[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
10 พฤษภาคม 2567 18:43:14 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: But the good days chapter 2  (อ่าน 4238 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
sometime
บุคคลทั่วไป
« เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:28:10 »



<table class="maeva" cellpadding="0" cellspacing="0" border="0" style="width: 800px" id="sae3"> <tr><td style="width: 800px; height: 576px" colspan="2" id="saeva3"><embed type="application/x-mplayer2" src="http://www.fungdham.com/download/song/allhits/18.wma" width="800px" height="576px" wmode="transparent" quality="high" allowFullScreen="true" allowScriptAccess="never" ShowControls="True" autostart="false" autoplay="false" /></td></tr> <tr><td class="aeva_t"><a href="http://www.fungdham.com/download/song/allhits/18.wma" target="_blank" class="aeva_link bbc_link new_win">http://www.fungdham.com/download/song/allhits/18.wma</a></td><td class="aeva_q" id="aqc3"></td></tr></table>


(:LOVE:)ถ่ายภาพประกอบเนื้อหาโดย.................(บางครั้ง)เองแหละ............... รัก


รัก......................เสียงแบคกราวด์ประกอบเนื้อหาโดย(บางครั้ง)เองแหละ................................. รัก


....................................อกุศล กองที่ ๕...............................



อุปาทาน การยึดมั่นถือมั่นในอารมณ์ คือ ยึดมั่นถือมั่นในรูป (รูปารมณ์) ในเสียง (สัททารมณ์) ในกลิ่น (คันธารมณ์) ในรส (รสารมณ์) ในสัมผัส (โผฏฐัพพารมณ์) ในเรื่องราวต่าง ๆ (ธัมมารมณ์) อย่างเหนียวแน่นไม่ยอมปล่อย หรือ ยึดมั่นในความเห็นผิดไม่ยอมคลาย หรือ ในการปฏิบัติผิด คิดว่าเป็นทางหลุดพ้น หรือเห็นว่า อารมณ์ต่าง ๆ ที่ตนกำลังได้รับอยู่นั้นเป็นตัวเป็นตน เป็นเขาเป็นเรา อย่างแรงกล้า ความยึดมั่นอย่างนี้ชื่อว่า อุปาทาน ความยินดีติดใจในอารมณ์ต่าง ๆ ในครั้งแรก ๆ ที่เกิดความยินดีพอใจ ความยินดีนี้ยังเป็น ตัณหา แต่เมื่อมีความยินดีพอใจ ติดใจ ยึดมั่นในอารมณ์นั้น ๆ อย่างเหนียวแน่น ความยินดีในครั้งหลัง ๆ นี้เป็น อุปาทาน ตัณหาเปรียบเหมือนต้นไม้เล็กที่เริ่มปลูกใหม่ ๆ ย่อมถอนได้ง่าย ส่วนอุปาทาน เหมือนต้นไม้ที่ปลูกไว้ใหญ่โตแล้วถอนได้ยากเพราะรากแก้วยึดมั่นเสียแล้ว อุปาทาน จึงเป็นความยึดมั่นไว้ในอารมณ์อย่างเหนียวแน่นกว่า ตัณหา อุปาทาน มี ๔ ประการ คือ ๑. กามุปาทาน ความยึดมั่นใน อารมณ์ ๖ มี รูปารมณ์ เป็นต้น ได้แก่ โลภเจตสิก ที่ในโลภมูลจิต ๘ ๒. ทิฏฐุปาทาน ความยึดมั่นใน ความเห็นผิด ที่นอกจากสีลัพพตปรามาสทิฏฐิและอัตตวาททิฏฐิ ได้แก่ ทิฏฐิเจตสิก ที่ใน ทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔ ๓. สีลัพพตุปาทาน ความยึดมั่นใน การปฏิบัติผิด มีการปฏิบัติเยี่ยงโค เยี่ยงสุนัข โดยคิดว่าเป็นการปฏิบัติที่จะนำตนให้พ้นทุกข์ได้ (ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่นอกไปจากมัชฌิมาปฏิปทา) ได้แก่ ทิฏฐิเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔ ๔. อัตตวาทุปาทาน ความยึดมั่นในขันธ์ ๕ ว่า เป็นตัวเป็นตน หรือมีตัวมีตนอยู่ในขันธ์ ๕ ได้แก่ สักกายทิฏฐิ คือ ทิฏฐิเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔ การประหาณ อุปาทาน อุปาทานจะถูกประหาณได้โดยการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน จนสำเร็จเป็นพระอริยบุคคล เมื่อมัคคจิตเกิดขึ้น จะทำการประหาณกิเลสต่างๆได้ การประหาณกิเลสในหมวดของอุปาทานนั้นมีดังนี้ถูกประหาณโดย โสดาปัตติมัคคจิต

