[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้

นั่งเล่นหลังสวน => สุขใจ ตลาดสด => ข้อความที่เริ่มโดย: Kimleng ที่ 14 มีนาคม 2556 14:02:25



หัวข้อ: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 14 มีนาคม 2556 14:02:25
.

การวาดลายไทย ลายจีน ลายประดิษฐ์
ต้นแบบ : ลายไทยเบื้องต้น ของ พระเทวาภินิมมิต

บ่อเกิดแห่งลายไทย
เนื่องมาจากธรรมชาติประเภทดอกและใบ
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/56471636311875_1.gif)

(http://www.sookjaipic.com/images_upload/49294797538055_1.gif)
วาดจาก (ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต
     ๑. ดอกบัว
     ๒. ใบเทศ คือใบฝ้ายเทศ
     ๓. ดอกมะลิ
     ๔. ดอกไชยพฤกษ์
     ๕. ดอกลาย ซึ่งมาจากดอกบัว
     ๖. ลายบัว ซึ่งมาจากดอกบัว
     ๗. ดอกลาย ซึ่งมาจากใบเทศ
     ๘. ดอกลายซึ่งมาจากดอกมะลิ
     ๙. ดอกฝ้ายเทศหรือพุดตาน
    ๑๐. ดอกไม้ร่วง
    ๑๑. มะม่วงหิมพานต์
    ๑๒. ดอกลำดวน
    ๑๓. ดอกสี่กลีบ หรือดอกประจำยาม
    ๑๔. ดอกจอก  

บ่อเกิดแห่งลายไทย
เนื่องมาจากธรรมชาติประเภทดอกและใบ (ต่อ)


(http://www.sookjaipic.com/images_upload/18991179888447_1.gif)
วาดจาก (ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต
     ๑. ใบเทศชนิดหนึ่ง
     ๒. ใบเทศดอกบัว
     ๓. ใบเทศพุดตาน
     ๔. ใบพุดตานหรือฝ้าย


บ่อเกิดแห่งลายไทยส่วนหนึ่ง

(http://www.sookjaipic.com/images_upload/47505785897374_1.gif)
วาดจาก (ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต
      ๑. ดอกบัวหลวง
     ๒. ดอกบัวสัตตบงกช
     ๓. ดอกบัวสัตตบุษย์
     ๔. บ่อเกิดแห่งลายกะหนก ๓ ตัว
     ๕. ลายบัวกะหนก
     ๖. ลายกรวยเชิง



ลายกะหนก ๓ ตัว

(http://www.sookjaipic.com/images_upload/52300546359684_1.gif)
     วาดจาก (ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต
    แบบ ๑. โครงร่าง
     แบบ ๒. แบ่งเป็น ๓ ตัว
     แบบ ๓. สำเร็จรูปเป็นกะหนกนารี    
    
     ๑. สามตัวหางหงส์
     ๒. ๓ ตัว ลายนาค
     ๓. ๓ ตัว ใบเทศ
     ๔. ๓ ตัว ผักกุด



บ่อเกิดแห่งลายกะหนกไทย

(http://www.sookjaipic.com/images_upload/15165025989214_1.gif)
(ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต

     แบบ ๑. (ซ้ายมือ) โครงร่างส่วนของลายกะหนก ๓ ตัว  ซึ่งอาจแยกเป็นลายอื่นได้มาก ดังนี้
     แบบ ๒. (ขวามือ) แยกมาเป็นตัวกระจัง  โดยประโยชน์ของกะหนกไทย
     แบบ ๓. แยกมาเป็นนาคหางหงษ์
     แบบ ๔. แยกมาเป็นลายกะหนกหางหงษ์
     แบบ ๕. แยกมาเป็นกะหนกหัวนาค
     แบบ ๖. กะหนกตัวเดียว อันเนื่องมาจากตัวที่ ๓ ของกะหนกทั้ง ๓ ตัว



ลายช่อทรงพุ่มข้าวบิณฑ์

(http://www.sookjaipic.com/images_upload/19821782368752_1.gif)
(ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต
   แบบ ๑. ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์
   แบบ ๒. ช่อหางไหล
   แบบ ๓. ช่อหางโต
   แบบ ๔. ช่อเปลวมยุรา
   แบบ ๕. ช่อหางโตใบเทศ
   แบบ ๖. ช่อเปลวหางโต
   แบบ ๗. ช่อเปลวลอย
  


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 02 พฤษภาคม 2556 10:13:01
.

