[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
29 เมษายน 2567 13:00:38 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก เวบบอร์ด ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

  แสดงกระทู้
หน้า:  1 ... 67 68 [69] 70 71 ... 1119
1361  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ชีวิตผู้ลี้ภัยซูดานในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่ 3 คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พั เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 18:35:55
ชีวิตผู้ลี้ภัยซูดานในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่ 3 คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พัทลุง’
 


<span class="submitted-by">Submitted on Thu, 2024-02-22 22:14</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ทีมข่าวศิลปวัฒนธรรม สัมภาษณ์/เรียบเรียง </p>
<p>ถ่ายภาพ: อันนา หล่อวัฒนตระกูล</p>
<p>บทสัมภาษณ์นี้เปิดเผยเนื้อหาบางส่วนของภาพยนตร์</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><div class="summary-box">
<ul>
<li>คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พัทลุง’ ผู้กำกับภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน) ที่เล่าเรื่องชีวิตประจำวันของครอบครัวผู้ลี้ภัยชาวซูดานที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่สามอย่างไร้จุดหมาย เมื่อไทยเป็นที่พักพิงชั่วคราวได้แต่ยังไม่ใช่บ้าน</li>
<li>Hours of Ours (รอวัน) เข้าโรงแล้ววันนี้ 22 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ที่ Doc Club &amp; Pub. และ House Samyan </li>
</ul>
</div>
<p>“ตอนที่เขา (ครอบครัวอิบราฮิม) เจอเรา เราถือกล้อง เราถ่ายคนม้งเวียดนามอยู่แล้ว เขามารู้จักเราพร้อมกับกล้องเรา เพราะฉะนั้นเขาก็รู้ว่าไอ้เด็กคนนี้มันมีกล้อง มันถ่ายอะไรซักอย่างอยู่”</p>
<p>คมน์ธัช ณ พัทลุง ผู้กำกับภาพยนตร์ Hours of Ours (รอวัน) เล่าให้เราฟังถึงที่มาที่ไปของการได้ไปรู้จัก ‘ครอบครัวอิบราฮิม’ ซึ่งเป็นครอบครัวผู้ลี้ภัยชาวซูดานที่หนีออกจากประเทศมายังกรุงเทพฯ เพื่อขอลี้ภัยไปประเทศที่สาม </p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53527304632_fb9a8904fb_b.jpg" /></p>
<p>เขาเกิดที่ไทย แต่เติบโตแบบย้ายไปย้ายมาระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาด้วยหน้าที่การงานของคุณพ่อ หลังจากเรียนจบสาขาวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์จากมหาวิทยาลัยเท็กซัส เขาทำงานในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่ลอสแอนเจลิสราวๆ 1 ปี และมีโอกาสได้ไปร่วมเวิร์คชอปที่คิวบากับ “อับบาส เคียรอสตามี” ผู้กำกับชั้นครูจากอิหร่าน จากนั้นเขาจึงตัดสินใจกลับเมืองไทย</p>