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:17:13 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
sometime
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #1 เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:30:57 »




...........................กามุปาทาน ถูกประหาณโดย อนาคามิมัคคจิต............................



ทิฏฐุปาทาน สีลัพพตุปาทาน ถูกประหาณโดย โสดาาปัตติมัคคจิต อัตตวาทุปาทาน
อกุศล กองที่  ๖
นีวรณ์ ์์์เป็นธรรมที่เป็นเครื่องกั้นความดี์เครื่องขัดขวางในการทาความดี์์์มิให้ กุศลต่าง์ๆ์คือ์ทาน์์ศีล์์ภาวนา ์ฌาน ์์มรรค์ ์ผล์์์อภิญญา์ ์สมาบัติ์์์เกิดขึ้น์์์์์์และทาให้กุศลบางอย่าง์เช่น์ฌานที่เกิดอยู่แล้วทา ให้เสื่อมสิ้นไปได้์์์์์์์บุคคลทั่วไป์พอคิดจะทากุศลสูงขึ้นก็มักจะถูกนีวรณ ธรรมที่เรียกว่า์กิเลสมาร์เกิดขึ้นขัดขวางมิให้กุศลธรรมเจริญก้าวหน้า ์เช่น์์์์เกิดความเบื่อหน่าย์์์ง่วงซึมไม่อยากจะทาความดีต่อไป
นีวรณ ์์มี์์๖์์ประการ์์คือ ๑. กามฉันทนีวรณ์ ขัดขวางไว้เพราะความชอบใจอยากได้ในกามคุณอารมณ ์์์เมื่อชอบใจและ ต้องการในกามคุณอารมณ แล้ว์์ก็ย่อมขาดกาลังในอันที่จะทาความดี์์มีฌาน และมัคคผล์หรือ์ขาดศรัทธา์สติ์ปัญญา์ในการบาเพ็ญทาน์ศีล์ภาวนา เป็นต้น์์์์องค ธรรมได้แก่โลภเจตสิก์์ที่ในโลภมูลจิต ๘ ๒. พยาปาทนีวรณ์ ขัดขวางไว้เพราะความไม่ชอบใจในอารมณ ์์์เมื่อจิตใจมีแต่ความขุ่นเคืองไม่ชอบใจแล้ว์์์ก็ย่อมขาดปีติความอิ่มใจใน การทาความดี์คือการบาเพ็ญทาน์ศีล์ภาวนา์์เป็นต้น์์องค ธรรม ได้แก่์โทสเจตสิก์์ที่ในโทสมูลจิต์๒
๓. ถีนมิทธนีวรณ์ ขัดขวางไว้เพราะความหดหู่ท้อถอย์เป็นเหตุให้เกิดความเกียจคร้านไม่อยากที่จะ ทำความดี เมื่อจิตใจหดหู่ท้อถอยเสียแล้วก็ย่อม ขาดวิตก คือไม่มีแก่ใจที่จะนึกคิดให้ติดอยู่ในอารมณ์ที่จะกระทำความดี องค์ธรรมได้แก่ ถีนเจตสิก มิทธเจตสิก ที่ในอกุศลสสังขาริกจิต ๕
๔. อุทธัจจกุกกุจจนีวรณ์ ขัดขวางไว้เพราะคิดฟุ้งซ่าน รำคาญใจ อันเนื่องมาจากการสูญเสีย (พยสนะ ๕) คือ ๑. สูญเสียญาติ ๒. ทรัพย์สมบัติ ๓. โรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ๔. ทำบาป (ทุศีล) ๕. เห็นผิดใฝ่ใจไปในทางที่เป็นบาป เมื่อจิตใจเป็นดังนี้ก็ย่อมขาดความสุข ในอันที่จะกระทำความดี องค์ธรรม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:07:47 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
sometime
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #2 เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:31:45 »



