเจอสังคม และเรื่องราวต่างๆ เสร็จจากงานก็กลับบ้าน พร้อมความรู้สึกที่ได้รับมาตลอดทั้งวัน ยิ่งถ้าไม่สามารถระบายหรือพูดคุยกับใครได้ และยังต้องแบกรับค่าใช้จ่ายยาจิตเวชอีก ก็ยิ่งทำให้อาการแย่ลงไปอีก</p>
<p>“เราไปนั่งทำบุญ ทำสมาธิ เป็นเรื่องที่ต้องดูแลตัวเอง จัดการตัวเองดีก็ไม่ต้องหาหมอ เป็นเพราะตัวเราทั้งนั้น เป็นวาทกรรมที่ทำให้ปัจเจกบุคคลต้องดูแลตัวเองเกลื่อนกลาดในสังคม เราไม่ได้ปฎิเสธเคมีในสมองนะ แต่เรื่องราวแย่ๆที่เข้ามาก็มาจากสังคม ใครจะไปคิดบวกได้ตลอดเวลา เช่นไปทำงาน เจอเจ้านายที่แย่ ค่าแรงน้อย ก็ยิ่งสะสมความเครียด ไหนจะค่าใช้จ่ายรายวัน ค่ายารายเดือนอีก”</p>
<p>คุณภัทรอธิบายว่า แม้เราจะมองโลกในแง่ดีแค่ไหน แต่ไม่มีใครสามารถทำได้ตลอดเวลา ไปเจอความแย่ๆในสังคมที่เราต้องออกไปทำงานใช้ชีวิต </p>
<p>และคุณภัทรอธิบายเพิ่มว่า ในสภาวะระบบเศรษฐกิจของมนุษย์ก็ทำให้คนต้องดิ้นรนกันแบบนี้ แต่ระบบเศรษฐกิจแบบนี้มันส่งผลต่อสุขภาพจิตเราด้วยหรือไม่ มันควรอยู่ในการดูแลของรัฐด้วยหรือไม่ เพราะคนต้องอดทนกับระบบเศรษฐกิจแบบนี้ในทุกๆวัน </p>
<p>“ถ้าในกรุงเทพ ตื่นเช้าแจ่มใสออกไปทำงาน ไปเจอรถติด แย่งกันขึ้นขนส่งสาธารณะ ไปเจอสภาพแวดล้อมแย่ๆในที่ทำงาน แล้วก็กลับบ้านมากินยา นอนหลับ เพื่อพรุ่งนี้ไปเจอสภาวะเช่นนี้อีกทุกวัน” ภัทร กล่าวและเสริมว่า การป่วยของแต่ละคนมันซับซ้อนแต่มันเกี่ยวข้องสังคมแน่นอน </p>
<p>“เพราะเราต้องอยู่ในระบบเศรศฐกิจที่ทำงานหนัก เอาตัวรอดสูง ในคนอายุประมาณ 30 และน้อยกว่าเราลงไปมักจะมีคำถามว่า เรียนไปจะตกงานไหม ความเครียดมันเกิดขึ้นในสังคมได้ทุกแบบ สังคมการเมืองและเศรษฐกิจแบบนี้ที่ทำให้ผู้ชนะจากการเอาตัวรอดมีน้อยกว่าผู้แพ้ที่เกลื่อนในสังคม ซึ่งอาจไม่ได้เป็นแค่บ้านเรา แต่อาจเป็นทั้งโลก” ภัทร กล่าว และเรียกระแบบเศรษฐกิจแบบนี้ว่า เป็นระบบเศรษฐกิจที่คลั่งความสำเร็จกับความขยัน </p>
<p>“การที่มีวาทกรรมดูแลตัวเอง มันได้แยกให้เป็น ตัวมึงของมึง ตัวกูของกู มันล้นจนเกินไป จนทำให้ลืมไปว่าการป่วยอาจจะเพราะสภาพแวดล้อม สิ่งที่เติบโตและพบเจอก็ได้” ภัทร กล่าวพร้อมอธิบายว่า บางเรื่องที่ไม่สามารถผ่านไปได้ด้วยตัวคนเดียวเพราะเกี่ยวข้องกับคนในครอบครัว เพื่อน หรือคนที่เกี่ยวข้องในเรื่องราวแย่ๆ ทำให้ปัจเจกบุคคลไม่สามารถแก้ปัญหาด้วยคนเดียวได้ </p>
<p>และวาทกรรมให้ดูแลตัวเองก็นับว่าเป็นความรุนแรงอย่างหนึ่งในสายตาของภัทร และกล่าวด้วยว่า “ประโยคจากหนังสือเล่มหนึ่งเขียนไว้ว่า มันไม่ใช่เรื่องบังเอิญที่อัตราคนป่วยโรคซึมเศร้าจะเพิ่มสูงขึ้น”</p>
<p>“การที่มีจำนวนผู้ป่วยจิตเวชเพิ่มขึ้นย่อมเกี่ยวข้องกับสังคม และเป็นเรื่องที่รัฐต้องดูแล ให้ความสำคัญเรื่องนี้จริงจัง” ภัทรทิ้งท้าย</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ไม่มีใครอยากป่วยเป็นโรคซึมเศร้า</span></h2>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547898479_d8c5b4b8f8_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">ภาพ กรกนก คำตา </span></p>
<p>“เรารักษามา 5 ปี ช่วงแรกรักษาที่รพ.ศรีธัญญา ซึ่งปัจจุบันเราไม่ได้รักษาที่นั่นเพราะมันมีเอฟเฟคของยา ปวดหัว ภาววะบ้านหมุน ทนไม่ได้ น้ำหนักขึ้นเยอะมาก และมันทำให้เราขาดยาไม่ได้ เคยยุ่งจนไม่มีเวลาไปหาหมอ เพื่อรับยา แล้วปวดหัวจากการขาดยาจนทนไม่ไหวเลยต้องไปให้ฉุกเฉินของรพ.ศรีธัญญา แต่โรงพยาบาลก็ปฏิเสธไม่รับเข้าอาการฉุกเฉิน ด้วยเหตุผลว่ายาต้านเศร้าไม่มีเอฟเฟคที่รุนแรงแบบนี้ แม้เราจะยืนยันแค่ไหนก็ตาม สุดท้ายก็มาใหม่ในวันเวลาทำการ” กรกนก คำตา อีกหนึ่งคนที่ผ่านประสบการณ์การรักษาและยังรักษาจิตเวช โรคซึมเศร้าอยู่กล่าว </p>
<p>เธอเล่าว่า ตอนป่วย 2 ปีแรกเธอเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลศรีธัญญา โดยใช้สิทธิ 30 บาท ในการส่งตัวจากโรงพยาบาลต้นสังกัดให้มารับการรักษาที่โรงพยาบาลศรีธัญญา โดยมีค่าใช้จ่ายเป็น ค่ายาอยู่ที่ 2,000 ค่าจิตบำบัด 300 บาท ทำให้ต้องเดินทางไปโรงพยาบาลต้นสังกัดก่อนไปรักษาที่โรงพยาบาลศรีธัญญาเป็นประจำ เกิดค่าใช้จ่ายในการเดินทางซ้ำซ้อน และยาที่ใช้รักษาเธอ ก็ไม่ได้ถูกจัดเป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ เป็นค่าใช้จ่าย 2,000 กว่าบาทต่อเดือน</p>
<p>“หลังจากรักษาที่โรงพยาบาลศรีธัญญามาประมาณ 2 ปี เรารู้สึกว่าอาการเราไม่ดีขึ้น ไม่มีแรงลุกมาทำงาน ไม่สามารถใช้ชีวิตแบบปกติได้ เลยลองหาวิธีรักษาแบบอื่นที่น่าจะช่วยให้อาการดีขึ้น ก็มีเพื่อนแนะนำคลินิคเอกชนแห่งหนึ่งย่านบางนามา ซึ่งอาการเราก็ดีขึ้น อาการเราเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก”</p>
<p>กรกกนก เล่าว่าการที่เธอรักษาอยู่ที่รพ.ศรีธัญญาทำให้อาการของเธอทรงตัว มีชีวิตได้ แต่ไม่ได้ดีขึ้นถึงขนาดที่จะกลับมามีชีวิต ทำงานได้ตามปกติ และด้วยค่าใช้จ่ายต่อเดือนประมาณ 2,000 บาท และขั้นตอนการส่งตัวไปรักษา ทำให้เธอเลือกมองหาทางอื่นในการรักษาแทน และได้รับคำแนะนำจากเพื่อนว่าคลินิคเอกชนแห่งหนึ่งย่านบางนารักษาได้ดี เธอเลยเลือกลองไปรักษาที่คลินิคเอกชนแทน</p>
<p>ซึ่งผลลัพธ์ของการตัดสินใจครั้งนี้ทำให้อาการของ กรกนก ดีขึ้นอย่างมาก แต่แลกมากับค่าใช้จ่าย 6,000 ต่อเดือน รวมค่ายาและค่ารักษาจากหมอ </p>
<p>“อาการดีขึ้นมาก อาการต่างไปเลย ทำงานได้ ใช้ชีวิตประจำวันได้ สามารถพึ่งพาตัวเองได้มาากขึ้น ทำอะไรได้ดีมากขึ้น อาการดิ่งน้อยลงมาก และน้ำหนักกลับมาปกติเท่าตอนก่อนกินยาที่รพ.ศรีธัญญา”</p>
<p>กรกกนกเล่าว่าค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น แต่อาการของเธอก็ดีขึ้นมากเช่นกัน เธอเริ่มรักษาคลินิคเอกชน ด้วยยา 5 ตัว และรักษาต่อเนื่อง ปัจจุบันลดยาเหลือ 4 ตัว เพราะอาการของเธอดีขึ้นเรื่อยๆเอง</p>
<p>“เราเคยถามหมอที่รพ.ศรีธัญญาว่า ทำไมน้ำหนักเราขึ้นเยอะ หมอตอบเราว่าก็ลดการกินข้าวลง อย่ากินตามใจ” </p>
<p>กรกนกอธิบายว่าเธอได้นำเรื่องยาเก่าที่กินจากโรงพยาบาลศรีธัญญาไปปรึกษาหมอที่คลินิคเอกชน และได้รับคำตอบว่า หากผู้ป่วยรับยาแล้วมีเอฟเฟคของยาที่ทำให้กังวล ผู้ป่วยสามารถขอเปลี่ยนยาได้ แต่โรงพยาบาลศรีธัญญาก็ไม่ได้เปลี่ยนให้เธอ และนอกจากนั้นหมอยังอธิบายแก่ กรกนก ว่ายาที่เธอเคยใช้รักษาเป็นยาที่ค่อนข้างเก่า ปัจจุบันไม่นิยมมารักษาคนไข้เพราะมียาตัวอื่นที่เอฟเฟคของยาน้อยกว่าเข้ามาแทนที่ยาเหล่านี้</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53548004435_9e2efdf36a_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">ภาพใบสั่งยาของกรกนก คำตาจากคลินิค เพื่อไปซื้อยาจากเภสัช</span></p>
<p>“ค่าใช้จ่ายล้นมือมาก 6,000ต่อเดือนคือค่ารักษา ค่าใช้จ่ายในชีวิตเราอีก เงินเดือนแทบไม่พอหมุน แล้วมีช่วงหนึ่งที่เราเครียดจากการทำงานที่หนึ่ง เราเลยลาออก หมอกลัวว่าการขาดรายได้จะทำให้ย่ิงสะสมความเครียด หมอเลยหาทางออกให้โดยการใช้ใบสั่งยาหมอไปซื้อยาจากคลินิกข้างนอกแทน”</p>
<p>กรกนกเล่าว่า การไปซื้อยาที่ร้านยาส่งก็ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายลงไปเล็กน้อย เหลือประมาณ 4,000 กว่าบาทต่อเดือน</p>
<p>“เราคิดว่าค่ารักษาจิตเวชของเราต่อเดือนสามารถนำไปผ่อนรถ ผ่อนบ้าน ได้เลยนะ แต่เรามาแบกค่าใช้จ่ายเองทั้งๆที่มันเป็นเรื่องสุขภาพ มีทั้งสิทธิ 30 บาท แต่โรคซึมเศร้าได้แค่ยาทั่วไป ซึ่งถ้าคุณไม่มีเงินจ่ายยานอกบัญชีก็แล้วแต่ว่าคุณจะไปตายเอาดาบหน้า หรือจะฆ่าตัวตาย หรือจะหาเงินเยอะๆเพื่อไปรักษาที่เอกชนแพงๆ ซึ่งทำไมยาพวกนี้ที่มีคุณภาพโรงพยาบาลรัฐไม่เคยจ่ายยาพวกนี้ ต้องไปหาที่โรงพยาบาลเอกชน หมอในโรงพยาบาลรัฐเหมือนไม่อัปเดทว่ามีตัวยาใหม่ๆบนโลกนี้ที่ดีกว่า”</p>
<p>กรกนกเล่าว่า หากยาปัจจุบันที่เธอใช้รักษาจากคลินิคเอกชน เข้าไปอยู่ในยานอกบัญชีของรัฐก็ยังดี เพราะค่ารักษาก็จะถูกกว่า แต่สิ่งที่เธอคิดว่าเป็นเรื่องสำคัญและเป็นเรื่องรัฐต้องทำอย่างจริงจังคือ การให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้าถึงการรักษา ด้วยตัวยาที่มีคุณภาพโดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ</p>