<p>แรกเริ่มเดิมทีเขาตั้งใจจะทำหนังเกี่ยวกับคนม้งเวียดนามในกรุงเทพฯ และได้แวะเวียนไปทำกิจกรรมในชุมชนร่วมกับเอ็นจีโออยู่เรื่อยๆ พร้อมกับกล้องในมือ จนกระทั่งวันหนึ่ง เขาก็ได้พบครอบครัวอิบราฮิมที่เข้ามาร่วมกิจกรรมที่เอ็นจีโอจัด</p>
<p>มิตรภาพก็เริ่มต้นขึ้นจากการที่เขาช่วยพาคุณแม่ไปหาหมอ หลังจากนั้นครอบครัวอิบราฮิมชวนเขาไปทานข้าวและดื่มกาแฟที่บ้าน จนก่อเกิดเป็นไอเดียในการทำหนังเพื่อบันทึกชีวิตขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่สาม ไปเรื่อยๆ อย่างไม่รู้จุดหมายปลายทาง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545560399_349fc891ed_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ย้ายไปอยู่อเมริกาตั้งแต่เมื่อไหร่</span></h2>
<p>มีช่วงหนึ่งในชีวิตที่เราต้องย้ายไปย้ายมาระหว่างไทยกับอเมริกา เราเกิดที่ไทย ตอนที่เราอายุ 3 ขวบ คุณพ่อได้ไปทำงานที่ลุยเซียนา เราก็ย้ายไปอยู่ที่นั่น 2-3 ปี จนเรา 5 ขวบก็กลับมาไทย เข้าโรงเรียนที่ไทยและอยู่ที่นี่ 10 ปี</p>
<p>พออายุ 15 ปี เราก็ย้ายไปที่เมืองฮุสตัน รัฐเท็กซัส เรียนมัธยมปลาย 2 ปี แล้วก็เรียนต่อมหาวิทยาลัยอีก 4 ปี แล้วก็พอเรียนจบ เราก็ไปอยู่ลอสแอนเจลิส (แอลเอ) หนึ่งปี แล้วหลังจากแอลเอก็รู้สึกว่าไม่เอาแล้วกลับมาไทยดีกว่า</p>
<p>เรื่องที่เป็นปมในใจอย่างหนึ่ง เรารู้สึกว่าเราปรับตัวเองยากประมาณหนึ่งเพราะสังคมที่มันเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา มันเป็นอีกขั้วหนึ่งเลย</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ทำไมถึงอยากกลับไทย</span></h2>
<p>คิดหนักเหมือนกัน เพราะว่าการอยู่ที่นี่ (แอลเอ) เรื่องหน้าที่การงานค่อนข้างดีแต่เรารู้สึกว่าไปต่อไม่ถูก เป็นการทำงานเพื่อหาเงินมาจ่ายค่าที่อยู่อาศัย ค่าอาหาร แต่เราไม่สามารถมีเวลาให้งานที่เรารู้สึกว่าเป็นงานครีเอทีฟส่วนตัว</p>
<p>เรื่องราวที่เราอยากจะพูดถึงอยู่ที่ไทยหมดเลย ตอนที่เราอยู่แอลเอ เราไม่ได้มีเรื่องราวที่อเมริกาที่เราอยากจะพูดถึง เราไม่ได้รู้สึกว่าเราคอนเนกต์กับที่อเมริกา</p>
<p>มันอยู่สบาย มันน่าอยู่แหละ แต่ว่ามันแพงมากๆ ที่แอลเอ ซึ่งทำให้เราหมดพลังไปกับการทำงาน</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">อยู่แอลเอทำงานอะไรบ้าง</span></h2>
