[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้

สุขใจในธรรม => ธรรมะทั่วไป ธารธรรม - ธรรมทาน => ข้อความที่เริ่มโดย: sometime ที่ 26 ธันวาคม 2552 12:57:49



หัวข้อ: ไม่ควรยึดมั่น - ถือมั่น
เริ่มหัวข้อโดย: sometime ที่ 26 ธันวาคม 2552 12:57:49
(http://i191.photobucket.com/albums/z119/bee_99/5.jpg)


(:88:)เมื่อมีการระลึกและรู้ชัด ในลักษณะของสภาพธรรมเพิ่มขึ้น (:88:)


 

(:BYE:)ความเห็นผิดว่า (:SY:)เป็นตัวตน..............................ก็จะน้อยลง


เป็นปัจจัยให้คิดถึงตัวเองน้อยลง................................ว่าเราเป็น คนดี หรือ คนเลว

สภาพธรรมที่เป็น (:KM:)อกุศล (:KM:)แกุศล (:QS:)เกิดขึ้นเพราะ (:PL:)เหตุปัจจัย
 (:NT:)เมื่อคลายความยึดมั่น(:NOY:)ว่าเป็นตัวตนที่เห็น (:UU:)ที่ได้ยิน (o0!)ที่เป็น (o0!)คนดี (:RK:)หรือ (:DA:)คนเลว (:SR:)แล้ว
ก็ย่อมเป็นประโยชน์. (:BYE:)เมื่อปัญญาเจริญขึ้น
ก็จะเห็นคุณค่าของการรู้สภาพธรรมทั้งหลายตามความเป็นจริง (:88:)มากขึ้น.
 (:LOVE:)ความเชื่อมั่นในพระธรรมเป็นปัจจัยที่ส่งสริมให้มีการอบรมเจริญปัญญาต่อไป มากขึ้น ๆ
และเมื่อปัญญาเจริญขึ้น (an!)ตามเหตุปัจจัยก็จะเชื่อในพรหมลิขิตน้อยลง
เมื่อคุณเข้าใจจริง ๆ ว่าความอยาก (:FR:)ขัดขวางการเจริญของปัญญา (:FR:)
ก็จะเป็น ;Dปัจจัยให้เลิกอยากที่จะได้ผล (:-_-:)
ปัญญาที่เข้าใจพระธรรม (:BH:)จากการฟังการอ่าน (^^)การพิจารณา
และการสนทนาธรรมเป็นปัจจัยปรุงแต่ง (an!)ให้เกิด (:CHILL:)ปัญญาที่รู้ลักษณะของ (:PL:)สภาพธรรมในขณะนี้
และขณะต่อ ๆ ไปเมื่อไม่ลืมว่า (:SLE:)สติและปัญญาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ (:SLE:)
เพราะมี (an!)ปัจจัยปรุงแต่งไม่ลืม ว่า ไม่มีตัวตน (:BYE:)ที่จะทำให้ (:RL:)สติและปัญญา (:88:)เกิดขึ้นมาได้
ก็จะมีความอดทนมากขึ้น (:UU:)และ มีกำลังใจในการที่จะเริ่มต้นใหม่ต่อไปเรื่อย ๆ (:Y:)
เพื่อ (:SHOCK:)รู้ความจริงของสภาพธรรมในขณะนี้ให้ถูกต้อง ตรงตามความเป็นจริงมากขึ้น

(:LOVE:)มิลินทปัญหา

เป็นคัมภีร์ชั้นหลังจากพระไตรปิฎก ประมาณปีพุทธศักราช 500
รจนาขึ้น (:SLE:)เพื่อชี้แจงข้อธรรมและ (:SLE:)หลักธรรมต่าง ๆ ให้ชัดเจน แจ่มแจ้ง (:BYE:)

โดยอาศัยเรื่องราวในอดีตที่พระนาคเสน แก้ปัญหาของพระเจ้ามิลินท์

เป็นเรื่องของธรรมะ


ที่อธิบายข้อธรรมและหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ;D
แม้จะแต่งขึ้นหลังพุทธกาลแต่ก็เป็นที่ยอมรับและยกย่องกันทั่วไป
ว่ามิลินทปัญหาอธิบายพระธรรมวินัยได้อย่างลึกซึ้ง และ กระจ่างชัด
เป็นการวินิจฉัย (:SLE:)และ (:CHILL:)นำเสนอพระธรรมวินัย
เพื่อให้เกิดความเข้าใจสภาพธรรม
(:BR:)โดยการอุปมาผู้เรียบเรียงได้อ้างอิงมาจากหนังสือต่าง ๆ อาทิ...............เช่น.........................

