[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้

สุขใจในธรรม => ธรรมะทั่วไป ธารธรรม - ธรรมทาน => ข้อความที่เริ่มโดย: sometime ที่ 30 ธันวาคม 2552 14:16:32



หัวข้อ: โลภะเป็นไฉน ?
เริ่มหัวข้อโดย: sometime ที่ 30 ธันวาคม 2552 14:16:32
(http://i191.photobucket.com/albums/z119/bee_99/yesterday/PS290049.jpg)


http://www.4shared.com/embed/138162500/9620d1b2


โลภะเป็นไฉน ?

ความกำหนัด (:LOVE:)ความกำหนัดนักความคล้อยตามอารมณ์ความยินดีความเพลิดเพลิน
ความกำหนัดด้วยอำนาจความเพลิดเพลินความกำหนัดนัก
แห่งจิตความอยากความสยบความหมกมุ่นความใคร่ (:fall:)
ความข้องอยู่ (o0!)ความจมอยู่ (:12:)ธรรมชาติผู้คร่าไป (:FR:)ธรรมชาติผู้หลอกลวง
ธรรมชาติ (:QS:)ผู้ยังสัตว์ให้เกิดธรรมชาติผู้ยังสัตว์ให้เกิดพร้อม (:KM:)ธรรมชาติอันร้อยรัด
ธรรมชาติ (:SLE:)อันมีข่ายธรรมชาติอันกำซาบใจ (:HIT:)ธรรมชาติอันซ่านไป (:SL:)ธรรมชาติเหมือน
เส้นด้ายธรรมชาติอันแผ่ไป ;Dธรรมชาติผู้ประมวลมา (:13:)ธรรมชาติเป็นเพื่อนสอง
ปณิธานธรรมชาติผู้นำไปสู่ภพตัณหาเหมือนป่าตัณหาเหมือนดง ความ
เกี่ยวข้องความเยื่อใยความห่วงใยความผูกพันการหวังกิริยาที่หวัง
 (:11:)ความหวังความหวังรูปความหวังเสียงความหวังกลิ่นความหวังรส
ความหวังโผฏฐัพพะความหวังลาภความหวังทรัพย์ความหวังบุตร
ความหวังชีวิตธรรมชาติผู้กระซิบธรรมชาติผู้กระซิบทั่วธรรมชาติผู้กระซิบ
ยิ่งการกระซิบกิริยาที่กระซิบความกระซิบ (:FR:)การละโมบกิริยาที่ละโมบ
ความละโมบ (:BR:)ธรรมชาติเป็นเหตุซมซานไป (:PL:)ความใคร่ในอารมณ์ดี ๆ ความ
กำหนัดในฐานะอันไม่ควร (:RL:)ความโลภเกินขนาด (:FR:)ความติดใจ (:fall:)กิริยาที่ติดใจ
ความปรารถนา (:DA:)ความกระหยิ่มใจ (:SR:)ความปรารถนานัก (:-_-:)กามตัณหา (:UU:)ภวตัณหา
วิภวตัณหาตัณหาในรูปภพตัณหาในอรูปภพตัณหาในนิโรธคือราคะที่........................................
สหรคตด้วยอุจเฉททิฏฐิ (:LOVE:)รูปตัณหาสัททตัณหาคันธตัณหา (:fall:)รสตัณหา
โผฏฐัพพตัณหาธัมมตัณหาโอฆะ โยคะ (:FR:)คันถะ อุปาทาน (:BH:)อาวรณ์ - นิวรณ์
เครื่องปิดบังเครื่องผูกอุปกิเลสอนุสัยปริยุฏฐาน  (:7:)ตัณหาเหมือนเถาวัลย์
ความปรารถนาวัตถุมีอย่างต่าง ๆ รากเหง้าแห่งทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ แดนเกิด
แห่งทุกข์ (:-_-:)บ่วงแห่งมาร :'(เบ็ดแห่งมาร (:7:)แดนแห่งมาร (:QS:)ตัณหาเหมือนแม่น้ำ
ตัณหาเหมือนข่าย (sc!)ตัณหาเหมือนเชือกผูกตัณหาเหมือนสมุทรอภิชฌา
อกุศลมูลคือโลภะอันใดนี้เรียกว่า..........................โลภะ.....................................