<p>เราไปทำงงจังเป็นผู้ช่วยในออฟฟิศของ ริดลีย์ สก็อตต์ (Ridley Scott) อยู่ช่วงหนึ่ง แล้วเราก็ออกกอง เป็นผู้ช่วยช่างภาพ, DIT (Digital Imaging Technician หรือ คนจัดการข้อมูลภาพ ณ กองถ่าย) ให้กองหนังสั้น คอมเมอเชียล กองเว็บซีรีส์บ้าง</p>
<p>เราคิดอยู่นานว่าจะกลับมาดีไหม เพราะในช่วงนั้นวีซ่าก็จะใกล้หมดแล้ว ต้องรีบคิดว่าถ้าจะอยู่ต่อจะเอายังไงต่อไป เผชิญว่าช่วงนั้นได้ไปงานเวิร์คชอปที่คิวบา เป็นเวิร์คชอปกับ “อับบาส เคียรอสตามี” (Abbas Kiarostami) ผู้กำกับดังของอิหร่าน </p>
<p>เขามีโจทย์ให้เราพยายามทำหนังสั้นให้เสร็จใน 10 วัน ซึ่งเราก็ไปโดยที่ยังไม่มีไอเดียอะไรมาก ซึ่งมันเป็นพลังงานที่ขาดหายไปตอนที่เราอยู่แอลเอ เป็นพลังงานที่เราคิดถึง ก็เลยตัดสินใจว่ากลับไทยดีกว่า อยากจะกลับไปทำหนังของตัวเอง</p>
<p>หลังจากที่อยู่แอลเอมานาน พอเราไปถึงที่คิวบาแล้วรู้สึกเหมือนประเทศไทยมากๆ ทั้งสภาพอากาศ ภูมิทัศน์ติดทะเล ต้นไม้ ผู้คนน่ารัก มีบิลบอร์ดของฟิเดล คาสโตร ติดเต็มไปหมด มันก็เหมือนกับรูปที่มีทุกบ้าน ทำให้เรารู้สึกคิดถึงประเทศไทยมากๆ</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">พอกลับมาไทยแล้วไปคอนเนกต์กับครอบครัวนี้อย่างไร</span></h2>
<p>ช่วงที่เราอยู่อเมริกา ก็จะมีบางช่วงที่เรากลับมาไทยเพื่อเยี่ยมครอบครัว เยี่ยมเพื่อนช่วงซัมเมอร์ ช่วงนั้นเพื่อนเราก็เข้าเรียนกันหมด เราก็ว่างๆ เลยได้ติดต่อกับอาจารย์คนหนึ่ง เป็นอาจารย์สอนภาษาอังกฤษที่เรารู้จักสมัยที่เรียนอยู่ที่ไทย เขาก็บอกว่าเขากำลังเปิดเอ็นจีโอ เข้าไปในพื้นที่ของ คนที่ถูกมองข้ามในกรุงเทพฯ ซึ่งในตอนแรกโฟกัสของเขาคือชุมชนตามรางรถไฟแถวๆ พญาไท เราก็เข้าไปทำงานกับเขา</p>
<p>ไปๆ มาๆ เขาเปลี่ยนโฟกัสไปทำงานกับกลุ่มผู้ลี้ภัย แล้วก็ชวนเราเข้าไปในชุมชนม้งเวียดนามแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ตอนแรกเราไม่ได้รู้จักกับครอบครัวอิบราฮิม แต่อยู่มาวันหนึ่งเราก็เห็นครอบครัวนี้เข้ามาร่วมกิจกรรมที่เอ็นจีโอจัด </p>
<p>ปกติเอ็นจีโอจะจัดกิจกรรมสอนภาษาอังกฤษ สอนทำอาหาร รวมถึงซัพพอร์ตครอบครัวในพื้นที่นั้น ซึ่งเวลาจัดกิจกรรมก็เจอครอบครัวนี้มาร่วมด้วย ตอนแรกเราไม่ได้คิดอะไรมาก แต่ไปๆ มาๆ ก็ได้รู้จักกับเขา </p>
<p>ความที่มีกิจกรรมสอนภาษาอังกฤษ แต่ว่าเราเป็นคนที่สอนอะไรไม่เป็น เราก็เลยเสนอตัวว่าจะช่วยเหลือเขาในรูปแบบอื่น เช่น ติดต่อคนนั้นคนนี้ คุณแม่อยากจะไปหาหมอ เขาก็ถามว่าเราช่วยเขาคุยกับหมอได้ไหม เขากลัวเขาสื่อสารไม่ครบ ซึ่งเราช่วยเขาในลักษณะนี้ได้ ทำให้เราได้เริ่มรู้จักกับครอบครัวนี้ หลังจากที่ไปเจอหมอ เขาก็ชวนเราไปกินข้าวกินกาแฟที่บ้านเขา ไปหาเขาอยู่เรื่อยๆ</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545560024_7b54d20dd8_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">มีบางซีนที่ฟุตเทจเอียงๆ</span> </h2>