มิลินทปัญหา
ฉบับแปลของมหามกุฏราชวิทยาลัย................พ.......................ศ.................................. (:SL:)2518


หนังสือมิลินทปัญหาฉบับแปลจากภาษามคธ


;Dจัดอยู่ในหมวดขุททกนิกาย พระไตรปิฎกฉบับของพม่า (:fall:) พ..............................ศ............................2538 ฯลฯ
 (an!)นอกจากนี้ พระพุทธโฆษาจารย์ (:88:)ผู้ทำสังคายนาพระธรรมวินัยในลังกา ราวปีพุทธศักราช 1000
และเป็นผู้รจนาอรรถกถา (:RL:)ตลอดจนคัมภีร์มากมายซึ่งใช้เป็นแนวทางในการอธิบายความ :'(ในพระไตรปิฎก
เช่น (:LOVE:)คัมภีร์วิสุทธิมรรค (:LOVE:)ก็ได้ด้อ้างถึง (:fall:)มิลินทปัญหา (:fall:)
เป็นหลักในการวินิจฉัยความในอรรถกถาของท่าน หลายแห่ง.


มิลินทปัญหา


เป็นเรื่องราวของการสนทนาระหว่างพระเจ้ามิลินท์ และพระนาคเสนโดยพระเจ้ามิลินท์เป็นผู้เสนอคำถามและพระนาคเสนเป็นผู้ตอบ
ซึ่งส่วนใหญ่.................................อยู่ในลักษณะ....................การอุปมา.......................

พระเจ้ามิลินท์หรือพระเจ้าเมนันเดอร์Menander

เป็นกษัตริย์เชื้อสายกรีกแห่งเมือง (:SY:)สาละSangal or Sangalปกครองแคว้นแบกเตรีย Bactria (:SHOCK:)

ซึ่งปัจจุบันอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอัฟกานิสถาน

ราชวงค์ของพระเจ้ามิลินท์สืบเชื้อสายมาจากแม่ทัพกรีกที่พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ (:LOVE:)ให้ดูแลดินแดนซึ่งตกเป็นของพระองค์
เมื่อครั้งที่พระองค์ยกทัพมาทำสงครามกับแว่นแคว้นบางส่วนของอินเดียในราว 200ปี หลังพุทธกาล

เล่ากันว่าพระเจ้ามิลินท์เป็นผู้ที่พอพระทัยในการใฝ่หาความรู้และสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (:88:)

รวมทั้งไล่เลียงโต้เถียงปัญหากับนักปราชญ์ของลัทธิต่าง ๆ ทั่วไป ในยุคนั้น
ฝ่ายพระนาคเสนมีการเล่าว่าท่านเกิดในตระกูลพราหมณ์  (:88:)ณ กชังคลคาม ริมเขาหิมพานต์
ตั้งแต่เยาว์วัยท่านได้เล่าเรียนศิลปวิทยารววมทั้งคัมภีร์สำคัญ ๆ ของศาสนาพราหมณ์จนจบ
ต่อจากนั้นจึงบังเกิดความเบื่อหน่าย
อยู่มาวันหนึ่ง พระโรหณะเถระ พระภิกษุในพระพุทธศาสนาได้เดินทางผ่านมายังบ้านของพราหมณ์ผู้เป็นบิดาของ
นาคเสนกุมาร ;Dเมื่อได้เห็นพระภิกษุ (:fall:)นุ่งห่มแปลกตาจึงได้ซักถาม สนทนากับท่านพระโรหณะเถระในเรื่องต่าง ๆ
จนบังเกิดความเลื่อมใส และขอบวชเป็นสามเณรในพระพุทธศาสนาท่านได้เล่าเรียนพระไตรปิฎกจนแตกฉาน (:88:)
ครั้นอายุครบ 20 ปี (:SLE:)ก็ได้บวชเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนาผู้ซึ่งชาวบ้านโจษขานกันทั่วไปว่าเป็นผู้รอบรู้ในพระธรรมวินัย
และมีปัญญาอันเฉียบคมในระหว่างนั้น