กะหนกช่อต่างๆ
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/58029434498813_1.gif)
(ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต

   แบบ ๑. ช่อลายผักกุด
   แบบ ๒. ช่อนกคาบ
   แบบ ๓. ช่อนกคาบ
   แบบ ๔. ช่อเปลวต่อ
   แบบ ๕. ช่อก้านขด
   แบบ ๖. ลายซึ่งเนื่องมาจากใบเทศ
   แบบ ๗. ช่อหนามเตยผักกุด



ประเภทลายกาบและลายกระจัง
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/55615843915277_1.gif)
(ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต

   แบบ ๑. กาบเทพนม
   แบบ ๒. กาบใบเทศ
   แบบ ๓. กาบหน้าสิงห์  
   แบบ ๔. ลายกระจังเจิม (เป็นกระจังขนาดเล็ก)
   แบบ ๕. ลายกระจังตาอ้อย



ลายประเภทเครื่องประดับ
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/14882290156351_1.gif)
(ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต

   แบบ ๑. ลายประจำยาม
   แบบ ๒. ทับทรวง
   แบบ ๓. ตาบ
   แบบ ๔. สังวาลเพชรพวง
   แบบ ๕. สังวาลแก้วเก็จ



ประเภทลายหน้ากระดาน
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/59098990013201_1.gif)
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต  
          ลายที่ ๑. ลูกฟักก้ามปูเปลว
          ลายที่ ๒.  ลายลูกฟักก้ามปูเปลวใบเทศ
          ลายที่ ๓. ลายลูกฟักก้ามปูใบเทศ



ประเภทลายเกลียว  
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/45313357189297__3621_3634_3618_1.gif)
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต
  
          ลายที่ ๑.เกลียวใบเทศ
          ลายที่ ๒.เกลียวใบเทศ
          ลายที่ ๓.เกลียวใบเทศ
          ลายที่ ๔.เกลียวหางโต


ประเภทลายรักร้อย
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/96601691138413__3621_3634_3618_1.gif)
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต

          ลายที่ ๑.รักร้อยเปลว
          ลายที่ ๒.รักกาบปลี
          ลายที่ ๑.รักร้อยดอกไม้



หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 08 กันยายน 2556 17:35:48
.
ลายพุ่มข้าวบิณฑ์เทพนม
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/56530020592941__3621_3634_3618_2.gif)
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต



ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ธรรมดา
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/84895860983265__3621_3634_3618_1.gif)
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต


ลายพุ่มข้าวบิณฑ์หน้าสิงห์
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/16935000113314__3621_3634_3618_2.gif)
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต


ลายโคมแววมยุรา
(เป็นลายที่ประดิษฐ์ขึ้นใหม่)
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/40033509540888__3621_3634_3618_1.gif)
ซ้าย ลายโคมแววมยุรา ขวา ประจำยามลูกโซ่
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต


ลายพุ่มข้าวบิณฑ์หน้าสิงห์
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/16935000113314__3621_3634_3618_2.gif)
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต


ดอกลอยหน้าสิงห์
(http://www.sookjaipic.com/images_upload/12704781525664__3621_3634_3618_1.gif)
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต




หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2558 12:51:46
.

(http://www.sookjaipic.com/images_upload/58565670748551__3621_3634_3618_.gif)
ลายมะลิเลื้อยหรือลายนาคเกี้ยว
ลายไทย โดยพระเทวาภินิมมิต


(http://www.sookjaipic.com/images_upload/38188075274228__3591_.gif)
ต้นแบบ : หนังสือลายไทยเบื้องต้น  ของ พระเทวาภินิมมิต

   ลายที่ ๑.รักร้อยดอกไม้
   ลายที่ ๒.รักร้อยใบเทศ
   ลายที่ ๓.รักร้อยดอกไม้


(http://www.sookjaipic.com/images_upload/87143247202038__3621_3634_3618_1.gif)
ลายก้านแย่งชนิดโคม
ลายไทย โดยพระเทวาภินิมมิต


(http://www.sookjaipic.com/images_upload/61449799645278_ll_2.gif)
โครงร่าง การเริ่มต้นเขียนลายไทย

(http://www.sookjaipic.com/images_upload/20658419115675__3621_3634_3618_1.gif)

ลายหน้าขบ

(http://www.sookjaipic.com/images_upload/73226639131704__3621_3634_3618_.gif)

ลายช่อกนก



(http://www.sookjaipic.com/images_upload/11410283711221_ll_1.gif)
ลายพุ่มทรงข้าวบิณฑ

13.5-16 offc.