<p>“เพราะหากยังต้องหาเงินมารักษาด้วยยาแพงๆ แล้วก็ออกไปทำงานมาจ่ายค่ายา วนไปแบบนี้ ถ้าเราเกิดไม่มีเงินขึ้นมาจะทำยังไง ต้องมีเงินเท่านั้นถึงจะเข้าถึงการรักษาที่ดีได้หรือ” เธอกล่าาว</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">รัฐปล่อยผู้ป่วยยโรคจิตเวชไปตามยถากรรม</span></h2>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547565801_ebef7a4bf5_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">ภาพใบเสร็จยารักษาโรคซึมเศร้าของกรกนก คำตา</span></p>
<p>“รัฐผลักให้ค่าใช้จ่ายเรื่องสุขภาพ อย่างโรคซึมเศร้าเป็นเรื่องที่ประชาชนต้องรับผิดชอบเอง มันทำให้เราเสียโอกาสที่จะนำเงินที่รักษาต่อเดือนไปทำอย่างอื่นในชีวิตเรา หรือบางคนที่เขามีอาการรุนแรงจนทำงานไม่ได้ก็จบเลย ไม่มีเงินรักษาตัวเอง”</p>
<p>กรกนกอธิบายว่า ในปัจจุบันหากป่วยเป็นโรคซึมเศร้า รัฐไม่ได้ดูแลเรื่องนี้อย่างจริงจัง ทำให้ผู้ป่วยเข้าไม่ถึงยาที่มีคุณภาพ หรือถ้าอยากได้ยาที่มีคุณภาพก็ตามมาด้วยค่าใช้จ่ายที่สูงมาก ยิ่งถ้าเป็นผู้ป่วยที่อาการซึมเศร้ารุนแรงจนไม่สามารถออกมาทำงานและใช้ชีวิตเองได้ ก็จะยิ่งยากที่จะหายจากโรคซึมเศร้า เพราะราคาค่ารักษาที่สูง </p>
<p>“วาทกรรมที่บอกให้เรามองโลกในแง่ดีต่างๆ เพราะโรคซึมเศร้าเกี่ยวข้อกับสารเคมีในสมองด้วย เพราะฉนั้นการใช้วิธีทางเลือกจึงยากที่จะหายจากโรคนี้ได้ อีกอย่างหนึ่งคือผู้ป่วยโรคนี้มักไม่ได้เป็นคนที่มีเงินมากมายพอที่จะไปกิจกรรมที่ต้องใช้เงิน เหลือแค่เข้าวัดที่ใช้เงินน้อยหน่อย แต่สำหรับเรา เข้าวัด ทำสมาธิ ดำน้ำ ดูปะการัง พวกกิจกรรมทางเลือกไม่ได้ช่วยเราให้อาการดีขึ้นเลย รู้สึกว่ายาจำเป็นและช่วยได้มาก”</p>
<p>เธอเล่าว่า เมื่อได้รับการรักษาด้วยยาที่เข้ากับอาการของโรคเธอแล้วนั้น มันทำให้อาการของเธอดีขึ้นมากกว่าการไปหากิจกรรมทางเลือกอื่น และรู้สึกได้ว่าถ้าหยุดยา แล้วไปใช้การรักษาทางเลือกแบบอื่นคงไม่ได้ดีสำหรับเธอแน่</p>
<p>“ดังนั้นยาเลยเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เราออกไปทำงานได้ ดูแลครอบครัวได้ เราเลยอยู่ได้ด้วยการพึ่งพายาและหาเงินซื้อยาไปเรื่อยๆ เลยอยากให้ยาที่มีคุณภาพเหล่านี้เป็นยาที่ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย อยากให้มีจิตแพทย์เยอะกว่านี้ เพราะตามโรงพยาบาลรัฐตามต่างจังหวัดบางที่มีจิตแพทย์แค่ 1 คน”</p>
<p>กรกนกเล่าว่า เพราะตอนนี้เธออยู่กรุงเทพเลยสามารถเข้าถึงจิตแพทย์ได้ก็จริง แต่ก็เข้าถึงได้ด้วยเงิน จึงเป็นเรื่องสำคัญว่าทำไมผู้ป่วยโรคซึมเศร้าต้องเข้าถึงยาและการรักษา โดยไม่มีค่าใช้จ่าย </p>
<p>“นอกจากนั้น สภาพแวดล้อมมีผลต่ออาการผู้ป่วยมาก ไม่ใช่แค่ข้อเสนอว่ายาที่มีคุณภาพต้องไม่มีค่าใช้จ่าย ทุกคนเข้าถึงได้ แต่รัฐต้องสนับสนุนด้วยการเข้ามาดูแลผู้ป่วยซึมเศร้าที่ทำงานไม่ไหว คนที่ป่วยระดับที่อยากฆ่าตัวตายตลอดเวลา ทำงานไม่ได้ ซึ่งผู้ป่วยระดับนี้ถ้าไม่ได้อยู่ในครอบครัวที่มีเงินดูแลเขาได้ เขาจะทำยังไง”</p>
<p>กรกนกอธิบายว่า บางคนไม่มีเงินเพรราะทำงานไม่ได้ สาเหตุมาจากสภาพจิตใจที่ซึมเศร้าจนออกไปทำงานไม่ได้ จนไม่มีเงินจะกินข้าว ไม่มีเงินดูแลตัวเอง ผู้ป่วยเหล่านี้จะเข้าถึงการรักษาได้อย่างไร</p>
<p>“เราประเมินตัวเองว่า อาการของเรายังไม่ได้ดีขนาดที่จะออกมาหาเงินรักษาตัวเองได้ แต่เราก็ต้องทำงานหาเงินมารักษาตัวเอง  และเรารู้ว่าเราจะหายได้ก็ต่อเมื่อเราหยุดทำงานมารักษาจริงจัง เพราะเงิน เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดความเครียด และทำให้อาการของโรคซึมเศร้าแย่ลง”</p>
<p>กรกนกเสริมว่า เธอก็ไม่สามารถหยุดทำงานได้อยู่ดี ปัจจัยที่ทำให้อาการจะดีขึ้นหรือแย่ลงก็คือการทำงานหาเงินมารักษาตัวเอง </p>
<p>“พอทำงานในสภาพที่เราก็รู้อยู่ว่าไม่พรร้อม ก็ทำให้เครียด แต่ก็ต้องทำเพื่อหาเงินมาารักษา ก็วนเป็นงูกินหาง เป็นวงจรที่ไม่มีวันจบ”</p>
<p>กรกนกเล่าว่า เธอได้ฟังการบรรยายเรื่องประเทศที่มีรัฐสวัสดิการ รัฐจะเข้ามาดูแลผู้ป่วย โดยการให้ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าทำงานแค่ 2-3 วันต่อสัปดาห์ได้ เพราะรัฐเข้าใจว่าผู้ป่วยบางคนไม่สามารถทำงานได้ครบ 5 วันได้ และต้องการการรักษา</p>
<p>“เราอยากให้ไทยมีการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่การเข้าถึงการรักษาที่ง่าย ยาที่มีคุณภาพโดยไม่มีค่าใช้จ่ายและมีการดูแลผู้ป่วยซึมเศร้าโดยรัฐ แบบที่ประเทศที่เขามีรัฐสวัสดิการทำกัน เพราะบางคนไม่สามารถทำงานได้จริงๆทุกวันนี้เหมือนปล่อยคนไข้ไปตามยถากรรม” </p>
<p>กรกนกอธิบายว่า การที่รัฐไม่ดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ไม่สามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติ เป็นการปล่อยปละการดูแลประชาชน ทำให้ผู้ป่วยไม่มีสวัสดิการ เพราะเขาไม่สามารถเข้าการรักษาถึงได้</p>
<p>“ไม่มีใครอยากเกิดมาเป็นโรคซึมเศร้า แต่มันเป็นแล้ว ก็อยากหาย ก็ไม่ได้อยากจะฆ่าตัวตาย ไม่ได้อยากจะลุกขึ้นมาทำงานไม่ได้ อยากเป็นคนธรรมดา แต่มันป่วยไปแล้ว ในฐานะที่เราเป็นพลเมือง รัฐควรเข้ามาดูแลและคุ้มครองชีวิตเราให้ดีที่สุดในฐานะมนุษย์” กรกกนก กล่าวทิ้งท้าย</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เพราะไม่มีแผลทางกาย เลยมองไม่เห็นแผลในใจ มันเลยไม่ใช่เคสฉุกเฉินของโรงพยาบาล</span></h2>
<p>“สาเหตุการที่เราป่วยเป็นซึมเศร้ามันไม่ได้มาจากเรื่องของตัวเองเลย แต่มันเป็นเรื่องที่เจอในสังคม เรามาเรียนด้วยความหวังที่เราจะมีความสุขในการเรียนสาขาที่ชอบ คือสาขาภาพพิมพ์ แต่สุดท้ายก็ไม่ได้เรียน เพราะอาจารย์สาขานี้ล่วงละเมิดทางเพศ ทำให้เราเป็นซึมเศร้า” เพชรนิล สุขจันทร์ศิลปินและนักศึกษาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว</p>
<p>เธอเล่าถึงสาเหตุของการเป็นโรคซึมเศร้านั้นไม่ได้เป็นจากเรื่องส่วนตัว หรือเส้นทางการเติบโตของชีวิตในครอบครัวของตนเอง แต่เกิดจากคนที่เธอได้ไปเจอในสังคม และล่วงละเมิดสิทธิบนเนื้อตัวร่างกายมาแล้วหนึ่งครั้ง ซึ่งก็ได้สร้างบาดแผลไว้ในใจของเธอมาตลอด และการล่วงละเมิดทางเพศครั้งที่สอง โดยอาจารย์สาขาภาพพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้เพชรนิลไม่ได้เรียนต่อสาขานี้ แม้จะเป็นสาขาที่ตัวเองชอบมากก็ตาม</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547565851_da01387e6a_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">ภาพเพชรนิล สุขจันทร์ งานนิทรรศการ P.S.T.D. ความรุนแรงจากการสลายการชุมนุม</span></p>
<p>“ในอดีตก่อนจะมาเรียนมหาวิทยาลัยที่นี่เราเคยถูกล่วงละเมิดทางเพศมาแล้วครั้งหนึ่ง ซึ่งมันก็เป็นแผลในใจ พอโดนทำซ้ำอีกทีในมหาวิทยาลัย มันเลยทำให้เรารู้สึกไม่ไหวกับการใช้ชีวิตแล้ว” เพชรนิลกล่าว</p>
<div class="more-story">
<ul>
<li>อ่านเพิ่มเติมการถูกล่วงละเมิดทางเพศใน ‘ช่วยกันเอาความจริงออกมา’ ศิลปะ ‘ซุกไว้ใต้หมอน’ ของนิสิตจุฬาฯ กลับโดนแจ้งความ ม.112</li>
</ul>
</div>
<p>“เหตุการณ์ล่วงละเมิดทางเพศจากอาจารย์สาขาภาพพิมพ์ ทำให้เราเกิดอาการหวาดระแวง ร้องไห้ตลอดเวลา นอนไม่หลับ กินข้าวไม่ได้ เป็นเวลา 1 เดือน จนแฟนต้องพาไปหาหมอ” เพชรนิล กล่าว และเล่าว่าช่วงแรกที่ไปรักษาจิตเวช เธอไปรักษาที่โรงพยาบาลเอกชน โดยมีญาติเป็นคนสนับสนุนค่าใช้จ่าย </p>
<p>“จำได้ว่าแรกๆยา 3 ตัว คุยกับหมอประมณครึ่งชม. รวมยาและค่ารักษาออกมาที่ 8,000 บาท แล้วต้องปรับยาอีก ครั้งละ 3,000-5,000 บาท ซึ่งเดือนแรกๆก็ต้องปรับไปหลายครั้งต่อเดือน จนทำงานศิลปะการเมืองนั่นแหละ เลยได้หยุดรักษาที่โรงพยาบาลเอกชนไป เพราะค่าใช้จ่ายมันแพงมาก”</p>
<p>เพชรนิลเล่าถึงราคาค่าใช้จ่ายที่ไปหาหมอจิตเวชแต่ละครั้ง และภายหลังญาติก็หยุดการสนับสนุนการรักษาของเธอไปเพราะไม่เห็นด้วยกับการที่เธอออกมาทำงานศิลปะการเมือง</p>
<p>“นรกเลยเกิดขึ้น เราต้องไปรักษารพ.รัฐ ก็ใช้สิทธิรพ.ของมหาวิทยาลัย ซึ่งจองคิวยากมาก เป็นผู้ป่วยนอกอย่างเราต้องมาตั้งแต่ 04.00-05.00 น. เพื่อจับบัตรคิว และจิตเวชที่นี่รับผู้ป่วยนอกกเพิ่มแค่ 3-4 คนต่อวัน ซึ่งเราก็ทำไม่ได้ เพราะเรียนหนักก็นอนดึก ต้องตื่นเช้ามาลุ้นจับบัตรคิวอีก ก็แทบเหลือเวลานอนไม่ถึง 5 ชม.ด้วยซ้ำ”</p>
<p>เพชรนิลเล่าว่าการไปรักษาที่รพ.รัฐเป็นเรื่องที่ยากมาก เพราะจำนวนผู้ป่วยเยอะ แต่รับผู้ป่วยเข้าการรักษาน้อย ทำให้ต้องตื่นเช้าไปจับบัตรคิว เพราะทางโรงพยาบาลไม่ได้มีระบบจองคิวล่วงหน้า เลยทำให้ผู้ป่วยแต่ละวันหนาแน่นมาก และไม่สามารถรู้ได้ว่าวันนี้ที่ไปรอเธอจะได้คิวเข้ารักษาจิตเวชหรือไม่ หรือจะได้วันไหนก็ไม่สามารถรู้ได้ ซึ่งถ้าทำตามระบบของโรงพยาบาลไปเรื่อยๆอาจจะได้เจอหมอแต่เวลาเรียนอาจจะขาดและเรียนไม่จบแทน </p>