<p>ตั้งใจ (ตอบทันที)</p>
<p>โปรเจคสารคดีม้งเวียดนาม เราตั้งใจ setting (ออกแบบ) ตั้งใจ constructed (สร้าง) ทั้งหมด แล้วช่วงแรกๆ ที่เราถ่ายครอบครัวนี้ เราก็พยายามที่จะทำอย่างนั้นเหมือนกัน แต่ก็รู้สึกว่า…มันไม่ใช่วิธีที่เราอยากจะทำ </p>
<p>หลังจากนั้นเราก็เปลี่ยนวิธีการทำงานของเราด้วย เราก็เลยตัดสินใจว่าเราจะไม่สร้างระยะห่างระหว่างเรากับครอบครัวนี้</p>
<p>จะมีโมเมนต์ที่ว่าเราถ่ายๆ อยู่แล้วความเป็นตากล้อง ก็จะคอยดูเฟรมตลอด แต่เวลาเราดูเฟรม เราก็ไม่สามารถคอนเนกต์กับคนที่เรากำลังคุยอยู่ด้วย</p>
<p>โมเมนต์ที่เราพูดคุยกับเขา เราก็ต้องไม่สนใจกล้อง เพื่อให้ได้โมเมนต์นี้ไปเรื่อยๆ กล้องนี้มันก็ถ่ายของมันไป ได้อะไรมาก็ค่อยว่ากัน แล้วมันก็…ได้อย่างที่เห็น (หัวเราะ)</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">สารคดีที่ไม่ได้ดรามาสุดทางแบบนี้ ขอทุนยากไหม</span></h2>
<p>ยากเหมือนกัน เพราะว่าเราก็ต้องไปขอทุนจากศูนย์มานุษฯ (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) อย่างศูนย์มานุษฯ ยังดีเพราะว่าเขาเก็ตวิธีการทำงานของเรา ไม่เหมือนกับช่องข่าวทีวีต่างประเทศ เพราะว่าช่องพวกนี้เขาต้องการดรามา ต้องการบริบท เขาอยากที่จะรู้ว่าตอนนี้โลกมันโหดร้ายแค่ไหน แต่ว่ามันไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการจะนำเสนอในรูปแบบนั้น </p>
<p>เราต้องการที่จะนำเสนอครอบครัวนี้ในรูปแบบ Graceful Resilience (ความอดทนและความมีศักดิ์ศรี) ของเขา ซึ่งเป็นสิ่งที่เราเห็นและเราแค่อยากนำเสนอสิ่งที่เราเห็น อย่างน้อยศูนย์มานุษฯ เขาก็เก็ต เขามองประเด็นต่างๆ ด้วยสายตาของความเป็นมนุษย์ </p>
<p>แล้วก็สำหรับที่อื่นๆ อย่าง Purin Pictures หรือสิงคโปร์ เขาก็ซัพพอร์ตอะไรที่เกี่ยวกับภาพยนตร์อยู่แล้ว </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เคสครอบครัวซูดานแบบนี้ มีอีกเยอะมั้ยในไทย</span></h2>
<p>ในไทยไม่ค่อยมี เหมือนจากซูดานนี่มันต้องแยกด้วยว่าซูดาน หรือซูดานใต้ เพราะมันไม่เหมือนกัน แต่ที่เรารู้จักมีอยู่ไม่กี่คน มีน้อย ส่วนใหญ่จะมาจากปากีสถาน โซมาเลีย คองโก </p>
<p>อย่างปากีสถานในไทยนี่เยอะ ในกรุงเทพฯ </p>