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 16:13:52

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/77838453857435__3621_3634_3618_3648_3611_3621.gif)


(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/27015986666083__3621_3634_3618_.gif)

ลายก้านแย่งกาบใบเทศ


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 22 ธันวาคม 2560 13:04:20

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/92608345879448__MG_5584.JPG)

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/75046967756417__MG_5583.JPG)
ลายไทยโบราณ พระอุโบสถวัดศาลาปูนวรวิหาร
ตำบลท่าวาสุกรี อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/47701328868667__MG_5658.JPG)
ลายประดิษฐ์ ศืลปะจีน ศาลเจ้าแม่สร้อยดอกหมาก วัดพนัญเชิง
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/40304509467548_SAM_4633.JPG)

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/45198546763923_SAM_4635.JPG)
ลายไทย จากพระอุโบสถวัดสุวรรณดารารามราชวรวิหาร จ.พระนครศรีอยุธยา

700-28


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 29 ตุลาคม 2561 16:06:18

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/45737474121981__3621_3634_3618_1.jpg)
บน : ลูกข้าวต้ม
ล่าง : ลายกุดั่น หรือดอกกุดั่น

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/96178551390767__3621_3634_3618_2.jpg)
กระจังงาม

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/16571655579739__3621_3634_3618_3.jpg)
บน : ประจำยามลูกโซ่
ล่าง : ลายกรวยเชิงเป็นลายตัวเทศ

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/18318188687165__3621_3634_3618_4.jpg)
บน : กระจังตาอ้อย
กลาง : กระจังปฏิญาณ
ล่าง : กระจังเจิม

กรวยเชิง
 
กรวยเชิง เรียกอีกอย่างว่า กรุยเชิง เป็นลายไทยแบบหนึ่ง ใช้เป็นแบบในการตกแต่งส่วนขอบริมหรือส่วนเชิงผ้า เชิงฝาผนัง ปลายวัตถุต่างๆ เช่น บ้องหอก บ้องทวน เสาเชิงตู้ ผูกเขียนขึ้นโดยอาศัยแม่ลายกระหนกและแม่ลายกระจัง ร่วมกันเป็นแบบ อยู่ในรูปทรงกรวยเรียงต่อเนื่องกันในพื้นที่ลักษณะเป็นแถบยาว ปกติลายกรวยเชิงเขียนขึ้นเป็นชุดประกอบด้วยลายหน้ากระดานใหญ่ หน้ากระดานเล็กขนาบอยู่ข้างล่างและข้างบน  โดยคั่นลายประกอบอื่น    

กระจัง  
กระจัง เป็นลายไทยแบบหนึ่ง เป็นรูปบังคับเรียกว่าตัวกระจัง  ลักษณะรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า คล้ายกลีบบัวหรือตาอ้อย ขอบด้านข้างมีรอยบากอย่างน้อยข้างละ ๑ รอย ตรงกลางมีไส้ทำเป็นรูปกลีบบัวหรือตาอ้อยขนาดย่อม ซ้อนลงอีกชั้นหนึ่ง ลายกระจังอาจนำไปผูกลายให้เป็นแบบต่างๆ ออกไปได้

ลักษณะของลายกระจัง มีดังนี้
กระจังตาอ้อย เป็นลายกระจัง รูปร่างคล้ายตาตรงข้อของต้นอ้อยก่อนที่จะแตกเป็นลำต้นอ้อย  ส่วนมากจึงเรียกแม่ลายนี้ว่า “กระจังตาอ้อย”  เป็นกระจังขนาดเล็ก ใช้ติดเรียงเป็นแถวหน้า

กระจังโกลน คือลายกระจังซึ่งเกิดจากการฉลุไม้ให้เป็นรูปทรงกระจัง แต่ไม่แกะหรือสลักลายละเอียด

กระจังปฏิญาณ เป็นลวดลายที่ผูกขึ้นโดยอาศัยรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วเป็นรูปบังคับ ลักษณะคล้ายกระจังตาอ้อย ต่างกันตรงด้านข้างทั้งสองด้านแบ่งเขียนหรือปั้นเป็นตัวเหงาหันหน้าออกทั้งคู่ ส่วนปลายลวดลายเขียนอย่างปลายกระจังทั่วไป  กระจังปฏิญาณมีขนาดใหญ่กว่ากระจังแบบอื่น มักทำไว้ที่หลังตู้ หลังเบญจา หลังฐานหรือแท่น ข้างฐานหรือแท่น เป็นต้น