พระเจ้ามิลินท์ได้เที่ยวไปท้าถามปัญหากับบรรดานักปราชญ์ต่าง ๆ

ครั้งหนึ่งได้เสด็จไปทรงซักถามปัญหากับท่านพระอายุปาลเถระซึ่งเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา
 (:BR:)เมื่อพระอายุปาลเถระถวายวิสัชชนาให้ทรงสิ้นสงสัยไม่ได้บรรดาอำมาตย์จึงกล่าวถึงพระนาคเสน
ซึ่งกล่าวขานกันว่าเป็นผู้แตกฉานในพระธรรมวินัยเมื่อได้ยินชื่อ (o0!)พระนาคเสนพระเจ้ามิลินท์ (o0!)ก็ให้นึกหวั่นพระราชหฤทัย
ด้วยในอดีตชาติเมื่อครั้งพระกัสสปสัมมสัมพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์ชีพครั้งนั้นพระเจ้ามิลินท์ในชาตินี้บวชเป็นสามเณรในพระพุทธศาสนา
ในสำนักของพระภิกษุ (:88:)ผู้ซึ่งเกิดมาเป็นพระนาคเสนในชาตินี้
วันหนึ่งพระภิกษุรูปนั้นเรียกให้สามเณร (:PL:)มาขนหยากใย่ที่ตนกวาดรวมไว้แต่สามเณรแกล้งทำไม่ได้ยิน (:VA:)พระภิกษุจึงหยิบไม้กวาดตีสามเณร
สามเณรจึงตั้งจิตอธิษฐานว่าด้วยบุญของการขนหยากใย่นี้ชาติต่อไป (:HIT:)ขอให้ตนมีปัญญาเฉียบแหลมกว่าคนทั้งปวง
ฝ่ายพระภิกษุล่วงรู้ความปรารถนาของสามเณรจึงตั้งอฐิษฐานว่าด้วยบุญกุศลของการกวาดหยากใย่นี้

ขอให้ชาติต่อไปมีปฏิภาณว่องไว

สามารถโต้ตอบปัญหาของสามเณรได้แม้ความสืบเนื่องจากอดีตชาติจะทำให้พระเจ้ามิลินท์หวั่นพระราชราชหฤทัย
แต่ด้วยประสงค์จะไต่ถามข้อธรรมจึงเสด็จไปยังที่อยู่ของพระนาคเสนพร้อมด้วยปวงอำมาตย์และฝูงชน

สังสารวัฏฏ์ ก็มีอาการหมุนเวียนเช่นนั้น

คือ นับตั้งแต่เกิดมา.....................เป็นนามและรูปก็มีการบ่มเพาะ- สั่งสม - ความดี - และ - ความชั่วหรือบุญ - และ - บาป
ซึ่งเป็นตัวเหตุแล้วก็ต้องรับผลของบุญและบาปนั้นซึ่งการให้ผลของบุญและ บาป...........จะช้า-  หรือ - เร็ว
ก็ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ที่ทำให้บุญ และ บาป นั้นให้ผลทั้งนี้.....ผลที่เราได้รับจากบุญ และ บาป นั้น (:SL:)
อาจจูงใจให้เกิดการบ่มเพาะสั่งสมเหตุ ซึ่งจะทำให้เกิดผล ต่อ ๆ ไปอีกเปรียบเหมือนคนที่รับประทานผลมะม่วง
แล้วนำเมล็ดมะม่วงไปเพาะให้เป็นต้นมะม่วง
หมุนเวียนต่อไป.....................ไม่รู้จบ...............เหตุ ที่ทำให้ นาม - รูป เกิดต่อไปอีกนาน...................
ก็คือความไม่รู้แจ้งเห็นจริงในอริยสัจจ์ 4

กล่าวคือ.................................