ได้แก่ อุทธัจจเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒ และ กุกกุจจเจตสิก ในโทสมูลจิต ๒ ๕. วิจิกิจฉานีวรณ์ ขัดขวางเพราะความสงสัย ลังเลใจ เมื่อจิตใจเกิดคามลังเลสงสัยแล้ว ย่อมขาดวิจารในอันที่จะพินิจพิจารณาในการกระทำความดี องค์ธรรมได้แก่ วิจิกิจฉาเจตสิก ที่ในวิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ ๖. อวิชชานีวรณ์ ขัดขวางเพราะความไม่รู้ มีการทำให้หลงลืมขาดสติ เช่น ไม่รู้แจ้งในอารมณ์ของสติปัฏฐานที่ตนกำหนดอยู่ เป็นการกั้นต่อมรรค ผล นิพพาน มิให้เกิดขึ้น องค์ธรรมได้แก่ โมหเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒ นีวรณ์ ๑ - ๕ (เว้น อวิชชา) ได้ชื่อว่า เป็นเครื่องกั้น ฌาน ในการเจริญสมถภาวนา นีวรณ์ที่ ๖ คือ อวิชชานีวรณ์ ได้ชื่อว่า เป็นเครื่องกั้น มรรค ผล นิพพาน
การ ประหาณ นีวรณ์ วิจิกิจฉานีวรณ์
กามฉันทนีวรณ์ พยาปาทนีวรณ์ กุกกุจจนีวรณ์
ถีนมิทธนีวรณ์ อุทธัจจนีวรรณ์ อวิชชานีวรณ์
อกุศล กองที่ ๗
อนุสัย เป็นกิเลสอย่างละเอียด ซ่อนเร้นนอนเนื่องอยู่ในขันธสันดานของสัตว์ทั้งหลาย เมื่อได้เหตุอันสมควรแล้ว ก็ปรากฏขึ้นเมื่อนั้น อุปมาเสมือนตะกอนที่นอนก้นภาชนะ เมื่อมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดมากระทบกับภาชนะ ตะกอนหรือกิเลสก็จะฟุ้งขึ้นมาทันที ทำให้จิตใจเร่าร้อนเศร้าหมอง
ถูก ประหาณโดย อรหัตตมัคคจิต
ถูกประหาณโดย อนาคามิมัคคจิต
ถูกประหาณโดย โสดาปัตติมรรค.........................................................
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:08:10 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
sometime
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #3 เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:33:25 »