<p>“สุดท้ายก็เข้าไม่ถึงหมอ ไม่มียากิน ก็พยายามทำตัวให้มีความสุขเข้าไว้ ช่วงนั้นเลยกลายเป็นคนกินเบียร์เยอะมาก การเมาทำให้เราลืมเรื่องเศร้าไปได้ บางทีกินแล้วหลับเลย และถ้าวันไหนไม่ได้กินเบียร์ตอนกลางคืน มันกลายเป็นว่าเราใช้เวลาช่วงกลางคิดมาก คิดกับตัวเองเยอะเกินไป จนกลายเป็นความเครียดนำไปสู่การทำร้ายตัวเอง”</p>
<p>เพชรนิลเล่าว่า การที่ไม่สามารถเข้าหาหมอจิตเวขได้โดยง่ายทำให้เธอให้มาพึ่งพาแอลกอฮอล์เพื่อเมาให้ลืมความเศร้า ลืมความเครียดและหลับไป ทำให้แอลกอฮอล์เป็นส่วนหนึ่งในการผ่านพ้นแต่ละค่ำคืนไป และเมื่อไม่ได้พึ่งพาก็จะทำให้ตนเองเครียดและนำไปสู่การทำร้ายตนเอง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547755338_0710b428e5_o.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">ภาพเพชรนิลถ่ายโดย sama_517 </span></p>
<p>“สภาพแวดล้อมมีผลกับตัวเรามาก ถ้าเราไปอยู่ในสังคมที่มีสภาพแวดล้อมที่ไม่มีความเข้าใจเรื่องโรคซึมเศร้า สังคมที่ใช้คำพูดด้วยคววามรุนแรง หรือขาดแฟนเราที่เป็นคนรับฟังเราไป”</p>
<p>เพชรนิลเล่าว่า มีครั้งหนึ่งที่เธอได้ไปเจอเรื่องที่ทำให้ตัวเองเศร้า ทำให้คิดลบกับตัวเอง แล้วระหว่างทางกลับบ้านก็เจอเรื่องราวคำพูดที่รุนแรง ยิ่งกระตุ้นให้เธอเกลียดตัวเอง เมื่อถึงบ้านแล้วเจอยาพาราเซตามอลที่บ้าน ซึ่งเป็นยาสามัญประจำบ้าน แต่เธอมองยาเป็นสิ่งที่ทำให้เธอสามารถฆ่าตัวตาย ได้และได้ตัดสินใจที่จะฆ่าตัวตายด้วยการตัดสินใจของตนเอง (committed suicide) </p>
<p>“ตอนนั้นไม่ได้คิดอะไรเลยนะ เอาแค่ให้ตัวเองตายง่ายที่สุด เลยเลือกกินยาพาราไป 50 เม็ด คิดแล้วนะว่าตายชัวร์ แต่ก็ไม่”</p>
<p>เธอเล่าให้ฟังว่าหลังจากกินยาพาราเซตามอลเข้าไป 50 เม็ด ด้วยความตั้งใจว่าตนเองจะได้ตายแน่นอน กลับกลายเป็นว่าเธอยังไม่ตาย และกินข้าวไม่ได้เลยในวัน 2 วันแรกหลังกินยา และเริ่มอาเจียนออกมาในวันที่ 3 ซึ่งแฟนของเธอเห็นอาการพอดี เลยรีบพาไปหาหมอ </p>
<p>“คือวันแรกๆมันมีสำรอกออกมานิดหน่อย แต่ไม่ได้แบบอ้วกแหวะแบละออกมานะ แต่มึนหัวปวดท้อง จนมาวันที่ 3 ได้กลิ่นแรงนิดหน่อยก็อ้วกกระจาย อ้วกตลอด” </p>
<p>เพชรนิลเล่าให้ฟังว่า 3 วันที่หลังกินยาไป โดยตั้งใจว่าตายแน่นอนแต่กลับไม่ตาย ทำให้เธอเครียดกว่าเดิม ทำให้เกิดความคิดว่าจะเป็นโรคอื่นเพิ่มหรือไม่ จะกลายเป็นคนพิการหรือไม่ ชีวิตจะลำบากกว่าเดิมไหม ซึ่งถ้ามีโรคหรืออาการพิการเพิ่มขึ้นมาที่มีค่ารักษาแพง เธอไม่มีเงินที่จะไปรักษาต่อ </p>
<p>เธออธิบายว่าเป็นความเครียดที่เกิดขึ้นต่ออีกระลอกหลังจากที่พยายามทำให้ตัวเองตายแต่ไม่ตาย</p>
<p>“ซึ่งการกินยาฆ่าตัวตายที่เล่ามานี้ เราไม่ได้บอกแฟนว่าจะลงมือทำ หรือให้สัญญาณอะไรเลยว่าจะเรากำลังจะกินยาเพื่อให้ตัวเองตาย เพราะแฟนเราเป็นคนสำคัญสำหรับเรามาก เลยไม่อยากให้รับรู้ว่ากำลังเกิดอะไรขึ้น ไม่อยากให้เขาต้องแบกรับเรื่องราวจากการตัดสินใจของเราเอง ให้เป็นกระบวนการฆ่าตัวตายที่เขาไม่ต้องมารับรู้ จะได้ไม่ต้องช่วยชีวิตแล้วเราก็ตายไปเลย” เพชรนิลกล่าว</p>
<p>“พอแฟนเห็นเราซม 3 วัน ถึงจะไม่รู้ว่าเรากำลังอยู่ในกระบวนการฆ่าตัวตายแต่เขาก็รับรู้ความไม่ปกติได้เลยพาไปห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลตามสิทธินักศึกษาเรา เราเรียกช่วงเหตุการณ์นี้ว่า นรกรอบที่ 2” </p>
<p>เพชรนิลเล่ามาถึงตรงนี้ เธอบอกว่า อาการป่วยของเธอจะเห็นได้ว่าโรคซึมเศร้าของเธอเริ่มมาตั้งแต่การล่วงละเมิดทางเพศ จนนำมาสู่อาการนอนไม่หลับ กินอาหารไม่ได้ คิดมาก มองตัวเองในแง่ลบ ต้องพึ่งพาแอลกอฮอล์ตอนกลางคืนเพื่อให้ผ่านพ้นแต่ละค่ำคืนไปได้ และเมื่อไปเจอสถานการณ์ที่กระตุ้นให้เธอเกิดความรู้สึกกับตัวเองในทางที่แย่ ทุกประสบการณ์แย่ๆ ที่สะสมมาไม่ได้หายไป จนนำไปสู่การฆ่าตัวตาย</p>
<p>“เราเข้าไปอยู่ในห้องฉุกเฉินตั้งแต่บ่ายโมง ได้ตรวจกับหมอตอนสองทุ่ม และหมอให้แฟนเรากลับบ้านตอนสี่ทุ่ม ตลอดเวลานั้นแฟนเรานั่งเฝ้าเราอยู่ข้า
1484  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - สมาชิกรัฐสภาอาเซียนฯ ประณามการบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหารของรัฐบาลเมียนมา เมื่อ: 24 กุมภาพันธ์ 2567 02:15:49
สมาชิกรัฐสภาอาเซียนฯ ประณามการบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหารของรัฐบาลเมียนมา
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 21:59</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพปก: ชาวเมียนมาแห่ขอวีซาไทย หน้าสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงย่างกุ้ง (ที่มาเฟซบุ๊ก กัณวีร์ สืบแสง)</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>สมาชิกรัฐสภาอาเซียนเพื่อสิทธิมนุษยชน หรือ APHR ออกแถลงการณ์ประณามการบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหารของรัฐบาลเมียนมา ซึ่งจะบังคับให้พลเมืองเมียนมาเพศชายอายุ 18-35 ปี และเพศหญิง อายุ 18-27 ปี เข้ารับราชการทหารเป็นเวลาอย่างน้อยสองปี</p>
<p>23 ก.พ. 2567 วานนี้ (22 ก.พ.) เว็บไซต์สมาชิกรัฐสภาอาเซียนเพื่อสิทธิมนุษยชน หรือ APHR เผยแพร่แถลงการณ์ประณามการบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหารของรัฐบาลเมียนมา</p>
<p>กษิต ภิรมย์ คณะกรรมการรัฐสภาอาเซียน และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กล่าวว่า</p>
<p>“เรามีความกังวลอย่างยิ่งเกี่ยวกับผลกระทบที่กฎหมายเกณฑ์ทหารจะมีต่อคนหนุ่มสาวในเมียนมา นี่เป็นอีกหนึ่งความพยายามที่น่าอับอายของรัฐบาลทหารในการปกครองด้วยความหวาดกลัวและการบ่อนทำลาย” </p>
<p>บีบีซีไทยรายงานอ้างคำพูด พล.ต.ซอ มิน ตุน โฆษกของรัฐบาลทหาร บอกกับผู้สื่อข่าวบีบีซี แผนกภาษาพม่า เมื่อวันอังคารที่ผ่านมา (13 ก.พ.) ว่า มีความต้องการเกณฑ์ทหารจำนวน 5,000 คน ทั่วประเทศ ส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย โดยทางรัฐบาลได้จัดตั้งคณะกรรมการระดับชาติจำนวน 18 คน เพื่อดูแลการบังคับใช้กฎหมายการเกณฑ์ทหาร ต่อจากนี้จะจัดตั้งหน่วยเกณฑ์ทหารในระดับภูมิภาค รัฐ อำเภอ และตำบล หากผู้ใดหลบเลี่ยงการเกณฑ์ทหารจะมีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี</p>
<p>บีบีซีไทยรายงานด้วยว่า สำหรับกฎหมายเกณฑ์ทหารของเมียนมา เคยถูกเสนอขึ้นมาเมื่อปี 2553 แต่ไม่เคยบังคับใช้จนถึงปัจจุบัน ภายใต้กฎหมายฉบับนี้ การบังคับเกณฑ์ทหารอาจขยายได้ถึง 5 ปี ในช่วงที่ประเทศอยู่ภายใต้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยบุคคลที่ไม่ไปรายงานตัวตามหมายเรียกอาจถูกลงโทษจำคุกเท่ากับจำนวนปีที่ต้องเข้ารับการเกณฑ์ทหาร</p>
<p>“กฎหมายฉบับนี้มุ่งทำลายขบวนการต่อสู้ที่นำโดยกลุ่มเยาวชนที่ต่อต้านเผด็จการ และจงใจทำให้พวกเขาหลายคนหันมาเผชิญหน้ากับกองกำลังฝ่ายต่อต้านที่พวกเขาเองสนับสนุน การประกาศใช้กฎหมายดังกล่าวยังแสดงให้เห็นถึงความขี้ขลาดอย่างยิ่งของรัฐบาลเมียนมา พวกเขาไม่สามารถสู้ด้วยตัวเองได้แล้ว” กษิต กล่าว</p>
<p>การประกาศดังกล่าวส่งผลให้คนหนุ่มสาวในเมียนมาและครอบครัวของพวกเขารู้สึกไม่มั่นใจ พวกเขาไม่ปรารถนาที่จะรับราชการภายใต้ระบอบเผด็จการทุจริตที่เต็มไปด้วยการใช้ความรุนแรง และก็ไม่ได้รับความนิยมจากคนส่วนใหญ่ของประเทศ</p>
<p>คณะกรรมการรัฐสภาอาเซียน และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กล่าวว่า</p>
<p>“เราขอเรียกร้องให้ประเทศสมาชิกอาเซียนและประชาคมระหว่างประเทศช่วยเหลือเยาวชนเมียนมาที่ต้องการหลบหนีไปยังประเทศอื่นให้สามารถเข้าถึงวีซาและโอกาสทางการศึกษาได้ และเราขอให้ประชาคมระหว่างประเทศรับรู้ว่า </p>
<p>นี่เป็นความพยายามเฮือกสุดท้ายจากระบอบการปกครองที่กำลังจะล้มเหลวในการรักษาอำนาจ ขอเรียกร้องให้ช่วยดำเนินการอย่างเด็ดขาดเพื่อสนับสนุนฝ่ายประชาธิปไตยของเมียนมาเพื่อนำมาซึ่งจุดจบของการปกครองโดยรัฐบาลทหาร"</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">/url]</div></div></div><div class="field field-name-field-promote-end field-type-text field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even">ติดตามประชาไทอัพเดท ได้ที่เฟซบุ๊ก https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108186
 