(:-_-:)ไม่รู้ว่าอะไร เป็นทุกข์ ไม่รู้ว่าอะไร เป็นเหตุให้เกิดทุกข์  (:-_-:)ไม่รู้ ว่าอะไร เป็นความดับทุกข์ (:-_-:)
ไม่รู้ว่าอะไรเป็นทางให้ถึงความดับทุกข์แม้จะรู้ถึงสิ่งเหล่านี้...........โดยการพิจารณาก็รู้เพียงชั่วขณะหนึ่ง ๆ  ยังไม่เรียกว่ารู้จริง
เพราะความรู้นั้นมิได้ประจำจิตอยู่ตลอดเวลาเมื่อยังไม่รู้แจ้งในอริยสัจจ์ 4 คนทั้งหลายจึงกระทำบุญ และ บาป
อันเป็นเหตุ นำมาซึ่งการเกิด คือ ปฏิสนธิวิญญาณจิต (:LOVE:)เปรียบเหมือนรากแก้วของต้นไม้
ซึ่งเป็นเหตุทำให้เกิด นาม - รูป..............................ซึ่งแตกกิ่งก้าน


เห็น ตา หู ลิ้น จมูก กาย - ใจ ตา หู ลิ้น จมูก กาย - ใจ เห็น ตา หู ลิ้น จมูก กาย - ใจ เห็น ตา หู ลิ้น จมูก กาย - ใจ เห็น ตา หู ลิ้น จมูก กาย - ใจ เห็น ตา หู ลิ้น จมูก กาย - ใจ เห็น ตา หู ลิ้น จมูก กาย - ใจ เห็น ตา หู ลิ้น จมูก กาย - ใจ

 



ทำหน้าที่เป็นประตูเปิดรับอารมณ์ทั้ง 6 นอกจากนี้...............เมื่อยังไม่รู้แจ้ง...................ในอริยสัจจ์ 4
ก็เป็นเหตุให้เกิดการยึดถือสิ่งต่าง ๆ ว่า เป็นตัวเป็นตนเป็นเราเป็นเขาเมื่อประสบกับสิ่งที่ชอบใจ.............รู้สึกยินดี (:SL:)ก็เกิดความติดใจ
เมื่อประสบกับสิ่งที่แสลงใจ..........................รู้สึกทุกข์ใจก็เกิดความปรารถนาที่จะหลีกหนีให้พ้นไป...........................

ซึ่งสภาพธรรมเหล่านี้เป็นเหตุให้เกิดการดิ้นรน แสวงหารวมทั้งยึดถือในอุบายที่จะช่วยให้ตนสมประสงค์
ในการได้มา และ การหลีกหนีไปซึ่งก่อให้เกิด ซึ่งสภาพธรรมเหล่านี้หนุนเนื่องให้เกิด นาม - รูป ต่อไปอีก.

ขอถวายพระพรตราบเท่าที่ยังไม่รู้แจ้ง ในอริยสัจจ์ 4...........ตราบนั้น นาม - รูปก็ยังคงปรากฏมีอยู่เช่นนี้
โดยการเกิดดับ - สืบต่อของนาม - รูปที่ล่วง ๆ มาแล้วนั่นเอง

นาน..........................จนเบื้องต้น ไม่ปรากฏ..............!