การประหาณ อนุสัย
ทิฏฐานุสัย วิจิกิจฉานุสัย
กาม ราคานุสัย ปฏิฆานุสัย
มานานุสัย ภวราคานุสัย อวิชชานุสัย
อกุศล กองที่ ๘
ธรรมเหล่าใดย่อมผูกสัตว์ทั้งหลายไว้ ธรรมเหล่านั้น ชื่อว่า สังโยชน์ เป็นการผูกเหล่าสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในวัฏฏทุกข์ เหมือนเชือก ๑๐ เส้น ที่ล่ามสัตว์ไว้กับหลักไม่ให้หลุดออกไปได้ กามคุณทั้ง ๕ นี้แหละเป็นเรือนที่สัตว์ถูกผูกไว้ ไม่ให้หนีออกไปได้ สังโยชน์ธรรม ๑๐ ประการ มีโดยสองนัย คือ
๑.กามราคสังโยชน์ ๑. กามราคสังโยชน์ ได้แก่ โลภเจตสิก ที่ใน โลภมูลจิต ๘ ได้แก่ โลภเจตสิก ที่ใน โลภมูลจิต ๘ ๒. ภวราคสังโยชน์
๒. รูปราคสังโยชน์ ได้แก่ โลภเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ได้แก่ โลภเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔
ถูกประหาณโดย อรหัตตมัคคจิต
ถูกประหาณโดย อนาคามิมัคคจิต
ถูกประหาณโดย โสดาปัตติมัคคจิต
๓. ปฏิฆสังโยชน์ ๓. อรูปราคสังโยชน์ ได้แก่ โทสเจตสิก ที่ในโทสมูลจิต ๒ ได้แก่ โลภเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ๔. มานสังโยชน์ ๔. ปฏิฆสังโยชน์ ได้แก่ มานเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ได้แก่ โทสเจตสิก ที่ในโทสมูลจิต ๒ ๕. ทิฏฐิสังโยชน์ ๕. มานสังโยชน์ ได้แก่ ทิฏฐิเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔ ได้แก่ มานเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ๖. สีลัพพตปรามาสสังโยชน์ ๖. ทิฏฐิสังโยชน์ ได้แก่ ทิฏฐิเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔ ได้แก่ ทิฏฐิเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔ ๗. วิจิกิจฉาสังโยชน์ ๗. สีลัพพตปรามาสสังโยชน์ ได้แก่ วิจิกิจฉาเจตสิกที่ในวิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต ๑ ได้แก่ โลภเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔ ๘. อิสสาสังโยชน์ ๘. วิจิกิจฉาสังโยชน์ อิสสาเจตสิก ที่ในโทสมูลจิต ๒ ได้แก่ วิจิกิจฉาเจตสิก ที่ในวิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต ๑ ๙. มัจฉริยสังโยชน์ ๙. อุทธัจจสังโยชน์ ได้แก่ มัจฉริยเจตสิกที่ในโทสมูลจิต ๒ ได้แก่ อุทธัจจเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒ ๑๐. อวิชชาสังโยชน์ ๑๐. อวิชชาสังโยชน์ ได้แก่ โมหเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒ ได้แก่ โมหเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:08:40 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
sometime
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #4 เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:35:45 »



การประหาณสังโยชน์
ทิฏฐิสังโยชน์
วิจิกิจฉา สังโยชน์ สีลัพพตปรามาสสังโยชน์
กามราคะและปฏิฆะอย่างหยาบ
กามราคะและ ปฏิฆะอย่างละเอียด
รูปราคสังโยชน์
อรูปราคสังโยชน์ มานสังโยชน์ อุทธัจจสังโยชน์ อวิชชาสังโยชน์
โอรัมภาคียสังโยชน์
คือ......................................................................
สังโยชน์ เบื้องต่้า ๕
ถูกประหาณโดย โสดาปัตติมัคคจิต
ถูกประหาณโดย สกทาคามิมัคคจิต
ถูกประหาณโดย อนาคามิมัคคจิต
อุทธัมภาคียสังโยชน์
คือ
สังโยชน์ เบื้องสูง ๕
ทั้ง ๕ ประการนี้ ถูกประหาณโดย อรหัตตมัคคจิต



.........................................อกุศล กองที่ ๙......................................