1485  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - สถิติหวยลาววันนี้ 23/2/67 สถิติหวยลาวย้อนหลัง ตรวจหวยลาวย้อนหลัง หวยลาวพัฒนา เมื่อ: 24 กุมภาพันธ์ 2567 01:50:44
สถิติหวยลาววันนี้ 23/2/67 สถิติหวยลาวย้อนหลัง ตรวจหวยลาวย้อนหลัง หวยลาวพัฒนา
         


สถิติหวยลาววันนี้ 23/2/67 สถิติหวยลาวย้อนหลัง ตรวจหวยลาวย้อนหลัง หวยลาวพัฒนา" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;สถิติหวยลาวย้อนหลัง หวยลาววันนี้ หวยลาวออกอะไร ตรวจหวยลาวพัฒนาย้อนหลัง
         

https://www.sanook.com/news/9256886/
         
1486  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ‘โดนยิง-ยกปืนจ่อหน้า-เอาไม้ตีกล้องพัง’ รวมเคส ‘ช่างภาพข่าว’ ถูกคุกคามขณะทำหน้ เมื่อ: 24 กุมภาพันธ์ 2567 00:45:15
‘โดนยิง-ยกปืนจ่อหน้า-เอาไม้ตีกล้องพัง’ รวมเคส ‘ช่างภาพข่าว’ ถูกคุกคามขณะทำหน้าที่
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 22:35</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>อินโฟกราฟิก: กิตติยา อรอินทร์</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>จากกรณีนักข่าวและช่างภาพโดนจับ ชวนย้อนดูกรณีคุกคาม ‘ช่างภาพข่าว’ ขณะปฏิบัติหน้าที่ ที่เกิดขึ้นหลังปี 2563 เป็นต้นมา โดยมีทั้งถูกยิงด้วยกระสุนยางจากตำรวจควบคุมฝูงชน ถูกยกปืนจ่อหน้าขู่ไม่ให้ถ่ายภาพ ตกเป็นเป้าในการทำร้ายร่างกายแต่พลาดโดนกล้องเสียหาย และดวงตาบาดเจ็บจากเศษแก้วที่ถูกขว้างจากฝั่งตำรวจ</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547666440_dabfa7ee8b_b.jpg" /></p>
<p><span style="color:#d35400;"><strong>2564 ช่างภาพเดอะแมทเทอร์ &amp; พลัสเซเว่น ถูกยิงกระสุนยางในม็อบ 18 กรกฎา</strong></span></p>
<ul>
<li>เมื่อวันที่ 18 ก.ค. 2564 ตั้งแต่เวลาประมาณ 11.00 น. กลุ่มเยาวชนปลดแอกและเครือข่ายนักกิจกรรมเพื่อสิทธิอีกหลายกลุ่มเคลื่อนขบวนจากอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยมุ่งสู่ทำเนียบรัฐบาล มีข้อเรียกร้อง 3 ข้อ ได้แก่ 1. พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกฯ ต้องลาออกทันทีโดยไม่มีเงื่อนไข 2. ปรับลดงบสถาบันกษัตริย์และกองทัพ และ 3. นำเข้าวัคซีน mRNA เป็นวัคซีนหลัก แทนการใช้วัคซีน Sinovac</li>
<li>สำหรับมาตรการการสลายการชุมนุมในวันดังกล่าว เจ้าหน้าที่ตำรวจมีการใช้ทั้งฉีดน้ำ แก๊สน้ำตา และยิงกระสุนยางใส่ประชาชน</li>
<li>มีรายงานว่า “ธนาพงศ์ เกิ่งไพบูลย์” ช่างภาพจากพลัสเซเว่น PLUS SEVEN ถูกกระสุนยางเข้าที่สะโพกขณะยืนรวมกลุ่มกับผู้สื่อข่าว ไม่มีการแจ้งเตือนจากเจ้าหน้าที่</li>
<li>นอกจากนี้ ยังมีชางภาพข่าวถูกยิงกระสุนยางอีก 2 ราย ได้แก่ “พีระพงษ์ พงษ์นาค” ช่างภาพมติชนทีวี ถูกกระสุนยางที่บริเวณแขนด้านซ้าย และ “ชาญณรงค์ เอื้ออุดมโชติ” ช่างภาพเดอะแมตเทอร์ ถูกกระสุนยางบริเวณแขนซ้าย โดยปรากฎรอยช้ำอย่างชัดเจน</li>
</ul>
<div class="more-story">
<ul>
<li>ศาลยกฟ้อง 2 นักข่าว PLUS SEVEN - The MATTER ฟ้องตำรวจยิงกระสุนยาง เรียกค่าเสียหายรวม 1.4 ล้าน</li>
</ul>
</div>
<p><span style="color:#d35400;"><strong>2564 ‘ไลลา’ ช่างภาพอิสระ ถูก คฝ.ใช้กระบองตีจนกล้องเสียหายในม็อบ 11 สิงหา</strong></span></p>
<ul>
<li>“ไลลา ตาเฮ” ช่างภาพอิสระที่ส่งภาพให้กับสำนักข่าว Benarnews และ Rice Media Thailand ถูกตำรวจชุดคุมฝูงชนใช้ไม้กระบองตีจนกล้องเสียหายระหว่างทำหน้าที่ถ่ายภาพเหตุการณ์ชุลมุน ขณะตำรวจชุดควบคุมฝูงชน (คฝ.) สลายการชุมนุมที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิช่วงเย็นวันที่ 11 ส.ค. 2564</li>
<li>ไลลาเล่าว่า เธอถูกตำรวจชุดควบคุมฝูงชนเข้าทำร้ายด้วยการใช้ไม้กระบองตีมาที่เธอแต่โดนกล้องจนฟิลเตอร์เลนส์กล้องแตกและขอบเลนส์บุบเสียหายและเฉี่ยวแขนเธอไป</li>
<li>ไลลาบอกว่าพอโดนแล้วเธอก็ไปถ่ายรูปต่อทั้งที่ฟิลเตอร์แตก เพราะเห็นว่าพอตำรวจชุดที่ตีเธอเดินผ่านไปแล้วก็ยังมีตำรวจอีกชุดมาจับคนที่อยู่ไม่ไกลจากเธอนัก</li>
</ul>
<div class="more-story">
<ul>
<li>ไลลา ตาเฮ ช่างภาพประชาชน กลางดงกระสุนยางและแก๊สน้ำตา</li>
</ul>
</div>
<p><span style="color:#d35400;"><strong>2564 ‘ยา–ณัฐพล’ ช่างภาพอิสระ ถูก คฝ.ยกปืนลูกซองชี้หน้าสั่งให้หยุดถ่าย</strong></span></p>
<ul>
<li>“ยา–ณัฐพล พันธ์พงษ์สานนท์” ช่างภาพอิสระ เคยให้สัมภาษณ์กับวอยซ์ทีวี ร่วมกับช่างภาพอิสระอีก 2 คน ถึงประเด็นการถูกคุกคามช่างภาพอิสระขณะปฏิบัติหน้าที่ โดยเขาเล่าถึงวันที่มวลชนตั้งหมู่บ้านทะลุฟ้าหน้าทำเนียบรัฐบาลและถูกสลายการชุมนุม ซึ่งเขาก็เป็นช่างภาพอีกคนหนึ่งที่ทำงานปะปนอยู่ในกลุ่มสื่อมวลชนที่รอจังหวะช็อตเด็ด-มวลชนกำลังนอนชูสามนิ้วอารยะขัดขืน</li>
<li>“ผมถ่ายรูปตำรวจตอนตำรวจเดินแนวเข้ามา เจอตำรวจใช้ปืนลูกซองยกชี้หน้าแล้วก็สั่งว่า “มึงหยุดถ่ายเดี๋ยวนี้ หยุดถ่าย บอกให้หยุดถ่าย” ยา–ณัฐพล กล่าว (ดูคลิปเต็ม)</li>
</ul>
<div class="more-story">
<ul>
<li>ช่างภาพข่าวถูก ตร.สส.บก.น.5 คุกคามหนัก เฝ้าคอนโดที่พักเกือบ 2 สัปดาห์ กดดันนิติเอาข้อมูลของสื่อ </li>
</ul>
</div>
<p><span style="color:#d35400;"><strong>2565 ‘เจน–ชาลินี’ ตาบาดเจ็บจากเศษแก้วที่ถูกขว้างจากฝั่งตำรวจ ยังไม่มีคำตอบว่าใครปา</strong></span></p>
<ul>
<li>เมื่อวันที่ 18-19 พ.ย. 2565 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดประชุมความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย-แปซิฟิก หรือ เอเปก “เจน–ชาลินี ถิระศุภะ” ช่างภาพข่าวที่คร่ำหวอดในวงการข่าวมาหลายปี ให้สัมภาษณ์พิเศษกับประชาไทถึงเหตุการณ์ดังกล่าวว่า เมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2565 ตนได้รับมอบหมายจากต้นสังกัดให้ไปถ่ายภาพการชุมนุมของกลุ่ม “ราษฎรหยุด APEC” ที่พยายามเคลื่อนขบวนจากถนนดินสอ ไปยังที่จัดการประชุม APEC ในขณะนั้น แต่ถูกตำรวจควบคุมฝูงชนสกัดไว้</li>
<li>ชาลินีเล่าว่าตอนนั้นเธอกำลังยืนอยู่กับกลุ่มช่างภาพคนอื่นๆ ข้างหลังรถกระบะของตำรวจ เพื่อถ่ายภาพแนวตำรวจควบคุมฝูงชน (คฝ.) ที่กำลังตั้งแนวโล่ใกล้บริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย แต่ทันใดนั้นเอง จู่ๆ ก็มีขวดแก้วอันหนึ่ง ลอยมาจากแนวตำรวจมายังทิศทางของเธอ ก่อนจะกระแทกลงบนฝากระโปรงรถจนแตกเป็นชิ้นเล็กๆ และเศษแก้วชิ้นหนึ่งก็ได้พุ่งเข้าใส่ใบหน้าของเธอ กลายเป็นแผลในดวงตา ตามที่ปรากฏในคลิปที่แชร์กันอย่างแพร่หลายในโซเชียลมีเดีย</li>
<li>เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้ชาลินีเกือบต้องสูญเสียการมองเห็นอย่างฉิวเฉียด เพราะเศษแก้วที่พุ่งเข้าดวงตาของเธอห่างจากตาดำไปเพียง 1 มิลลิเมตร และอาการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นก็มีผลกระทบระยะยาวด้วย แต่จนถึงทุกวันนี้ (21 ธ.ค. 2565) กลับไม่มีคำชี้แจง การเยียวยา หรือการแสดงความรับผิดชอบใดๆ จากทางตำรวจ</li>
</ul>
<div class="more-story">
<ul>
<li>สัมภาษณ์พิเศษ: ผ่านไป 1 เดือน ตร.ยังไม่ตอบว่า ‘ใคร’ ปาขวดแก้วใส่หน้าช่างภาพ</li>
<li>'โดนจับ โดนยิง รุมทำร้าย' รวมเคสคุกคามสื่อซ้ำแล้วซ้ำเล่า </li>
</ul>
</div>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">/url]</div><div class="field-item odd"><a href="/category/%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B5-%E0%B8%96%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B0" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ชาลินี ถิระศุภhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108187
 