เรื่อง......................โลภะ (:NOY:)และความอยาก


พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่ม 1 ภาค 1 หน้าที่ 147


ข้อความบางตอนจาก อรรถกถาจตุจักกสูตร


บทว่าอิจฺฉาโลภนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่าธรรมอันหนึ่งนี้แหละชื่อว่า....................................
โลภเพราะอรรถว่าปรารถนาเพราะอรรถว่าความอยากและความต้องการอีก
อย่างหนึ่ง ความอยากมีกำลังทรามเกิดขึ้นครั้งแรกความโลภมีกำลังเกิดขึ้นในเวลา
ต่อ ๆ มาอีกอย่างหนึ่งความปรารถนาในวัตถุอันตนยังไม่ได้ชื่อว่าความ
อยากความยินดีในวัตถุอันตนได้แล้วชื่อว่าความโลภเรื่อง (:FR:)โลภะและราคะ (:FR:)


พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เล่ม 1 ภาค 2 หน้าที่ 22


สภาวะที่ชื่อว่าโลภะเพราะอรรถว่าอยากได้อาการที่โลภชื่อว่า
ลุพภนากิริยาที่โลภจิตที่สัมปยุตด้วยโลภะหรือบุคคลผู้ประกอบด้วย
ความโลภชื่อว่าลุพภิตะภาวะแห่งจิตที่สัมปยุตด้วยโลภะหรือแห่งบุคคลผู้
ประกอบด้วยความโลภชื่อว่าลุพภิตัตตะความโลภที่ชื่อว่าสาราคะ (:FR:)


ความกำหนัดเพราะย่อมกำหนัดนักอาการแห่งความกำหนัดนักชื่อว่า


สารัชชนากิริยาที่กำหนัดนักภาวะแห่งจิตที่กำหนัดนักชื่อว่าสารัชชิตัตตะความกำหนัดชื่อว่า..................


อภิชฌา (:KM:)ด้วยอรรถว่าเพ่งเล็ง


ตัณหากามเปรียบเหมือนคบเพลิงเพราะตามเผาผลาญเร่าร้อนกามเปรียบเหมือน
ชิ้นเนื้อเพราะทั่วไปแก่คนจำนวนมากกามเปรียบเหมือนของขอยืม เพราะอยู่ได้ชั่ว
คราวกามเปรียบเหมือนหอกและหลาวพราะทิ่มแทง ฯลฯ
ฉันทะคือความเป็นผู้ใคร่ที่จะทำดังนั้นในขณะที่โกรธก็มีความใคร่ที่จะโกรธซึ่ง (o0!)
ไม่ได้หมายถึงความหมายพอใจในอารมณ์อย่างเดียวครับเพราะฉะนั้นเมื่อโกรธเกิดขึ้น
ไม่ว่ากรณีใดก็ต้องมีฉันทเจตสิกเกิดร่วมด้วยกับโทสเจตสิกเสมอไม่มียกเว้นคือเป็นผู้
ใคร่ที่จะโกรธแล้วในขณะที่โกรธและพอใจที่จะโกรธแล้วในขณะนั้นครับส่วนเจตสิก (:SHOCK:)
อื่นๆที่เป็นปกิณณกเจตสิก (:BH:)วิตก วิจาร วิโมกข์ ปิติ วิริยะ ฉันทะก็เกิดร่วมด้วยแต่ไม่


จำเป็นต้องครบทั้ง 6 ดวงก็แล้วแต่ประเภทของจิต


ขออธิบายเพิ่มเติมคำว่า ฉันทะ ซึ่งฉันทะใช้ได้หลายความหมายเพื่อความเข้าใจที่
ถูกต้องฉันทะจึงเป็นไปในฝ่ายดีและฝ่ายไม่ดีก็ได้ (:PL:)หมายถึงคำที่ใช้ว่าฉันทะอาจจะ
หมายถึง...........ความเป็นผู้ใคร่ที่จะทำที่เป็นไปในทางกุศลอบรมปัญญาประการหนึ่ง (:UU:)หรือ..........
เป็นฉันทะที่เป็นโลภเจตสิก (:LOVE:)กามฉันทะฉันทะหมายถึงความเพียรก็มีวิริยเจตสิก (:HIT:)
ฉันทะหมายถึงความเห็นผิดก็มี (:fall:)...........ทิฏฐิ........ซึ่งใช้คำว่าฉันทะเหมือนกันแต่โดยทั่วไปแล้ว
ถ้ามุ่งที่ตัวปรมัตถธรรมคือฉันทเจตสิกอันเป็นความเป็นผู้ใคร่ที่จะทำและพอใจในอารมณ์นั้น (:14:)