กิเลส เป็นสิ่งที่ชั่วร้ายเกิดขึ้นเมื่อใดก็จะทำให้ผู้นั้นรู้สึกเดือดร้อนรำคาญใจ กิเลสเป็นเจตสิก ชนิดหนึ่ง เมื่อประกอบกับจิต จะทำให้จิตนั้นเศร้าหมองเร่าร้อน โดยปกติชีวิตประจำวันของบุคคลตั้งแต่เช้าตื่นขึ้น จนเข้านอนหลับไป กิเลสทั้งหลายก็เข้าครอบงำจิตใจได้เกือบตลอดเวลาอยู่แล้วทั้งเวลาหลับและ เวลาตื่น และถ้ากิเลสเกิดขึ้นในเวลาขณะใกล้ตายก็เป็นเครื่องบอกได้ว่าผู้นั้นจะไปเกิด ในอบายภูมิ ๔ ถ้าบุคคลทั้งหลายระมัดระวังมิให้กิเลสเข้าครอบงำจิตใจได้ จิตใจก็จะสบาย ปลอดโปร่ง หน้าตาผ่องใส เป็นที่สบายตาสบายใจแก่ผู้พบเห็น เมื่อตายลงก็จะไปสู่สุคติภพ กิเลส มี ๑๐ อย่าง คือ
เป็นความเศร้าหมอง เร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา โลภะ คือ ความยินดี ติดใจ ใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ แล้วทำบาปอกุศลลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดเป็น เปรต อสุรกาย ได้แก่ โลภเจตสิก ที่ในโลภมูลจิต ๘
เป็น ความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา โทสะ คือความโกรธความไม่พอใจในอารมณ์ต่าง ๆ ที่ประสบ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดเป็น สัตว์นรก ได้แก่ โทสเจตสิก ที่ในโทสมูลจิต ๒
เป็นความเศร้าหมองเร่าร้อน ที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา โมหะ คือ ความโง่ ความ หลง ความมัวเมาใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ แล้วทำบาปอกุศล กรรม ลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดเป็น สัตว์เดรัจฉาน ได้แก่ โมหเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒
เป็น ความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา มานะ คือ ความเย่อหยิ่ง ถือตนว่าดีกว่าเขา ต่ำกว่า หรือ เสมอเขาแล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตาย...........................................................
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:09:04 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
sometime
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #5 เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:36:56 »



นำไปเกิดในทุคติภูมิ ได้แก่ มานเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔
เป็นความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายใน จิตใจของคนเรา ทิฏฐิ คือ ความเห็นผิดจาก เหตุผลตามความเป็นจริง แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดในทุคติ ภูมิ ได้แก่ ทิฏฐิเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔
เป็นความเศร้าหมองเร่าร้อนที่ เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา เพราะความลังเลสงสัยใน สิ่งที่ควรเชื่อ มีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นต้น แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป
เมื่อตายลงจะ นำไปเกิดในทุคติภูมิ ได้แก่ วิจิกิจฉาเจตสิก ที่ในวิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต ๑ เป็นความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา ถีนะ คือ ความหดหู่ท้อ
ถอยจากอารมณ์ ทำให้ไม่มีความเพียรพยายามในการทำความดี แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดในทุคติภูมิ ได้แก่ ถีนเจตสิก ที่ในอกุศลสสังขาริกจิต ๕ เป็นความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา อุทธัจจะ คือ ความฟุ้งซ่าน ซัดส่ายไปในอารมณ์ต่าง ๆ แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดใน ทุคติภูมิ ได้แก่ อุทธัจจเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒
คือ ความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา เพราะความไม่ละอายต่อ ตนเองในการที่จะทำบาป แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดใน ทุคติภูมิ ได้แก่ อหิรีกเจตสิก ที่ให้อกุศลจิต ๑๒
เป็นความเศร้าหมองเร่า ร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา อโนตตัปปะ คือความไม่เกรงกลัวต่อบาปและผลของบาป ไม่เกรงกลัวต่ออาญาแผ่นดินแล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดในทุคติภูมิ ได้แก่ อโนตตัปปเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:09:28 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
sometime
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #6 เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:38:58 »