1487  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - 'ก้าวไกล' แจกใบปลิว ขอแรงประชาชนช่วยดัน กม.แรงงาน จ่อเข้าสภาฯ 28 ก.พ.นี้ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 23:11:41
'ก้าวไกล' แจกใบปลิว ขอแรงประชาชนช่วยดัน กม.แรงงาน จ่อเข้าสภาฯ 28 ก.พ.นี้
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 19:03</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>'ก้าวไกล' เดินแจกใบปลิว พบปะประชาชนที่ช่องนนทรี ขอแรงประชาชนช่วยดัน กม.แรงงาน ยกระดับชีวิตคนทำงาน จ่อเข้าสภาฯ 28 ก.พ. นี้</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547360590_acb154474f_b.jpg" /></p>
<p>23 ก.พ. 2567 ผู้สื่อข่าวรายงานวันนี้ (23 ก.พ.) เวลาประมาณ 17.32 น. สส.พรรคก้าวไกล อาทิ ธิษะณา ชุณหะวัณ, วรรณวิภา ไม้สน, พุธิตา ชัยอนันต์, ศุภณัฐ มีนชัยนันท์ และสมาชิกพรรคคนอื่นๆ ได้มาพบปะประชาชน และแจกใบปลิว กฎหมายคุ้มครองแรงงาน ฉบับพรรคก้าวไกล ซึ่งมีสาระสำคัญที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทำงานหลายด้าน</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547252444_a6134285ec_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">วรรณวิภา ไม้สน</span></p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547252484_62f84d3121_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ศุภณัฐ มีนชัยนันท์</span></p>
<p>สหัสวัต คุ้มคง สส.พรรคก้าวไกล ชลบุรี เขต 7 วันนี้มาร่วมแจกใบปลิว ให้ความรู้เรื่องกฎหมายแรงงาน ระบุว่า เรามาแจกใบปลิวรณรงค์กฎหมายเข้าสภาฯ สัปดาห์หน้า เพื่อยกระดับชีวิตคนทำงานทุกคน</p>
<p>สาระสำคัญ ของ กม.แรงงาน ฉบับก้าวไกล เช่น การเปลี่ยนนิยามแรงงานการจ้างงาน ให้ครอบคลุมการจ้างงานทุกรูปแบบ รวมถึง ไรเดอร์ ฟรีแลนซ์ แรงงานอิสระ และอื่นๆ ให้ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายแรงงาน . นอกจากนี้ มีการเปลี่ยนการจ้างรายวันเป็นรายเดือน ลดเวลาทำงานจาก 48 ชม. ต่อสัปดาห์ เหลือเพียง 40 ชม. ต่อสัปดาห์ ลาหยุดได้ 10 วันต่อปี และสะสมได้ มีระบบพิจารณาเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำทุกปี มีที่ปั๊มนมเลี้ยงดูบุตรในที่ทำงาน ไม่มีการเลือกปฏิบัติในที่ทำงาน และอื่นๆ</p>
<p>โดยกฎหมายฉบับนี้มีคิวเข้าสู่วาระพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 28 ก.พ. ที่จะถึงนี้</p>
<p>สหัสวัต คุ้มคง กล่าวต่อว่า วันนี้จะมีการแจกใบปลิว พบปะประชาชนเหมือนตอนหาเสียงเลย เพราะเขาคิดว่าการจะสื่อสารกฎหมายกับคน ต้องมีการสื่อสารอย่างตรงไปตรงมา  แจกใบปลิว และอธิบายกฎหมายให้เขาคนทำงานอ่านเลยว่ากฎหมายของเราส่งผลกระบต่อคนทำงานอย่างไร</p>
<p>สส.ก้าวไกล ระบุว่า ที่เลือกช่องนนทรี เพราะว่าตรงนี้เป็นแหล่งทำงานของพนักงานออฟฟิศขนาดใหญ่ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน คนอาจจะเข้าใจว่าคุ้มครองเฉพาะคนทำงานใช้แรงงานเข้มข้น แต่จริงๆ คุ้มครองรวมถึงพนักงานออฟฟิศ คนทำธนาคาร ไรเดอร์ และคนอื่นๆ</p>
<p>สำหรับการทำกิจกรรมวันนี้ ทางพรรคก้าวไกล จะอยู่แจกจนใบปลิวหมด และหากใครต้องการเช็กข้อมูลตัวกฎหมาย อยากให้เข้าไปดูในเว็บไซต์พรรคก้าวไกล หรือเพจเฟซบุ๊ก เครือข่ายแรงงาน ของพรรคก้าวไกลได้เลย</p>
<p>เมื่อถามถึงความกังวลว่า ร่าง กฎหมายแรงงาน จะถูกปัดตกหรือไม่ เพราะว่าเป็นร่างกฎหมายของฝ่ายค้าน ทางสหัสวัต ระบุว่า ยืนยันว่า ไม่ว่าอย่างไรก็ตาม พรรคก้าวไกลต้องเสนอกฎหมายที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนต่อไป</p>
<p>"เราต้องทำงานทั้งในสภาฯ และนอกสภาฯ และมองว่าถ้าเราได้รับเสียงสนับสนุนจากประชาขน นอกสภาฯ เขาจะปัดตกกฎหมายเรายากขึ้น" สส.ก้าวไกล ชลบุรี ทิ้งท้าย</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53546920366_fb867c1095_b.jpg" /></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ความฝันด้านสวัสดิการของคนทำงานออฟฟิศ</span></h2>
<p><span style="color:null;">เบน อายุ 36 ปี ทำอาชีพอิสระ มองว่า การทำงานอิสระ จะไม่มีประกันสังคม มาตรา 33 ซึ่งถ้าอยากได้สวัสดิการประกันสังคม ต้องสมัคร มาตรา 39 หรือ 40 ค่าเบี้ยจ่ายได้ แต่การรักษาพยาบาล มันครอบคลุมได้ไม่หมด ไม่ดีพอ </span></p>
<p><span style="color:null;">เบน ระบุต่อว่า เธอเลยอยากให้สวัสดิการสำหรับประกันสังคม มาตรา 39 หรือ 40 มียารักษาที่ดีขึ้น เท่าเทียมกันกับมาตรา 33 ไม่อยากให้แบ่งชนชั้น มาตรา 33 39 40 หรือบัตรทอง </span></p>
<p><span style="color:null;">เบน ระบุว่าเธออยากให้รัฐมีกลไกที่ทำให้คนที่อยู่มาตรา 39 หรือ 40 มีสิทธิสวัสดิการเทียบเท่ากับลูกจ้างในมาตรา 33 อาจจะจ่ายเพิ่มขึ้นก็ได้ ให้รัฐจัดระบบมา จ่ายเท่าไร และรัฐอุดหนุนเท่าไร</span></p>
<p><span style="color:null;">ท้ายสุดเธอทิ้งท้ายว่า เธออยากให้หน่วยงานต่างๆ ให้ความสำคัญกับกฎหมายแรงงาน ไม่อยากให้เรื่องการเมืองมาปัดตกกฎหมายที่เป็นประโยชน์ทีแรก อยากให้เอาประชาชนเป็นที่ตั้ง</span></p>
<p><span style="color:null;">"เราหวังว่าหน่วยงาน สส.พรรคอื่นๆ อยากให้เรื่องนี้มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ </span></p>
<p><span style="color:null;">"เวลามีกฎหมายที่เป็นประโยชน์ไปเสนอ อย่าปัดทิ้ง เห็นด้วยกับเราหน่อย เพราะเราคิดว่า กฎหมายที่รณรงค์เป็นประโยชน์กับประชาชนทั้งนั้น" เบน ทิ้งท้าย </span></p>
<p><span style="color:null;">แจ็กกี้ LGBTQ+ อายุ 31 ปี อดีตทำงานออฟฟิศ มองว่า ควรมีการแก้ไขปัญหาการเลือกปฏิบัติในที่ทำงานโดยเฉพาะการเป็น LGBTQ+</span></p>
<p><span style="color:null;">แจ็กกี้ บอกว่า โชคดีที่ตัวเองทำงานในออฟฟิศที่มีความหลากหลาย แต่ไม่ใช่ทุกคนที่จะโชคดี เจอสภาพแวดล้อมแบบนี้ ที่เคยได้ยินมาจากคนรอบตัว การเลื่อนตำแหน่งงานต้องพยายามมากกว่าคนอื่น เขาบอกว่ายากมาก </span></p>
<p><span style="color:null;">แจ็กกี้ มองว่า เขาอยากให้ที่ทำงานมีทัศนคติที่เปิดกว้างกับคนที่เป็น LGBTQ+ มากขึ้น ให้เขารู้สึกว่ามีตัวตน และเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และการรับคนเข้าทำงาน ไม่ควรเอาเรื่องเหตุแห่งเพศมาเป็นเงื่อนไขกีดกันการรับคนเข้าทำงาน</span></p>
<p><span style="color:null;">บี อายุ 31 ปี พนักงาน เธออยากให้มีแก้ไขปัญหาการติดต่อหรือมอบหมายงานให้พนักงานนอกเวลาทำงาน - วันหยุด และพอไม่ติดต่อกลับ กลายเป็นความผิดของเรา</span></p>
<p><span style="color:null;">"มันไม่ค่อยโอเค </span></p>
<p><span style="color:null;">"มันมีบทลงโทษในเชิงคำพูด ที่ไม่เป็นเกียรติสำหรับเรา หลายๆ ครั้ง เราจะได้รับจดหมายเตือน ซึ่งบางครั้ง นอกเหนือเวลาทำงานของเราจริงๆ" บี ระบุ</span></p>
<p><span style="color:null;">บี มองว่า อยากให้มีกฎหมายสำหรับนายจ้างเองไม่ควรมีการสั่งงานนอกเวลาทำงาน และลูกจ้างต้องทำงานอย่างเต็มที่เวลาทำงานด้วยเช่นกัน และเวลาที่พนักงาน ได้รับมอบหมายงานนอกเวลาทำงาน และไม่ตอบกลับ ไม่ควรเอาเรื่องนี้มาเป็นเหตุแห่งบทลงโทษ ตำหนิ ต่อว่า หักเงินเดือน และอื่นๆ </span></p>
<p><span style="color:null;">เมย์ อายุ 31 ปี พนักงานออฟฟิศ มองว่า เรื่องการดูแลสุขภาพของลูกจ้าง เป็นเรื่องสำคัญ เพราะว่าที่ทำงานของเธอ มีการเพิ่มวงเงินจาก 6 หมื่นบาท เป็น 1 แสนบาท แต่ช่วยเหลือแค่เฉพาะอาการบาดเจ็บที่กระทบกระเทือนทางสมอง ซึ่งเธออยากให้มีการดูแลสุขภาพรักษาให้มันครอบคลุมทุกโรคทุกด้าน โรคใหม่ๆ โรคออฟฟิศซินโดรม และอื่นๆ มีคอร์สไปเที่ยว</span></p>
<p><span style="color:null;">เมย์ มองว่า ถ้าสิทธิสวัสดิการการรักษาครอบคลุม มันจะช่วยเหลือเรื่องหนี้สินครัวเรือน แบ่งเบาภาระของเรามากขึ้น</span></p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ขhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108184
 
1488  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - แฮปปี้กว่าที่เคย มหาเศรษฐีสาวขายคฤหาสน์-สมบัติทิ้ง ย้ายไปอยู่ในรถตู้ ใช้เงินวั เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 23:11:40
แฮปปี้กว่าที่เคย มหาเศรษฐีสาวขายคฤหาสน์-สมบัติทิ้ง ย้ายไปอยู่ในรถตู้ ใช้เงินวันละพัน
         


แฮปปี้กว่าที่เคย มหาเศรษฐีสาวขายคฤหาสน์-สมบัติทิ้ง ย้ายไปอยู่ในรถตู้ ใช้เงินวันละพัน" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;มหาเศรษฐีสาวชีวิตเปลี่ยนหลังหย่า ตัดสินใจขายคฤหาสน์และสมบัติทั้งหมด ย้ายไปอยู่ในรถตู้ ใช้ชีวิตด้วยเงินวันละ 1,000 บาท
         

https://www.sanook.com/news/9257778/
         
1489  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - ประวัติ “บิ๊กโจ๊ก” พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล นายตำรวจที่เคยถูกแขวน แต่หวนคืนวงการได เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 21:55:16
ประวัติ “บิ๊กโจ๊ก” พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล นายตำรวจที่เคยถูกแขวน แต่หวนคืนวงการได้สมศักดิ์ศรี
         


ประวัติ “บิ๊กโจ๊ก” พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล นายตำรวจที่เคยถูกแขวน แต่หวนคืนวงการได้สมศักดิ์ศรี" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;เปิดประวัติ “บิ๊กโจ๊ก” พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล นายตำรวจคนดังในหลายคดี เส้นทางการทำงานของบิ๊กโจ๊กไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ มาทำความรู้จัก “บิ๊กโจ๊ก” กัน
         

https://www.sanook.com/news/9016150/
         
1490  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ‘บอย ธัชพงศ์’ได้หมายม.112 คดีชุมนุมต้านสมบูรณาญาสิทธิราชย์หน้าสถานทูตเยอรมัน ป เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 21:37:51
‘บอย ธัชพงศ์’ได้หมายม.112 คดีชุมนุมต้านสมบูรณาญาสิทธิราชย์หน้าสถานทูตเยอรมัน ปี64
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 19:57</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>แฟ้มภาพ</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>"บอย ธัชพงศ์" ได้รับหมายเรียกรับทราบข้อหา ม.112 เหตุชุมนุมต่อต้านระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หน้าสถานทูตเยอรมัน 2564 “อานนท์ กลิ่นแก้ว” เป็นผู้กล่าวหา</p>
<p>23 ก.พ.2567 ประชาไทได้รับแจ้งจาก ธัชพงศ์ หรือ ชาติชาย แกดำ หรือ บอย ว่าตนได้รับหมายเรียกรับทราบข้อหาจาก สน.ทุ่งมหาเมฆ ในคดีที่อานนท์ กลิ่นแก้ว กล่าวหาเขาด้วยข้อหาหมิ่นประมาทกษัตริย์ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 จากการร่วมชุมนุมที่หน้าสถานทูตเยอรมนี เมื่อ 14 พ.ย.2564  โดยในหมายดังกล่าวมีการระบุชื่อผู้กล่าวหาไว้คือ อานนท์ กลิ่นแก้ว จากกลุ่มศูนย์รวมประชาชนปกป้องสถาบัน (ศปปส.) และจากหมายที่ระบุว่าธัชพงศ์และพวก จึงคาดได้ว่ามีผู้ที่ถูกดำเนินคดีคนอีกแต่ยังไม่ทราบว่าเป็นใครบ้าง</p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53547423395_b7ef26c918_b.jpg" /></p>
<div class="more-story">
<ul>
<li>ประมวล #ม็อบ14พฤศจิกา64 ไม่เอาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์</li>
<li>เปิดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ ชี้ 'ทนายอานนท์-ไมค์-รุ้ง' กระทำผิดฐานล้มล้างการปกครอง</li>
</ul>
</div>
<p>ผู้สื่อข่าวรายงานเพิ่มเติมว่า ในการชุมนุมครั้งหลังจากมีการนัดชุมนุมที่แยกปทุมวันแล้วได้มีการเดินต่อไปที่หน้าสถานทูตเยอรมนีต่อ หลังจากถึงแล้ว 'กลุ่มไม่เอาระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์'   ที่หน้าสถานทูตเยอรมนีและมีการส่งตัวแทนเข้าไปยื่นหนังสือถึงสถานทูตด้วย โดยในแถลงการณ์ดังกล่าวเป็นการแถลงเพื่อยืนยันจุดประสงค์ของการชุมนุมว่าเป็นการต่อต้านระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และเพื่อปกป้องระบอบประชาธิปไตย โดยองค์กรเครือข่ายของกลุ่มดังกล่าว ประกอบด้วย แนวร่วมธรรมศาสตร์และการชุมนุม, กลุ่มทะลุฟ้า, กลุ่มฟื้นฟูประชาธิปไตย DRG, กลุ่มเหล่าทัพราษฎร, ศาลายาเพื่อประชาธิปไตย, SUPPORTER THAILAND, We Volunteer และคณะรณรงค์เพื่อรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน (ครช.)</p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/51678884919_05a41849f1_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">เนื้อหาแถลงการณ์</span></p>
<p>ทั้งนี้การชุมนุมในครั้งนั้นเกิดขึ้นหลังจากศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่าการปราศรัยของอานนท์ นำภา, ภาณุพงศ์ จาดนอก และปนัสยา สิทธิจิรวัฒนกุล ที่มีการพูดถึงข้อเสนอในการปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ในการชุมนุม “เสกคาถาปกป้องประชาธิปไตย” หรือม็อบแฮร์รี่ พอตเตอร์ เมื่อวันที่ 3 ส.ค. 2563 บริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย และการชุมนุม “ธรรมศาสตร์จะไม่ทน” เมื่อ 10 ส.ค. 2563 ที่ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต นั้นถือเป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองฯ ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 49 วรรคหนึ่งและศาลได้สั่งให้ทั้งสามคนและองค์กรเครือข่ายยุติการกระทำดังกล่าว และจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญทำให้เกิดกระแสคัดค้านตามมา</p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108185
 
1491  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "น้องเกล" เห็นเต่าตัวใหญ่มากพูดเสียงดังฟังชัด ลูบหลังไม่กลัวเลย เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 20:32:59
"น้องเกล" เห็นเต่าตัวใหญ่มากพูดเสียงดังฟังชัด ลูบหลังไม่กลัวเลย
         


&quot;น้องเกล&quot; เห็นเต่าตัวใหญ่มากพูดเสียงดังฟังชัด ลูบหลังไม่กลัวเลย" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;"น้องเกล" เห็นเต่าตัวใหญ่มากพูดเสียงดังฟังชัด ลูบหลังไม่กลัวเลย
         

https://www.sanook.com/news/9257630/
         
1492  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ‘ผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน’ เรียกร้องไทยยุติการดำเนินคดี 2 นักข่าวที่ไปทำข่าวพ่นสี เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 20:07:10
‘ผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน’ เรียกร้องไทยยุติการดำเนินคดี 2 นักข่าวที่ไปทำข่าวพ่นสีกำแพงวัง
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 18:12</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพจาก ชนากานต์ เหล่าสารคาม</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>‘ผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน’ เรียกร้องไทยยุติการดำเนินคดี 2 นักข่าวที่ไปทำข่าวพ่นสีกำแพงวัง</p>
<p>23 ก.พ. 2567 เว็บไซต์ขององค์กรผู้สื่อข่าวไร้พรมแดน (RSF) เผยแพร่แถลงการณ์กรณีสื่อมวลชนไทย 2 คนถูกตั้งข้อหา จากการไปรายงานข่าวนักกิจกรรมทางการเมืองพ่นสีที่กำแพงวัดพระแก้ว</p>
<p>เซดริก อัลเวียนี ผู้อำนวยการสำนัก RSF เอเชียแปซิฟิก กล่าวว่า </p>
<p>“การตั้งข้อหานักข่าวว่าทำลายทรัพย์สินที่เป็นของสาธารณะ ในขณะที่พวกเขาเพียงรายงานข้อเท็จจริง ดูเหมือนจะเป็นอุบายของทางการไทยที่จะห้ามไม่ให้พวกเขารายงานข่าวการวิพากษ์วิจารณ์สถาบันกษัตริย์ เราขอเรียกร้องให้รัฐบาลยุติข้อกล่าวหาไร้สาระเหล่านี้ และหยุดคุกคามนักข่าวที่รายงานประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสถาบันกษัตริย์”</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108183
 