ธรรมะ คือทุกอย่างที่มีอยู่จริงจิตเห็นเป็นสิ่งที่มีจริงเป็นธรรมะอย่างหนึ่ง

สิ่งที่ปรากฏทางตาเป็นธรรมะหรือเปล่า ? จิตเห็นเกิดขึ้นเห็นเพียงสิ่งที่ปรากฏทางตา
เพราะฉะนั้นสิ่งที่ปรากฏทางตามีจริงเป็นธรรมะอีกอย่างหนึ่งได้ยินก็เป็นธรรมะอีก
อย่างหนึ่งเสียงมีจริงเป็นธรรมะเสียงไม่ใช่ได้ยินความโกรธความอิจฉาก็เป็น
ธรรมะเป็นสิ่งที่มีจริงธรรมะแต่ละอย่างมีลักษณะของตนของตน  ธรรมะเปลี่ยนแปลง
ลักษณะไม่ได้เลยจิตเห็นก็ไม่ใช่จิตที่คิด   เสียงก็ไม่ใช่ได้ยิน   เมื่อมีความเข้าใจใน
ความจริงของธรรมะแต่ละอย่างที่เกิดขึ้น มั่นคงในความจริงของสภาพธรรมแต่ละอย่าง
ว่าเป็นธรรม  เกิดขึ้นตามเหตุปัจจัย  ไม่ใช่เรา    อบรมเจริญปัญญาจนกว่าจะรู้ความจริง
ว่าสัตว์บุคคลตัวตนนั้นไม่มี  มีแต่สภาพธรรมแต่ละอย่างที่เกิดขึ้นและดับไป
ทุกอย่างที่มีจริงเป็นธรรมะทั้งหมด    กำลังเผชิญหน้ากับสภาพธรรมที่กำลังปรากฏ
อยู่ขณะนี้ก็ยังไม่รู้ก็เพราะธรรมะเป็นสิ่งที่รู้ได้ยากเพราะความไม่รู้ในสภาพธรรมที่
เกิดขึ้นแล้วก็ดับไปสืบต่อกันอยู่ตลอดเวลาก็ยึดสภาพธรรมว่าเป็นเราเป็นสัตว์
เป็นบุคคลจึงควรเริ่มจากการฟังให้เข้าใจสิ่งที่กำลังฟังเพื่อรู้ความจริงของสิ่งที่มีอยู่
จริงรู้ความจริงของสิ่งที่เกิดขึ้นว่าเป็นธรรมะเป็นสภาพธรรมที่เกิดขึ้นตามเหตุตาม
ปัจจัยพระพุทธองค์ทรงแสดงทุกอย่างที่มีจริงว่าเป็นธรรมะทั้งหมดฟังธรรมด้วย (:LOVE:)


ความเคารพเพราะเป็นคำจริงทุกคำเป็นสัจจธรรม


การศึกษาพระธรรมให้เข้าใจในสิ่งที่มีจริงว่าเป็นเพียงสภาพธรรมที่เกิดขึ้นแล้วดับ
ไปตามเหตุปัจจัยไม่มีเราไม่มีคนที่เรารัก (:LOVE:)ไม่มีคนที่เราชัง (:DY:)แต่เพราะความไม่รู้ใน
ความจริงจึงยึดถือสภาพธรรมว่าเป็นเราเป็นสัตว์ ;Dเป็นบุคคลความไม่รู้และตัณหา ;D
เป็นเหตุให้เกิดความทุกข์มากมายการศึกษาพระธรรมต้องเข้าใจตามลำดับในสิ่งที่มี
จริงในชีวืตประจำวันขั้นการฟังเข้าใจถูกต้องในสิ่งที่มีจริงแล้วค่อยๆเข้าใจในสิ่งที่
กำลังปรากฏจนกว่าจะรู้จะประจักษ์แจ้งในความจริงนั้นผู้ที่อบรมเจริญปัญญาเมื่อมี
ความเข้าใจมากขึ้นเห็นโทษของอกุศลจึงเป็นเหตุให้อกุศลลดน้อยลงตามกำลังของ
ปัญญาที่อบรมขึ้นพระธรรมมีแต่คุณประโยชน์เพราะฉะนั้นการเข้าใจธรรมเสียหาย
ตรงไหนผู้ที่ไม่เคยศึกษาพระธรรม มีความสุขมีทรัทย์สินเงินทองเมื่อมาศึกษาพระธรรมแล้วก็มีแต่ได้ไม่มีเสียการเข้าใจพระธรรมจึงเป็นลาภอันประเสริฐ  เมื่อมีความเข้าใจพระธรรมมากขึ้นในชีวิตประจำวันจึงมีการงดเว้นจากอกุศลกรรมมากขึ้นแล้วกระทำ
กุศลกรรมเพิ่มขึ้นทุกคนสามารถเห็นคุณค่าของพระธรรมสามารถรู้ได้ด้วยตัวเองว่า
ก่อนฟังพระธรรมและหลังฟังพระธรรมมีประโยชน์มากน้อยแค่ไหนยิ่งศึกษาพระธรรม
เกิดความเห็นถูกเข้าใจถูกเพิ่มขึ้น (:LOVE:)ก็จะเริ่มเห็นพระคุณของพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ไม่ว่าคนจน (:DY:)คนร่ำรวย (:BYE:)ขณะนี้เป็นขณะที่หาได้ยากอย่าได้ล่วงขณะนี้ไปเลย (:fall:)
ขณะของการได้เข้าใจพระธรรมจึงเป็นลาภอันประเสริฐ
ล่วงเลยขณะไปหรือเปล่า ?เมื่อล่วงเลยขณะของการฟังพระธรรมก็ล่วงเลยขณะของการได้พิจารณาพระธรรมซึ่งเป็นจินตามยปัญญา
และล่วงเลยขณะของการรู้แจ้งสภาพธรรมซึ่งเป็นภาวนามยปัญญา