โลภะ
มานะ
โมหะ
ทิฏฐิ
อุทธัจจะ
วิจิกิจฉา
อหิ ริกะ
ลภกิเลส
โทสกิเลส
โมหกิเลส
มานกิเลส
โทสะ
ถีนะ
อโนตตัปป
นำไปเกิดในทุคติภูมิ ได้แก่ มานเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔
เป็นความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายใน จิตใจของคนเรา ทิฏฐิ คือ ความเห็นผิดจาก เหตุผลตามความเป็นจริง แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดในทุคติ ภูมิ ได้แก่ ทิฏฐิเจตสิก ที่ในทิฏฐิคตสัมปยุตตจิต ๔
เป็นความเศร้าหมองเร่าร้อนที่ เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา เพราะความลังเลสงสัยใน สิ่งที่ควรเชื่อ มีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นต้น แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป
เมื่อตายลงจะ นำไปเกิดในทุคติภูมิ ได้แก่ วิจิกิจฉาเจตสิก ที่ในวิจิกิจฉาสัมปยุตตจิต ๑ เป็นความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา ถีนะ คือ ความหดหู่ท้อ
ถอยจากอารมณ์ ทำให้ไม่มีความเพียรพยายามในการทำความดี แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดในทุคติภูมิ ได้แก่ ถีนเจตสิก ที่ในอกุศลสสังขาริกจิต ๕ เป็นความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา อุทธัจจะ คือ ความฟุ้งซ่าน ซัดส่ายไปในอารมณ์ต่าง ๆ แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดใน ทุคติภูมิ ได้แก่ อุทธัจจเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒
คือ ความเศร้าหมองเร่าร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา เพราะความไม่ละอายต่อ ตนเองในการที่จะทำบาป แล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดใน ทุคติภูมิ ได้แก่ อหิรีกเจตสิก ที่ให้อกุศลจิต ๑๒
เป็นความเศร้าหมองเร่า ร้อนที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคนเรา อโนตตัปปะ คือความไม่เกรงกลัวต่อบาปและผลของบาป ไม่เกรงกลัวต่ออาญาแผ่นดินแล้วทำบาปอกุศลกรรมลงไป เมื่อตายลงจะนำไปเกิดในทุคติภูมิ ได้แก่ อโนตตัปปเจตสิก ที่ในอกุศลจิต ๑๒
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:10:08 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
sometime
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #7 เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:41:07 »



กิเลส ทั้ง ๑๐ ประการเราได้ศึกษาไปแล้ว แต่เราคงได้ยินเรื่องกิเลส ๑,๕๐๐ ตัณหา ๑๐๘ กันมาบ้าง ต่อไปจะศึกษาเรื่องนี้ ดังนี้ ท้าไม ? กิเลส มีถึง ๑,๕๐๐ ที่เรียกว่า กิเลส ๑,๕๐๐ เพราะมีวิธีคิดได้ดังนี้ สิ่งที่ทำให้เกิดกิเลส หรือ อารมณ์ของกิเลส ที่เกิดจากภายใน คือ ตัวเรา มี ๗๕ และ กิเลสที่เกิดจากภายนอก คือ คนอื่น มี ๗๕ รวมเป็น ๑๕๐
ตัวเรา ก็คือ รูป - นาม (รูป ๒๒ – นาม ๕๓) = ๗๕
คนอื่น ก็คือ รูป - นาม (รูป ๒๒ - นาม ๕๓) = ๗๕
กิเลส ภายในคือ ตัวเรา มี ๗๕ เป็นอารมณ์ให้ คนอื่น เกิดกิเลสได้ เช่น มีคนมารัก เรา หรือ เกลียด เรา กิเลสภายนอก คือ
คนอื่น มี ๗๕ เป็นอารมณ์ให้เรา เกิดกิเลสได้ เช่น ทำให้เรารัก หรือทำให้เรา เกลียด กิเลส มี ๑๐ (คือ โลภะ… อโนตตัปปะ)
อารมณ์ของกิเลสมี ๑๕๐ (๑๕๐ x ๑๐ = กิเลส ๑,๕๐๐)
อาการของ กิเลส
กิเลสทั้งหลายไม่ว่าจะนับว่ามี์๑๐์์หรือ์มี์๑,๕๐๐์์ก็ตาม์์์เมื่อ พิจารณาถึงอาการของกิเลสแล้ว์์์กิเลสทั้งหลายก็มีอาการ์๓์ประการ์์์์คือ์(กิ เลส์๓์ระดับดังที่ได้แสดงไปแล้วในหมวดอนุสัยกิเลส)
เรียกว่า์์อนุสัย กิเลส์์์์เป็นกิเลสที่นอนเนื่องสงบนิ่งอยู่ในขันธสันดาน์ยังไม่ ลุกขึ้นมาแผลงฤทธิ์์ ซึ่งตัวเองก็ไม่สามารถรู้ได้์์และคนอื่นก็ไม่สามารถรู้ได้
กิเลสที่นอนสงบนิ่ง
กิเลสที่กลุ้มรุมอยู่ภายใน
เรียกว่า์์ปริยุฏฐานกิเลส ์เป็นกิเลสที่คุกรุ่นอยู่ในใจ์์เกิดขึ้นแผลงฤทธิ์์ อยู่เพียงในใจ์ทาให้หงุดหงิดใจ์ ยังไม่แสดงออกทางกาย์ทางวาจา์ ซึ่งตัวเองรู้์์์ส่วนคนอื่นบางทีรู้์ บางทีก็ไม่รู้์์
์เรียกว่า์์วีติกก มกิเลส เป็นกิเลสที่แผลงฤทธิ์ออกมาอย่างโจ่งแจ้ง์์ล่วง์์์์์์์ ออกมาทางกาย์์์ทางวาจา์ ตัวเองรู้ชัด์์คนอื่นก็รู้ชัดอย่างโจ่งแจ้ง์์์์ ์เช่น์์ ์ความอยากได้ ์การด่า ์การทาร้ายร่างกาย...............................................
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:10:41 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
sometime
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #8 เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:43:52 »