1493  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ชีวิตผู้ลี้ภัยซูดานในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่ 3 คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พั เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 18:35:55
ชีวิตผู้ลี้ภัยซูดานในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่ 3 คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พัทลุง’
 


<span class="submitted-by">Submitted on Thu, 2024-02-22 22:14</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ทีมข่าวศิลปวัฒนธรรม สัมภาษณ์/เรียบเรียง </p>
<p>ถ่ายภาพ: อันนา หล่อวัฒนตระกูล</p>
<p>บทสัมภาษณ์นี้เปิดเผยเนื้อหาบางส่วนของภาพยนตร์</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><div class="summary-box">
<ul>
<li>คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พัทลุง’ ผู้กำกับภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน) ที่เล่าเรื่องชีวิตประจำวันของครอบครัวผู้ลี้ภัยชาวซูดานที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่สามอย่างไร้จุดหมาย เมื่อไทยเป็นที่พักพิงชั่วคราวได้แต่ยังไม่ใช่บ้าน</li>
<li>Hours of Ours (รอวัน) เข้าโรงแล้ววันนี้ 22 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ที่ Doc Club &amp; Pub. และ House Samyan </li>
</ul>
</div>
<p>“ตอนที่เขา (ครอบครัวอิบราฮิม) เจอเรา เราถือกล้อง เราถ่ายคนม้งเวียดนามอยู่แล้ว เขามารู้จักเราพร้อมกับกล้องเรา เพราะฉะนั้นเขาก็รู้ว่าไอ้เด็กคนนี้มันมีกล้อง มันถ่ายอะไรซักอย่างอยู่”</p>
<p>คมน์ธัช ณ พัทลุง ผู้กำกับภาพยนตร์ Hours of Ours (รอวัน) เล่าให้เราฟังถึงที่มาที่ไปของการได้ไปรู้จัก ‘ครอบครัวอิบราฮิม’ ซึ่งเป็นครอบครัวผู้ลี้ภัยชาวซูดานที่หนีออกจากประเทศมายังกรุงเทพฯ เพื่อขอลี้ภัยไปประเทศที่สาม </p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53527304632_fb9a8904fb_b.jpg" /></p>
<p>เขาเกิดที่ไทย แต่เติบโตแบบย้ายไปย้ายมาระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาด้วยหน้าที่การงานของคุณพ่อ หลังจากเรียนจบสาขาวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์จากมหาวิทยาลัยเท็กซัส เขาทำงานในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่ลอสแอนเจลิสราวๆ 1 ปี และมีโอกาสได้ไปร่วมเวิร์คชอปที่คิวบากับ “อับบาส เคียรอสตามี” ผู้กำกับชั้นครูจากอิหร่าน จากนั้นเขาจึงตัดสินใจกลับเมืองไทย</p>
<p>แรกเริ่มเดิมทีเขาตั้งใจจะทำหนังเกี่ยวกับคนม้งเวียดนามในกรุงเทพฯ และได้แวะเวียนไปทำกิจกรรมในชุมชนร่วมกับเอ็นจีโออยู่เรื่อยๆ พร้อมกับกล้องในมือ จนกระทั่งวันหนึ่ง เขาก็ได้พบครอบครัวอิบราฮิมที่เข้ามาร่วมกิจกรรมที่เอ็นจีโอจัด</p>
<p>มิตรภาพก็เริ่มต้นขึ้นจากการที่เขาช่วยพาคุณแม่ไปหาหมอ หลังจากนั้นครอบครัวอิบราฮิมชวนเขาไปทานข้าวและดื่มกาแฟที่บ้าน จนก่อเกิดเป็นไอเดียในการทำหนังเพื่อบันทึกชีวิตขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่สาม ไปเรื่อยๆ อย่างไม่รู้จุดหมายปลายทาง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545560399_349fc891ed_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ย้ายไปอยู่อเมริกาตั้งแต่เมื่อไหร่</span></h2>
<p>มีช่วงหนึ่งในชีวิตที่เราต้องย้ายไปย้ายมาระหว่างไทยกับอเมริกา เราเกิดที่ไทย ตอนที่เราอายุ 3 ขวบ คุณพ่อได้ไปทำงานที่ลุยเซียนา เราก็ย้ายไปอยู่ที่นั่น 2-3 ปี จนเรา 5 ขวบก็กลับมาไทย เข้าโรงเรียนที่ไทยและอยู่ที่นี่ 10 ปี</p>
<p>พออายุ 15 ปี เราก็ย้ายไปที่เมืองฮุสตัน รัฐเท็กซัส เรียนมัธยมปลาย 2 ปี แล้วก็เรียนต่อมหาวิทยาลัยอีก 4 ปี แล้วก็พอเรียนจบ เราก็ไปอยู่ลอสแอนเจลิส (แอลเอ) หนึ่งปี แล้วหลังจากแอลเอก็รู้สึกว่าไม่เอาแล้วกลับมาไทยดีกว่า</p>
<p>เรื่องที่เป็นปมในใจอย่างหนึ่ง เรารู้สึกว่าเราปรับตัวเองยากประมาณหนึ่งเพราะสังคมที่มันเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา มันเป็นอีกขั้วหนึ่งเลย</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ทำไมถึงอยากกลับไทย</span></h2>
<p>คิดหนักเหมือนกัน เพราะว่าการอยู่ที่นี่ (แอลเอ) เรื่องหน้าที่การงานค่อนข้างดีแต่เรารู้สึกว่าไปต่อไม่ถูก เป็นการทำงานเพื่อหาเงินมาจ่ายค่าที่อยู่อาศัย ค่าอาหาร แต่เราไม่สามารถมีเวลาให้งานที่เรารู้สึกว่าเป็นงานครีเอทีฟส่วนตัว</p>
<p>เรื่องราวที่เราอยากจะพูดถึงอยู่ที่ไทยหมดเลย ตอนที่เราอยู่แอลเอ เราไม่ได้มีเรื่องราวที่อเมริกาที่เราอยากจะพูดถึง เราไม่ได้รู้สึกว่าเราคอนเนกต์กับที่อเมริกา</p>
<p>มันอยู่สบาย มันน่าอยู่แหละ แต่ว่ามันแพงมากๆ ที่แอลเอ ซึ่งทำให้เราหมดพลังไปกับการทำงาน</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">อยู่แอลเอทำงานอะไรบ้าง</span></h2>
<p>เราไปทำงงจังเป็นผู้ช่วยในออฟฟิศของ ริดลีย์ สก็อตต์ (Ridley Scott) อยู่ช่วงหนึ่ง แล้วเราก็ออกกอง เป็นผู้ช่วยช่างภาพ, DIT (Digital Imaging Technician หรือ คนจัดการข้อมูลภาพ ณ กองถ่าย) ให้กองหนังสั้น คอมเมอเชียล กองเว็บซีรีส์บ้าง</p>
<p>เราคิดอยู่นานว่าจะกลับมาดีไหม เพราะในช่วงนั้นวีซ่าก็จะใกล้หมดแล้ว ต้องรีบคิดว่าถ้าจะอยู่ต่อจะเอายังไงต่อไป เผชิญว่าช่วงนั้นได้ไปงานเวิร์คชอปที่คิวบา เป็นเวิร์คชอปกับ “อับบาส เคียรอสตามี” (Abbas Kiarostami) ผู้กำกับดังของอิหร่าน </p>
<p>เขามีโจทย์ให้เราพยายามทำหนังสั้นให้เสร็จใน 10 วัน ซึ่งเราก็ไปโดยที่ยังไม่มีไอเดียอะไรมาก ซึ่งมันเป็นพลังงานที่ขาดหายไปตอนที่เราอยู่แอลเอ เป็นพลังงานที่เราคิดถึง ก็เลยตัดสินใจว่ากลับไทยดีกว่า อยากจะกลับไปทำหนังของตัวเอง</p>
<p>หลังจากที่อยู่แอลเอมานาน พอเราไปถึงที่คิวบาแล้วรู้สึกเหมือนประเทศไทยมากๆ ทั้งสภาพอากาศ ภูมิทัศน์ติดทะเล ต้นไม้ ผู้คนน่ารัก มีบิลบอร์ดของฟิเดล คาสโตร ติดเต็มไปหมด มันก็เหมือนกับรูปที่มีทุกบ้าน ทำให้เรารู้สึกคิดถึงประเทศไทยมากๆ</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">พอกลับมาไทยแล้วไปคอนเนกต์กับครอบครัวนี้อย่างไร</span></h2>
<p>ช่วงที่เราอยู่อเมริกา ก็จะมีบางช่วงที่เรากลับมาไทยเพื่อเยี่ยมครอบครัว เยี่ยมเพื่อนช่วงซัมเมอร์ ช่วงนั้นเพื่อนเราก็เข้าเรียนกันหมด เราก็ว่างๆ เลยได้ติดต่อกับอาจารย์คนหนึ่ง เป็นอาจารย์สอนภาษาอังกฤษที่เรารู้จักสมัยที่เรียนอยู่ที่ไทย เขาก็บอกว่าเขากำลังเปิดเอ็นจีโอ เข้าไปในพื้นที่ของ คนที่ถูกมองข้ามในกรุงเทพฯ ซึ่งในตอนแรกโฟกัสของเขาคือชุมชนตามรางรถไฟแถวๆ พญาไท เราก็เข้าไปทำงานกับเขา</p>
<p>ไปๆ มาๆ เขาเปลี่ยนโฟกัสไปทำงานกับกลุ่มผู้ลี้ภัย แล้วก็ชวนเราเข้าไปในชุมชนม้งเวียดนามแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ตอนแรกเราไม่ได้รู้จักกับครอบครัวอิบราฮิม แต่อยู่มาวันหนึ่งเราก็เห็นครอบครัวนี้เข้ามาร่วมกิจกรรมที่เอ็นจีโอจัด </p>
<p>ปกติเอ็นจีโอจะจัดกิจกรรมสอนภาษาอังกฤษ สอนทำอาหาร รวมถึงซัพพอร์ตครอบครัวในพื้นที่นั้น ซึ่งเวลาจัดกิจกรรมก็เจอครอบครัวนี้มาร่วมด้วย ตอนแรกเราไม่ได้คิดอะไรมาก แต่ไปๆ มาๆ ก็ได้รู้จักกับเขา </p>
<p>ความที่มีกิจกรรมสอนภาษาอังกฤษ แต่ว่าเราเป็นคนที่สอนอะไรไม่เป็น เราก็เลยเสนอตัวว่าจะช่วยเหลือเขาในรูปแบบอื่น เช่น ติดต่อคนนั้นคนนี้ คุณแม่อยากจะไปหาหมอ เขาก็ถามว่าเราช่วยเขาคุยกับหมอได้ไหม เขากลัวเขาสื่อสารไม่ครบ ซึ่งเราช่วยเขาในลักษณะนี้ได้ ทำให้เราได้เริ่มรู้จักกับครอบครัวนี้ หลังจากที่ไปเจอหมอ เขาก็ชวนเราไปกินข้าวกินกาแฟที่บ้านเขา ไปหาเขาอยู่เรื่อยๆ</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545560024_7b54d20dd8_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">มีบางซีนที่ฟุตเทจเอียงๆ</span> </h2>
<p>ตั้งใจ (ตอบทันที)</p>
<p>โปรเจคสารคดีม้งเวียดนาม เราตั้งใจ setting (ออกแบบ) ตั้งใจ constructed (สร้าง) ทั้งหมด แล้วช่วงแรกๆ ที่เราถ่ายครอบครัวนี้ เราก็พยายามที่จะทำอย่างนั้นเหมือนกัน แต่ก็รู้สึกว่า…มันไม่ใช่วิธีที่เราอยากจะทำ </p>
<p>หลังจากนั้นเราก็เปลี่ยนวิธีการทำงานของเราด้วย เราก็เลยตัดสินใจว่าเราจะไม่สร้างระยะห่างระหว่างเรากับครอบครัวนี้</p>