กระจังเจิม  คือลายกระจังที่มีรูปร่างคล้ายกระจังปฏิญาณ แต่ขนาดเล็กกว่าและไม่สะบัดปลาย นิยมใช้เข้าชุดกับกระจังตาอ้อยและกระจังปฏิญาณในการตกแต่งประดับลายบนฐานต่างๆ เช่น เรียงเป็นแถวที่สองหลังกระจังตาอ้อย คือวางสับหว่างระหว่างตัวกระจัง แต่ต้องยึดทรงของสถาปัตยกรรมเป็นหลัก

กระจังฐานพระ คือชุดเครื่องประดับเชิงกรอบหน้าบัน ทอดอยู่ระหว่างแปหัวเสากับปิดหน้าขื่อ กระจังฐานพระประกอบด้วยย่อเก็จเป็นกระเปาะอยู่ตรงส่วนกลาง ตอนบนของฐานพระเป็นกระจังปฏิญาณ ใต้ฐานพระส่วนใหญ่เป็นกระจังรวน

กระจังใบเทศ จัดอยู่ในประเภทกระจังตาอ้อย กระจังเจิม และกระจังปฏิญาณ แต่การผูกลวดลายละเอียด มีการแบ่งและบากเป็นลักษณะใบเทศ

กระจังฟันปลา คือกระจังที่มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมเรียงต่อๆ กันไปอย่างฟันปลา แต่ไม่มีลวดลายภายใน “กระจังฟันหนึ่ง” ก็เรียก ถ้ามีรอยบากเผล้ข้างละ ๑ รอย เรียก “กระจังฟันสาม”  กระจังฟันสามนี้ถ้านำไปฉลุแล้วกรุด้วยกระดาษสีเรียกว่า “กระจังบายศรี” ถ้ามีรอยบากเผล้ข้างละ ๑ รอย เรียก “กระจังฟันห้า”  กระจังฟันปลาเหล่านี้ใช้มากในการกระหนาบแม่ลายในการแทงหยวก หรือกลบตีนลายในสิ่งก่อสร้าง และเป็นลายพื้นฐานสำหรับการแทงหยวก กระจังทั้ง ๒ แบบนี้จึงจัดอยู่ในประเภท “กระจังหยวก”

กระจังรวน คือกระจังเจิมหรือกระจังปฏิญาณซึ่งทำให้ปลายปัดไปทางใดทางหนึ่ง บางทีก็ทำให้ปลายสะบัดอ่อนไหวคล้ายปลายกระหนก เนื่องจากกระจังแบบนี้ทำส่วนปลายปัดไปด้านข้างจึงทำให้ดูเอนไม่ตรง กระจังรวนนี้ใช้ประดับบนหลังหน้ากระดานข้างราชรถประกอบเกริน หรือใต้ฐานพระที่ส่วนล่างของหน้าบันเป็นต้น

กระจังหลังฐาน คือชุดกระจัง ซึ่งประกอบด้วย กระจังตาอ้อย กระจังเจิม และกระจังปฏิญาณ ปักรายประดับตกแต่งบนหลังฐานต่างๆ เช่น รัตนบัลลังก์ ฐานเอวขันธ์ (ฐานรอบโบสถ์) ฐานเชิงเสา โดยปักอยู่บนลวดเหนือหน้ากระดาน มี ๓ แถว แถวหน้าปักกระจังตาอ้อย แถวที่ ๒ ปักกระจังเจิม แถวที่ ๓ ปักกระจังปฏิญาณเป็นชั้นๆ ขึ้นไป

กระจังหลังสิงห์ คือชุดกระจัง ซึ่งประกอบด้วยกระจัง ๓ แถว แถวแรกเป็นกระจังตาอ้อยขนาดเล็ก แถวที่ ๒ เป็นกระจังตาอ้อยขนาดใหญ่ และแถวที่ ๓ เป็นกระจังเจิม กระจังชุดนี้ปักรายบนหลังฐานเท้าสิงห์ จึงเรียก กระจังหลังสิงห์