......................................อุปกิเลส ๑๖..................................


ความเศร้าหมองอีกนัยหนึ่ง ชื่อว่า อุปกิเลส มีจำนวน ๑๖ ประการ คือ
๑. อภิชฌาวิสมโลภะ เพ่งเล็งอยากได้ของเขา องค์ธรรมได้แก่ โลภเจตสิก
๒. โทสะ ความร้ายกาจ การทำลาย โทสเจตสิก
๓. โกธะ ความโกรธ
๔. อุปนาหะ การผูกโกรธไว้
๕. มักขะ การลบหลู่คุณท่าน ทิฏฐิเจตสิก
๖. ปลาสะ การตีเสมอ ยกตนเทียมท่าน มานเจตสิก
๗. อิสสา การริษยา อิสสาเจตสิก
๘. มัจฉริยะ ความตระหนี่ มัจฉริยเจตสิก
๙. มายา มารยา เจ้าเล่ห์ โลภเจตสิก
๑๐. สาเถยยะ โอ้อวด มานเจตสิก
๑๑. ถัมภะ หัวดื้อ  มานเจตสิก
๑๒. สารัมภะ แข่งดี
๑๓. มานะ ถือตัว
๑๔. อติมานะ ดูหมิ่นท่าน
๑๕. มทะ มัวเมา มหเจตสิก
๑๖. ปมาทะ เลินเล่อ โมหะเจสิก
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:11:07 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
sometime
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #9 เมื่อ: 20 มีนาคม 2553 11:46:10 »