<p>จะมีโมเมนต์ที่ว่าเราถ่ายๆ อยู่แล้วความเป็นตากล้อง ก็จะคอยดูเฟรมตลอด แต่เวลาเราดูเฟรม เราก็ไม่สามารถคอนเนกต์กับคนที่เรากำลังคุยอยู่ด้วย</p>
<p>โมเมนต์ที่เราพูดคุยกับเขา เราก็ต้องไม่สนใจกล้อง เพื่อให้ได้โมเมนต์นี้ไปเรื่อยๆ กล้องนี้มันก็ถ่ายของมันไป ได้อะไรมาก็ค่อยว่ากัน แล้วมันก็…ได้อย่างที่เห็น (หัวเราะ)</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">สารคดีที่ไม่ได้ดรามาสุดทางแบบนี้ ขอทุนยากไหม</span></h2>
<p>ยากเหมือนกัน เพราะว่าเราก็ต้องไปขอทุนจากศูนย์มานุษฯ (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) อย่างศูนย์มานุษฯ ยังดีเพราะว่าเขาเก็ตวิธีการทำงานของเรา ไม่เหมือนกับช่องข่าวทีวีต่างประเทศ เพราะว่าช่องพวกนี้เขาต้องการดรามา ต้องการบริบท เขาอยากที่จะรู้ว่าตอนนี้โลกมันโหดร้ายแค่ไหน แต่ว่ามันไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการจะนำเสนอในรูปแบบนั้น </p>
<p>เราต้องการที่จะนำเสนอครอบครัวนี้ในรูปแบบ Graceful Resilience (ความอดทนและความมีศักดิ์ศรี) ของเขา ซึ่งเป็นสิ่งที่เราเห็นและเราแค่อยากนำเสนอสิ่งที่เราเห็น อย่างน้อยศูนย์มานุษฯ เขาก็เก็ต เขามองประเด็นต่างๆ ด้วยสายตาของความเป็นมนุษย์ </p>
<p>แล้วก็สำหรับที่อื่นๆ อย่าง Purin Pictures หรือสิงคโปร์ เขาก็ซัพพอร์ตอะไรที่เกี่ยวกับภาพยนตร์อยู่แล้ว </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เคสครอบครัวซูดานแบบนี้ มีอีกเยอะมั้ยในไทย</span></h2>
<p>ในไทยไม่ค่อยมี เหมือนจากซูดานนี่มันต้องแยกด้วยว่าซูดาน หรือซูดานใต้ เพราะมันไม่เหมือนกัน แต่ที่เรารู้จักมีอยู่ไม่กี่คน มีน้อย ส่วนใหญ่จะมาจากปากีสถาน โซมาเลีย คองโก </p>
<p>อย่างปากีสถานในไทยนี่เยอะ ในกรุงเทพฯ </p>
<p>ปากีสถานที่หนีมาเพราะปัญหาเรื่องศาสนา ที่เรารู้จักส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาคริสต์กัน ส่วนซูดานเป็นปัญหาความขัดแย้งภายใน</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545567549_c4274c2113_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">โมเมนต์ที่ประทับใจที่สุด</span></h2>
<p>มีโมเมนต์หนึ่งที่อยากใส่ในหนังแต่ใส่ไม่ได้เพราะว่ามันไม่เวิร์ค เป็นโมเมนต์ที่คุณแม่ให้เราช่วยดูการบ้านของน้อง เพราะพ่อแม่เขาอ่านการบ้านภาษาไทยไม่ออก คุณแม่เล่าให้เราฟังว่าอยากจะช่วยสอนการบ้านลูกแต่ว่าช่วยไม่ได้เพราะทุกอย่างเป็นภาษาไทยหมด </p>
<p> จริงๆ เรื่องภาษา เป็นเรื่องที่เราพยายามจะสื่อในหนังเรื่องนี้ด้วย เพราะเรารู้สึกว่ามันสำคัญสำหรับเรา ครอบครัวนี้เขาคุยกันด้วยภาษาอาหรับ แต่ว่าแม่เขาก็บ่นให้เราฟังว่าลูกๆ คุยกันเองเป็นภาษาไทย อะไรที่ไม่อยากให้แม่กับพ่อรู้ก็จะคุยกันเองเป็นภาษาไทย มีเราอยู่ด้วยเราจะได้ช่วยเล่าให้แม่เขาฟังว่าลูกคุยอะไรกัน</p>
<p>ตอนแรกเราไม่รู้ว่าลูกๆ เขาพูดภาษาไทยกัน โมเมนต์นี้เป็นจุดเริ่มต้นหลายๆ อย่างตอนที่เรารู้ว่าลูกเขาพูดภาษาไทยกันเอง มันทำให้เรานึกถึงสมัยที่เราอยู่อเมริกาตอนเด็กๆ เรากับน้องอยู่ๆ ก็ได้ภาษาอังกฤษขึ้นมาโดยที่พ่อกับแม่เราตั้งตัวไม่ทัน</p>
<p>ในครึ่งหลังของเรื่อง ถ้าเกิดสังเกตจดหมายจากพ่อกับแม่ (ที่ส่งมาหาลูกตอนที่พ่อแม่โดนกักตัวอยู่ที่ ตม.) จดหมายก็เป็นภาษาอังกฤษ เราก็ถามว่าทำไมถึงเป็นภาษาอังกฤษ แม่เขาก็เล่าให้ฟังว่าเพราะลูกๆ เขาอ่านภาษาอารบิกไม่ออก เวลาเขาจะเขียนอะไรให้ลูกๆ เขาจึงต้องเป็นภาษาอังกฤษ น้องๆ พูดอารบิกได้ แต่จะอ่านเขียนไม่ได้ เพราะจะได้ภาษาไทยมากกว่า  </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ตอนที่ไปเจอ ครอบครัวนี้อยู่ไทยมากี่ปีแล้ว</span></h2>
<p>เขาอยู่มาหลายปีแล้ว แต่เราย้ายกลับมาไทยปี 2016 (พ.ศ. 2559) แล้วเราเจอเขา…น่าจะเริ่มถ่ายกับเขาประมาณปี 2017  (พ.ศ. 2560) ซึ่งเป็นตอนที่น้องๆ พูดไทยกันได้แล้ว</p>
<p>ตอนแรกเราคุยกับเขาเป็นภาษาอังกฤษเพราะเราไม่รู้ จนกระทั่งเราได้ยินพวกเขาคุยกันเองเป็นภาษาไทย แล้วเขาก็คุยกับเราเป็นภาษาอังกฤษแบบเกร็งๆ เขินๆ พอเราพูดไทยก็กลายเป็นว่าพวกเขาก็พูดกับเราเยอะเลย จากที่ก่อนหน้านั้นไม่ค่อยพูด</p>
<p>ครอบครัวนี้พาสปอร์ตหมดอายุ เข้ามาด้วยวีซ่าท่องเที่ยว ง่ายๆ ก็คือครอบครัวนี้อยู่เกินกำหนดวีซ่า</p>
<p>จริงๆ แล้วโรงเรียนอาจจะรับเข้าเรียนเพราะว่าพวกเขายังเด็ก ในแง่กฎหมาย เป็นสิทธิที่น้องๆ เขามีอยู่แล้ว เพราะว่าไทยเซ็นสัญญาปกป้องสิทธิเด็กของสหประชาชาติ</p>
<p>แต่ว่าประเทศไทยไม่ได้เซ็นสัญญาเรื่องผู้ลี้ภัย เพราะฉะนั้นพ่อกับแม่ หรือถ้าเด็กโตไปเป็นผู้ใหญ่ สิทธิเสรีภาพต่างๆ ก็จะหดน้อยลงไปเรื่อยๆ ยิ่งเราโตขึ้นมันก็จะยิ่งหดลง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545232806_d8cdd136b6_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เหมือนพ่อแม่จะอยู่แต่ในบ้าน</span></h2>
<p>พ่อแม่ส่วนมากอยู่แต่ในบ้าน มีไปทำธุระที่นั่นที่นี่บ้าง</p>
<p>ก่อนหน้านั้นเขาทำอาชีพอะไร เป็นเหตุผลที่ได้ไปแคนาดาด้วยไหม</p>
<p>อาจจะมีส่วน ครอบครัวนี้เขาน่าจะอยู่ในฐานะชนชั้นกลางประมาณหนึ่ง เพราะว่าพ่อกับแม่เป็นคนมีการศึกษา พ่อเป็นนักออกแบบตกแต่งภายใน ส่วนแม่ เรียนจบมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับด้านปศุสัตว์การแพทย์</p>
<p>เราก็ยังคิดอยู่ในใจว่า 6 ปีที่เขาอยู่ในไทยเขาน่าจะได้ทำอะไรอย่างอื่นได้ ทำไมต้องมาอยู่แต่ในห้อง แต่พอย้ายไปแคนาดาได้สัก 1-2 ปี เขาก็มีอาชีพแล้ว</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ในฐานะคนทำหนัง เรามีความคาดหวังอย่างไร</span></h2>
<p>เราคาดหวังกับการฉายในประเทศไทยมากที่สุด หลักๆ เลยเราทำหนังเรื่องนี้เพราะว่าเราอยากจะจินตนาการถึงอนาคต ความเป็นไปได้ใหม่ๆ สำหรับประเทศไทย</p>
<p>ในแง่ที่ว่าถ้าเด็กพวกนี้โตขึ้นมาแล้วต้องอยู่เมืองไทยตลอดไปจริงๆ ถ้าเกิดโดนปฏิเสธขึ้นมา ถ้า UNHCR (สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ) ปฎิเสธเคส 2-3 รอบ ก็คือโดนปฎิเสธไปเลย ก็คือไม่ได้มีทางเลือกอะไรอย่างอื่นแล้วนอกจากจะต้องอยู่ที่นี่หรือกลับประเทศตัวเอง   </p>
<p>การอยู่ที่นี่ก็เป็นสถานการณ์แบบนี้ เขาก็ต้องอยู่แบบนี้ ทั้งๆ ที่เขาก็จะซึมซับความเป็นไทย ภาษา วัฒนธรรม สภาพสังคม สภาพแวดล้อม ทุกสิ่งทุกอย่าง ซึ่งตอนนี้ก็มีอยู่ เด็กคนอื่นๆ ที่เป็นคนม้งเวียดนามที่เรารู้จัก หรือว่าเด็กที่มาจากประเทศเพื่อนบ้านที่ตามพ่อแม่มาอยู่ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม เราก็พยายามคิดถึงอนาคตว่าพวกเขาจะอยู่ยังไง เราจะสามารถเปิดให้พวกเขา หลอมรวมกับสังคมเราได้มากน้อยแค่ไหน</p>
<p>แล้วเราก็คิดไปถึงว่า ถ้าเกิดเราไปถึงจุดนั้นได้ หน้าตาของคนไทยสามารถเปลี่ยนไปด้วยได้ไหม เด็กแอฟริกันพวกนี้ก็คงไม่ต่างจากเด็กไทยทั่วไป ในหนังจะเห็นว่าพวกเขาก็เป็นเด็กไทยใช่ไหม </p>
<p>เราก็อยากจะตั้งคำถามว่าอะไรคือความเป็นไทย ขอบเขตของสิ่งนี้อยู่ตรงไหน และสามารถยืดหยุ่นได้หรือเปล่า หรือว่าทำลายขอบเขตของมันไปได้เลย เพื่อที่จะนับรวมคนอื่นๆ ได้</p>
<div class="summary-box">
<ul>
<li>Hours of Ours (รอวัน) เข้าโรงแล้ววันนี้ 22 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ที่ Doc Club &amp; Pub. และ House Samyan</li>
<li>เมื่อปี 2566 ภาพยนตร์สารคดี รอวัน | Hours of Ours ออกฉายสู่สายตาชาวโลกเป็นครั้งแรกในเทศกาลนานาชาติ Visions du Réel ที่จัดขึ้นที่เมืองนีออน (Nyon) ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ต่อมาได้ฉายในเทศกาลสารคดีนานาชาติ Beyond Borders Kastellorizo International Documentary Festival ครั้งที่ 8 ที่ประเทศกรีซ </li>
<li>รอวัน | Hours of Ours ฉายที่สมาคมฝรั่งเศส (Alliance Française) ที่เมืองไนโรบี ประเทศเคนยา ในโปรแกรมพิเศษที่ชื่อว่า Focus Sudan</li>
<li>ภาพยนตร์สารคดี รอวัน | Hours of Ours ฉายครั้งแรกในเอเชียที่เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติสิงคโปร์ SGIFF ครั้งที่ 34 ต่อมาได้ฉายในงานเทศกาลภาพยนตร์สารคดี Festival Film Dokumenter ที่เมืองยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย จากนั้นจึงเข้ามาฉายที่ไทย</li>
</ul>
</div>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108177
 