กระจังหู เป็นคำใช้เรียกกระจังซึ่งมีลักษณะมองเห็นเป็นครึ่งตัว มักอยู่บนฐาน หรือหน้ากระดาน ตอนหักมุม หรือกระจังตัวสุดท้ายของลาย


ที่มาข้อมูล สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง
มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 14 กันยายน 2563 15:33:49

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/24773520479599__640x480_.jpg)
เถาเลื้อยกนกเปลว

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/53993957199984_119202223_974633586385655_8177.jpg)(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/55523483124044_119151400_974633646385649_7665.jpg)


(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/77205309478772_9.2_640x480_.jpg)(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/81556871533393_9.1_640x480_.jpg)

ลายตาไขว้ใบเทศ


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 16 กันยายน 2563 16:54:55
(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/18499496661954_9.2_640x480_.jpg)(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/13039807106057_9.1_640x480_.jpg)

เครือเถาหางโตเปลว



หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 17 กันยายน 2563 16:57:56
(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/79573865483204_111_640x480_.jpg)

เถาไขว้เทศหางโต


(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/92119579555259_119848094_981107479071599_8593.jpg)

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/72921889854801__640x480_.jpg)

ลายลูกฟัก


(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/92393546468681__640x480_.jpg)

ลาย "กนกก้านขด"


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 28 กันยายน 2563 15:16:30
(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/85952994392977__640x480_.jpg)

ลายหน้ากระดาน



(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/18073089048266__640x480_.jpg)

ลาย ลูกฟักก้ามปูใบเทศ


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 07 ตุลาคม 2563 16:09:24
(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/61692985105845__640x480_.jpg)

(บน) ลายดอกลอยใบเทศ  (ล่าง) ลายดอกลอยก้านแย่ง


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 09 ตุลาคม 2563 15:07:58

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/50219798005289__640x480_.jpg)

ลายหน้าบัน



หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 12 ตุลาคม 2563 11:09:46

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/72885839351349__640x480_.jpg)

กนกหน้าสิงห์       กนกเปลว
กนกเปลวทรงข้าวบิณฑ์       กนกเปลว

750


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 16 ตุลาคม 2563 20:42:31
(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/77192910636464_111_Copy_.jpg)

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/97472335936294_112_Copy_.jpg)

ลายโคมพุ่มทรงข้าวบิณฑ



(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/80628485398160__640x480_.jpg)

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/95842968093024__640x480_.jpg)

ลายพุ่มข้าวบิณฑหน้าสิงห์


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 09 พฤศจิกายน 2563 11:25:31

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/23314959721432__640x480_.jpg)

ลายกนกก้านขดในแจกัน



หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 11 พฤศจิกายน 2563 15:30:20
(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/54069802330599_124341376_1023017598213920_649.jpg)

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/98537996908028_ditfko_640x480_.jpg)

ลายหน้ากระดาน


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 24 พฤศจิกายน 2563 13:33:15

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/31018795983658_d_640x480_.jpg)

ลายหน้ากระดาน


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 26 พฤศจิกายน 2563 19:27:25
(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/97807119207249__Copy_.jpg)

ลายหน้ากระดาน


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 02 ธันวาคม 2563 16:02:29
(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/45430362224578__1_640x480_.jpg)



หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 01 เมษายน 2564 16:16:03

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/94856161086095__640x480_.jpg)

ลายดอกลอย


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 02 เมษายน 2564 15:10:38

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/16251881296435__640x480_.jpg)

ดอกลอยช่อหางโต


หัวข้อ: Re: ฝึกวาดลายไทยไปพร้อมกัน
เริ่มหัวข้อโดย: Kimleng ที่ 22 เมษายน 2564 09:50:11
(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/56483376440074__640x480_.jpg)
ลายพิกุลกรอง

(http://www.sookjaipic.com/images_upload_2/28120402660634__640x480_.jpg)
ลายโคมมะลิเลื้อยหรือลายนาคเกี้ยว

ผลงาน พระเทวาภินิมมิต (นายฉาย เทียมศิลป์ชัย)
ศิลปินเอกท่านหนึ่งของไทยในสมัยรัชกาลที่ ๕-๗ มีชีวิตอยู่ในช่วง พ.ศ.๒๔๓๑-พ.ศ.๒๔๘๕
ผลงานอันที่ประจักษ์ของท่าน ได้แก่ แม่กองเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
(ขอกราบขออนุญาตนำภาพฝีมือท่านมาเผยแพร่ในเว็บไซท์นี้)