ประมาทหรือเปล่าที่จะไม่ฟังพระธรรมไม่ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรมตามที่

พระผู้มีพระภาคทรงแสดงเพราะขณะนี้เป็นขณะที่พระพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้น

เป็นขณะที่ได้เกิดในประเทศอันสมควร, เป็นขณะที่ได้มีความเห็นถูก สัมมาทิฏฐิ และยังเป็นขณะที่มีอวัยวะครบทั้ง 6 อย่าปล่อยให้ขณะล่วงเลยไปเลย
เพราะบุคคลที่ปล่อยให้ขณะล่วงเลยไปบุคคลเหล่านั้นก็จะเกิดยัดเยียดอยู่ในนรกขณะนี้ควรที่จะฟังพระธรรมให้เข้าใจอย่ามัวแต่เพลิดเพลินไปตาม
อำนาจของกิเลสคือ โลภะ โทสะและความไม่รู้ที่มีอยู่มากมายในชีวิตประจำวัน
ขณะนี้เป็นขณะที่หาได้ยากควรศึกษาพระธรรม (:FR:)ฟังพระธรรมให้เข้าใจขณะที่ได้ฟังพระธรรมได้พิจารณาไตร่ตรองพระธรรมก็จะสะสมเป็นปัจจัยให้รู้แจ้งธรรมได้ในที่สุด.................
ขณะนี้ ได้เกิดมาเป็นมนุษย์พร้อมทั้งได้เกิดในถิ่นที่ยังมีพระธรรมคำสอนของพระผู้มี-
พระภาคเจ้าดำรงอยู่และในขณะเดียวกัน ตา  หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่บกพร่อง
พร้อมที่จะรองรับพระธรรมสะสมความเข้าใจถูกเห็นถูกสัมมาทิฏฐิได้ก็ควรที่จะ
ได้ศึกษาพระธรรมฟังพระธรรม อบรมเจริญปัญญาเพื่อรู้สภาพธรรม คือ นามธรรม และ
รูปธรรมที่กำลังปรากฏตามความเป็นจริงเพราะเหตุว่าเวลาของแต่ละบุคคล เหลือน้อย
เต็มทีแล้วจะจากโลกนี้ไปเมื่อใดไม่มีใครทราบได้จึงไม่ควรที่จะล่วงเลยขณะอันมี
ค่าและหาได้ยากอย่างนี้ลูกศรคือกิเลสของแต่ละคนที่ปักอยู่ที่ใจกิเลสก็คือ (an!)โลภะ (:FR:)โทสะ (:SHOCK:)โมหะ
เป็นลูกศรที่มองไม่เห็นซึ่งเป็นกิเลสที่สะสมอยู่ภายในของจิตทุกคนกำลังพล่านไป
ด้วยลูกศรที่ปักอยู่ตามกำลังของกิเลส  เมื่อถูกกิเลสเสียดแทงก็เต็มไปด้วยทุกข์ต่าง ๆ นา ๆ ตราบใดที่ยังไม่ได้ถอนลูกศรความทุกข์ก็จะตามมาไม่รู้จบ (:4:)ต้องทนทุกข์อยู่ในสังสารวัฏฏ์มีทางใดที่จะถอนลูกศรคือกิเลสออกไปได้ก็มีแค่หนทางเดียวคือการ (:3:)อบรมเจริญปัญญารู้ลักษณะของสภาพธรรมตามความเป็นจริงค่อย ๆ ดับกิเลสที่อยู่ภายในจนหมดสิ้นเป็นสมุจเฉทพ้นจากทุกข์ทั้งปวง ฯ (:14:)

http://www.fungdham.com/download/song/allhits/28.mp3