1494  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - นาวิน ต้าร์ เข้าแจ้งความแล้ว เฉลยเงินถูกดูดออกจากบัญชีเกือบ 5 ล้าน ได้อย่างไร เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 18:00:35
นาวิน ต้าร์ เข้าแจ้งความแล้ว เฉลยเงินถูกดูดออกจากบัญชีเกือบ 5 ล้าน ได้อย่างไร
         


นาวิน ต้าร์ เข้าแจ้งความแล้ว เฉลยเงินถูกดูดออกจากบัญชีเกือบ 5 ล้าน ได้อย่างไร" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;นาวิน ต้าร์ เข้าแจ้งความแล้ว หลังเข้าไปอ่านบทความจากเว็บไซต์ ถูกดูดเงินจากบัญชีหายเกือบ 5 ล้าน ชี้เป็นอุทาหรณ์กับกลุ่มคนที่ลงทุนกับเงินดิจิทัล
         

https://www.sanook.com/news/9257462/
         
1495  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - สงครามรัฐยะไข่ทวีความรุนแรง AA ยันบุกต่อ กองทัพพม่าโต้ ยกระดับการโจมตีทางบก-ทิ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 17:05:52
สงครามรัฐยะไข่ทวีความรุนแรง AA ยันบุกต่อ กองทัพพม่าโต้ ยกระดับการโจมตีทางบก-ทิ้งระเบิด
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 13:52</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพปก: ทหารอาระกันอาร์มี (AA) ถ่ายภาพหน้าสถานีตำรวจเมืองเจ้าก์ต่อ หลังสามารถยึดกุมเมืองเจ้าก์ต่อได้สำเร็จ (ที่มา: AA)</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>สงครามในรัฐยะไข่ ระหว่างกองกำลังอาระกันอาร์มี AA และกองทัพพม่า ทวีความรุนแรง ขณะที่กองทัพพม่ายกระดับการโจมตีทางอากาศ ควบคู่การโจมตีทางบก และทัพเรือ ด้าน AA บุกต่อ จนกว่ากองทัพพม่าจะยอมแพ้</p>
<p> </p>
<p>เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา (11-17 ก.พ. 2567) สงครามในรัฐยะไข่ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น หลังกองกำลังอาระกันอาร์มี (Arakan Army - AA) ยกระดับการโจมตีเผด็จการทหารพม่าในเมืองชายฝั่ง 3 แห่ง คือ มองดอ รามรี และระเต่ดอง</p>
<p>ด้านเผด็จการทหารกำลังพยายามป้องกันฐานทัพที่เหลืออยู่ใน 3 เมือง โดยการทิ้งระเบิดรอบๆ ผสานการใช้กองทัพบก, กองทัพเรือ, และกองทัพอากาศ </p>
<p>อย่างไรก็ตาม AA ระบุว่า พวกเขาจะยังคงเดินหน้าโจมตีกองทัพพม่าต่อไปจนกว่ากองทัพที่อยู่ภายในสถานที่เป้าหมายเหล่านี้จะยอมแพ้</p>
<p>กองทัพพม่าก็ยังคงทิ้งระเบิดใส่เมืองรามรี จากทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ ซึ่งทาง AA ระบุว่า 'รามรี' กลายเป็นเมืองที่ถูกทิ้งระเบิดหนักที่สุดในรัฐยะไข่ </p>
<p>นอกจากนี้ กองทัพเผด็จการพม่าได้ยกระดับการทิ้งระเบิดทางอากาศ ผนวกการโจมตีทางบก และทางทะเล ในเมืองระเต่ดอง ทำให้เมืองดังกล่าวถูกทิ้งระเบิดมากที่สุดรองลงมาจาก ‘รามรี’ ในรัฐยะไข่</p>
<p>ทั้งนี้ การปะทะกันในเมืองระเต่ดอง รัฐยะไข่ เมื่อ 15 ก.พ.ที่ผ่านมา ทาง AA ยังได้โจมตีฐานที่มั่น </p>
<p>ระหว่างการโจมตีอย่างหนักที่เมืองระเต่ดอง เมื่อวันที่ 15 ก.พ. ที่ผ่านมา อาระกันอาร์มี AA ยังได้โจมตีฐานที่มั่น 'Bawdhi Kone' ของเผด็จการทหารใกล้กับหมู่บ้านชื่อเดียวกันในเมืองมองดอ ราว 6.20 น. ในวันเดียวกัน ทั้งนี้ ฐานที่มั่นแห่งนี้เป็นฐานที่มั่นที่มีกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 4 ประจำอยู่</p>
<p>อาระกันอาร์ AA กล่าวว่า พวกเขากำลังเพิ่มความพยายามในการยึดฐานที่มั่น ในขณะที่เผด็จการทหารกำลังป้องกันฐานที่มั่นโดยการทิ้งระเบิดที่อาศัยยุทโธปกรณ์จากกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ</p>
<p>อาระกันอาร์มี เปิดเผยว่า กองทัพเผด็จการทหารยังคงตั้งเป้าหมายโจมตีพลเรือนรัฐยะไข่ต่อไป กองเรือจากฐานทัพเรือ Danyawaddy ในเมืองเจ้าผิวก์ ได้ยึดเรือจับปลา 3 ลำในแม่น้ำ Thanzit เมื่อวันที่ 25 ก.พ. ที่ผ่านมา มีการจับกุมชาวประมงจากหมู่บ้าน Pauk Nat Chay แล้วก็ส่งตัวไปยังฐานทัพ</p>
<p>อาระกันอาร์มีเป็นหนึ่งในกองทัพชาติพันธุ์ของพันธมิตรภราดรภาพที่เป็นผู้เริ่มปฏิบัติการ 1027 ทางตอนเหนือของรัฐฉานเมื่อวันที่ 27 ต.ค. 2566</p>
<p>ในวันที่ 13 พ.ย. 2566 อาระกันอาร์มีได้เปิดฉากปฏิบัติการโจมตีต่อเป้าหมายเผด็จการทหารทั่วภาคเหนือของรัฐยะไข่และเมืองปาเลตวาในรัฐชีนที่อยู่ใกล้เคียง</p>
<p>หลังจากที่สร้างความอับอายให้กับเผด็จการทหารทางตอนเหนือของรัฐฉาน อาระกันอาร์มีก็ทำแบบเดียวกันในรัฐยะไข่ พวกเขายึดฐานทัพและฐานที่มั่นของเผด็จการทหารมากกว่า 170 แห่ง รวมถึงยึดเมืองในยะไข่ได้ 6 เมือง คือ เป้าก์ต่อ (Pauk-taw), เจ้าก์ต่อ (Kyauk-taw), มี่น-บย่า (Minbya), มเย้าก์อู (Myauk U), ตองพโยเหล่ตเว่ (Taungpyoletwe) และ มะหย่าโปง (Myabon) และเมืองหนึ่งในรัฐชิน คือ 'ปาเลตวา'</p>
<p><strong>เรียบเรียงจาก</strong></p>
<p>Myanmar’s Military on The Defensive in Rakhine State: Brotherhood Alliance, Irrawaddy, 16-02-2024</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108181
 
1496  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าว ไอที] - รีวิว “ASUS Zenbook 14 OLED” UX3405MA เบาและฉลาด เริ่มต้น 42,990 บาท เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 16:08:55
รีวิว “ASUS Zenbook 14 OLED” UX3405MA เบาและฉลาด เริ่มต้น 42,990 บาท
         


รีวิว “ASUS Zenbook 14 OLED” UX3405MA เบาและฉลาด เริ่มต้น 42,990 บาท" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;ASUS Zenbook 14 OLED” (UX3405MA-PP735WS) อัลตร้าบุ๊กที่บางเฉ๊ยบสเปกมาแบบจัดเต็มแบบนี้ในงบเริ่มต้น 42,990 บาท
         

https://www.sanook.com/hitech/1597535/
         
1497  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - กรมคุมประพฤติ เข้าพบ "ทักษิณ" ย้ำ 5 ข้อห้ามระหว่างพักโทษ เป็นที่ปรึกษาทางการเ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 15:52:55
กรมคุมประพฤติ เข้าพบ "ทักษิณ"  ย้ำ 5 ข้อห้ามระหว่างพักโทษ เป็นที่ปรึกษาทางการเมืองได้
         


กรมคุมประพฤติ เข้าพบ &quot;ทักษิณ&quot;  ย้ำ 5 ข้อห้ามระหว่างพักโทษ เป็นที่ปรึกษาทางการเมืองได้" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;กรมคุมประพฤติ เข้าพบ "ทักษิณ" ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า ย้ำข้อห้าม 5 ข้อระหว่างพักโทษ แต่เป็นที่ปรึกษาทางการเมืองได้
         

https://www.sanook.com/news/9257094/
         
1498  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - สหรัฐฯ ตั้งข้อหาหัวหน้ายากูซา-1 คนไทย สมคบคิดค้าวัสดุนิวเคลียร์ หวังขายต่ออิหร เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 15:35:49
สหรัฐฯ ตั้งข้อหาหัวหน้ายากูซา-1 คนไทย สมคบคิดค้าวัสดุนิวเคลียร์ หวังขายต่ออิหร่าน
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 15:08</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพปก: สำนักงานใหญ่กระทรวงยุติธรรม สหรัฐอเมริกา (ที่มาวิกิพีเดีย)</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>สหรัฐฯ ตั้งข้อหาหัวหน้าแก๊งยากูซาญี่ปุ่น และ 1 คนไทย ฐานสมคบคิดลักลอบค้าวัสดุนิวเคลียร์จากพม่าผ่านไทย หวังขายให้อิหร่านไปผลิตอาวุธนิวเคลียร์</p>
<p>23 ก.พ. 2567 วานนี้ (22 ก.พ.) หลายสำนักข่าวต่างประเทศรายงานตรงกันกรณีสหรัฐฯ ตั้งข้อหา “ทาเคชิ เอบิซาวะ” หัวหน้าแก๊งยากูซาชาวญี่ปุ่น วัย 60 ปี และ “สมภพ สิงห์ศิริ” ชายสัญชาติไทยวัย 61 ปี ฐานสมรู้ร่วมคิดลักลอบค้าวัสดุนิวเคลียร์จากพม่าผ่านไทยให้อิหร่าน</p>
<p>ก่อนหน้านี้เมื่อเดือน เม.ย. ปี 2565 มติชนออนไลน์รายงานอ้างสำนักข่าวต่างประเทศระบุว่า ตำรวจสหรัฐฯ จับกุม ทาเคชิ เอบิซาวะ หัวหน้าแก๊งยากูซาชาวญี่ปุ่น พร้อมด้วยคนไทยอีก 3 คน ได้แก่ สมภักดิ์ รักษ์สราณี สัญชาติไทย, สมภพ สิงห์ศิริ สัญชาติไทย และ สุขสันต์ จุลนันท์ สัญชาติไทย-อเมริกัน ในย่านแมนฮัตตันของมหานครนิวยอร์ก ฐานลักลอบขนยาเสพติดและค้าอาวุธ</p>
<p>สำหรับผลการสอบสวนล่าสุด บีบีซีไทยรายงานว่า เอบิซาวะ ไม่ได้ลักลอบค้ายาเสพติดและอาวุธสงครามเท่านั้น แต่เขายังพยายามขายแร่ยูเรเนียม และพลูโตเนียม ที่เชื่อว่าจะไปตกถึงมืออิหร่าน เพื่อสร้างระเบิดนิวเคลียร์</p>
<p>บีบีซีไทยรายงานด้วยว่า ย้อนไปเมื่อเดือน ก.พ. ปี 2563 เอบิซาวะได้ติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานปราบปรามยาเสพติดของสหรัฐฯ (Drug Enforcement Administration หรือ DEA) ที่แฝงตัวแสร้งทำตัวเป็นพ่อค้ายาเสพติดและอาวุธสงคราม ที่มีเส้นสายถึงนายพลอิหร่าน เพื่อหวังขายวัตถุดิบนิวเคลียร์ให้</p>
<p>ต่อมาในเดือน ก.ย. 2563 เอบิซาวะ ติดต่อเจ้าหน้าที่คนเดิมด้วยอีเมล จ่าหน้าชื่อบริษัทเหมือง โดยเสนอขายแร่ยูเรเนียม และทอเรียม ซึ่งล้วนเป็นแร่นิวเคลียร์ รวม 50 ตัน ในราคา 6.85 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นเงินไทย 245,000 ล้านบาท ในอีเมลฉบับนั้น เอบิซาวะได้แนบรูป “วัตถุหินสีดำ” วางคู่กับเครื่องนับไกเกอร์ ซึ่งเป็นเครื่องมือวัดระดับกัมมันตภาพรังสี</p>
<p>นอกจากนี้ บีบีซีไทยอ้างคำพูดจากกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ที่เปิดเผยว่า ในปี 2565 เอบิซาวะ และพรรคพวกคนไทยก็ได้ “นำตัวอย่างวัตถุนิวเคลียร์ให้เจ้าหน้าที่ดู โดยนัดดูของกันที่ประเทศไทย”</p>
<p>ขณะที่ไทยพีบีเอสรายงานด้วยว่า เอบิซาวะ ยังถูกกล่าวหาว่า สมคบคิดขายวัสดุนิวเคลียร์เกรดอาวุธ และยาเสพติดร้ายแรงจากเมียนมา เพื่อนำเงินไปซื้ออาวุธในนามของกบฏติดอาวุธกลุ่มหนึ่งในเมียนมา</p>
<p>โดยทางการสหรัฐฯ ระบุว่า จะดำเนินคดีทั้งสองคนในข้อหาค้ายาเสพติดข้ามชาติ และความผิดเกี่ยวกับอาวุธปืน ซึ่งทั้งคู่เคยถูกตั้งข้อหาเมื่อปี 2565 หากถูกตัดสินว่ากระทำผิดจริง อาจต้องรับโทษสูงสุดคือจำคุกตลอดชีวิต</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">/url]</div></div></div><div class="field field-name-field-promote-end field-type-text field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even">ติดตามประชาไทอัพเดท ได้ที่เฟซบุ๊ก https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108182
 
1499  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "ปราบ" ลูกชาย "สู่ขวัญ-โชค บูลกุล" กลับจากเรียนเมืองนอก หล่อเท่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 15:27:39
"ปราบ" ลูกชาย "สู่ขวัญ-โชค บูลกุล" กลับจากเรียนเมืองนอก หล่อเท่ขึ้นเรื่อยๆ
         


&quot;ปราบ&quot; ลูกชาย &quot;สู่ขวัญ-โชค บูลกุล&quot; กลับจากเรียนเมืองนอก หล่อเท่ขึ้นเรื่อยๆ" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;ปราบ บูลกุล ลูกชายคนเดียวของ สู่ขวัญ-โชค บูลกุล หลังเหินฟ้าไปเรียนต่อนิวซีแลนด์ กลับมาอีกทีหล่อเท่กว่าเดิมจริงๆ  


         

https://www.sanook.com/news/9257170/
         
1500  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - กทม. จับมือ อิชิตัน สร้าง "สวน 50 สุข" เพิ่มพื้นที่สีเขียว เชื่อมโยงกับคนในชุมชน เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 12:51:14
กทม. จับมือ อิชิตัน สร้าง "สวน 50 สุข" เพิ่มพื้นที่สีเขียว เชื่อมโยงกับคนในชุมชน
         


กทม. จับมือ อิชิตัน สร้าง &quot;สวน 50 สุข&quot; เพิ่มพื้นที่สีเขียว เชื่อมโยงกับคนในชุมชน" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;กรุงเทพมหานคร, สำนักงานเขตคลองเตย, การทางพิเศษแห่งประเทศไทย และบมจ.อิชิตัน กรุ๊ป ร่วมมือกันปรับปรุงพื้นที่ในเขตทางพิเศษเฉลิมมหานครบริเวณซอยสุขุมวิท 50 เขตคลองเตย เป็นสวนสาธารณะ “สวน 50 สุข”
         

https://www.sanook.com/news/9257038/
         
หน้า:  1 ... 73 74 [75] 76 77 ... 1125
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.894 วินาที กับ 26 คำสั่ง

Google visited last this page 19 ตุลาคม 2566 03:22:18