ตัณหา คือ ความปรารถนา ความอยากได้ ความต้องการ เป็นตัว สมุทัย เป็นต้นเหตุให้เกิดทุกข์โทษต่าง ๆ ติดตามมามากมาย ตราบเมื่อคนเรายังมีตัณหาอยู่ ก็จะต้องเวียนว่ายในสังสารทุกข์ต่อไปอีกช้านาน ตัณหา ๑๐๘ เขาคิดกันอย่างไร ? ชนิดของตัณหา มี ๓ (คือกามตัณหา ภวตัณหา วิภวตัณหา )
อารมณ์ของตัณหา มี ๖ (คือ รูปรมณ์ สัททารมณ์ คันทารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ ธัมมารมณ์) การเกิดของตัณหามี ๒ ทาง
- ตัณหาที่เกิดภายในมี ๑๘ - ตัณหาที่เกิดภายนอกมี ๑๘
ตัณหา ๓๖ เกิดได้ทั้ง ๓ กาล (คือ อดีต ปัจจุบัน อนาคต)
การศึกษาเรื่องของอกุศลทั้ง ๙ กอง คือ อาสวะ โอฆะ โยคะ คันถะ อุปาทาน นีวรณ์ อนุสัย สังโยชน์ และ กิเลส ซึ่งอกุศลทั้งหลายที่มีอยู่ในตนนั้น มีทั้งที่เป็นแบบที่เกิดขึ้นและเรารู้ได้ และมีทั้งอย่างที่ติดแน่นเป็นยางเหนียวขัดออกได้ยากล้างออกได้ยาก กิเลสทั้งหลายจะถูกประหาณได้เด็ดขาดราบคาบก็ต้องเจริญวิปัสสนาจนมัคคจิตเกิด ขึ้น แต่ในขณะปัจจุบันที่เราสาธุชนทั้งหลายยังเป็นปุถุชนที่หนาแน่นด้วยกิเลส ถึงแม้นว่าจะชำระขัดล้างกิเลสทั้งหลายได้ไม่เด็ดขาดก็จริงอยู่ แต่ถ้าได้ศึกษาได้รู้จัก และหมั่นพิจารณา หมั่นสังเกตกิเลสที่เกิดขึ้นแก่ตนเองบ่อย ๆ แล้วพยายามทำให้กิเลสทั้งหลายลดลงเบาบางลง ก็จะเป็นอุปนิสัยที่ดีในปัจจุบัน และเป็นการเพาะบ่มสั่งสมอุปนิสัยเพื่อการบรรลุมรรคผลในกาลข้างหน้า
ฉะนั้น (๓ x ๖) = ๑๘
ฉะนั้น (๑๘ x ๒) = ๓๖
ฉะนั้น (๓๖ x ๓) = ๑๐๘



................................THE END OF CHAPTER 2................................


http://sunset-kim.blogspot.com/2010/03/blog-post.html

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2553 12:23:10 โดย บางครั้ง » บันทึกการเข้า
คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน


หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
หัวข้อ เริ่มโดย ตอบ อ่าน กระทู้ล่าสุด
But the good days Chapter 1
ธรรมะทั่วไป ธารธรรม - ธรรมทาน
sometime 5 2836 กระทู้ล่าสุด 19 มีนาคม 2553 21:32:13
โดย sometime
ข้อคิดดี ๆ.. For Good Love and Good Life
ไขปัญหาโลก ธรรม และความรัก
เงาฝัน 0 1967 กระทู้ล่าสุด 19 พฤษภาคม 2554 15:26:30
โดย เงาฝัน
ตัวอย่างแรก Ex Machina หนังไซไฟจากมือเขียนบท 28 Days Later
หนังกลางแปลง (ดูหนัง รีวิวหนัง)
มดเอ๊ก 0 2431 กระทู้ล่าสุด 04 พฤศจิกายน 2557 20:42:48
โดย มดเอ๊ก
[ไทยรัฐ] - โออาร์ ชูความสำเร็จของการจัดงาน Inclusive Growth Days empowered by OR ย้ำพลังแห่งการส่งต่อโอกาส
สุขใจ ร้านน้ำชา
สุขใจ ข่าวสด 0 216 กระทู้ล่าสุด 08 กันยายน 2565 22:20:09
โดย สุขใจ ข่าวสด
ยุคสุดท้าย End of Days : 4 บุรุษอาชาไนยแห่งวันสิ้นโลก : คนเคาะข่าว
ไขตำนาน - ประวัติศาสตร์ - การค้นพบ อารยธรรม
มดเอ๊ก 0 61 กระทู้ล่าสุด 03 กุมภาพันธ์ 2567 16:45:39
โดย มดเอ๊ก
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.383 วินาที กับ 31 คำสั่ง

Google visited last this page 18 กุมภาพันธ์ 2567 02:04:19