<p>ปากีสถานที่หนีมาเพราะปัญหาเรื่องศาสนา ที่เรารู้จักส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาคริสต์กัน ส่วนซูดานเป็นปัญหาความขัดแย้งภายใน</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545567549_c4274c2113_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">โมเมนต์ที่ประทับใจที่สุด</span></h2>
<p>มีโมเมนต์หนึ่งที่อยากใส่ในหนังแต่ใส่ไม่ได้เพราะว่ามันไม่เวิร์ค เป็นโมเมนต์ที่คุณแม่ให้เราช่วยดูการบ้านของน้อง เพราะพ่อแม่เขาอ่านการบ้านภาษาไทยไม่ออก คุณแม่เล่าให้เราฟังว่าอยากจะช่วยสอนการบ้านลูกแต่ว่าช่วยไม่ได้เพราะทุกอย่างเป็นภาษาไทยหมด </p>
<p> จริงๆ เรื่องภาษา เป็นเรื่องที่เราพยายามจะสื่อในหนังเรื่องนี้ด้วย เพราะเรารู้สึกว่ามันสำคัญสำหรับเรา ครอบครัวนี้เขาคุยกันด้วยภาษาอาหรับ แต่ว่าแม่เขาก็บ่นให้เราฟังว่าลูกๆ คุยกันเองเป็นภาษาไทย อะไรที่ไม่อยากให้แม่กับพ่อรู้ก็จะคุยกันเองเป็นภาษาไทย มีเราอยู่ด้วยเราจะได้ช่วยเล่าให้แม่เขาฟังว่าลูกคุยอะไรกัน</p>
<p>ตอนแรกเราไม่รู้ว่าลูกๆ เขาพูดภาษาไทยกัน โมเมนต์นี้เป็นจุดเริ่มต้นหลายๆ อย่างตอนที่เรารู้ว่าลูกเขาพูดภาษาไทยกันเอง มันทำให้เรานึกถึงสมัยที่เราอยู่อเมริกาตอนเด็กๆ เรากับน้องอยู่ๆ ก็ได้ภาษาอังกฤษขึ้นมาโดยที่พ่อกับแม่เราตั้งตัวไม่ทัน</p>
<p>ในครึ่งหลังของเรื่อง ถ้าเกิดสังเกตจดหมายจากพ่อกับแม่ (ที่ส่งมาหาลูกตอนที่พ่อแม่โดนกักตัวอยู่ที่ ตม.) จดหมายก็เป็นภาษาอังกฤษ เราก็ถามว่าทำไมถึงเป็นภาษาอังกฤษ แม่เขาก็เล่าให้ฟังว่าเพราะลูกๆ เขาอ่านภาษาอารบิกไม่ออก เวลาเขาจะเขียนอะไรให้ลูกๆ เขาจึงต้องเป็นภาษาอังกฤษ น้องๆ พูดอารบิกได้ แต่จะอ่านเขียนไม่ได้ เพราะจะได้ภาษาไทยมากกว่า  </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ตอนที่ไปเจอ ครอบครัวนี้อยู่ไทยมากี่ปีแล้ว</span></h2>
<p>เขาอยู่มาหลายปีแล้ว แต่เราย้ายกลับมาไทยปี 2016 (พ.ศ. 2559) แล้วเราเจอเขา…น่าจะเริ่มถ่ายกับเขาประมาณปี 2017  (พ.ศ. 2560) ซึ่งเป็นตอนที่น้องๆ พูดไทยกันได้แล้ว</p>
<p>ตอนแรกเราคุยกับเขาเป็นภาษาอังกฤษเพราะเราไม่รู้ จนกระทั่งเราได้ยินพวกเขาคุยกันเองเป็นภาษาไทย แล้วเขาก็คุยกับเราเป็นภาษาอังกฤษแบบเกร็งๆ เขินๆ พอเราพูดไทยก็กลายเป็นว่าพวกเขาก็พูดกับเราเยอะเลย จากที่ก่อนหน้านั้นไม่ค่อยพูด</p>
<p>ครอบครัวนี้พาสปอร์ตหมดอายุ เข้ามาด้วยวีซ่าท่องเที่ยว ง่ายๆ ก็คือครอบครัวนี้อยู่เกินกำหนดวีซ่า</p>
<p>จริงๆ แล้วโรงเรียนอาจจะรับเข้าเรียนเพราะว่าพวกเขายังเด็ก ในแง่กฎหมาย เป็นสิทธิที่น้องๆ เขามีอยู่แล้ว เพราะว่าไทยเซ็นสัญญาปกป้องสิทธิเด็กของสหประชาชาติ</p>
<p>แต่ว่าประเทศไทยไม่ได้เซ็นสัญญาเรื่องผู้ลี้ภัย เพราะฉะนั้นพ่อกับแม่ หรือถ้าเด็กโตไปเป็นผู้ใหญ่ สิทธิเสรีภาพต่างๆ ก็จะหดน้อยลงไปเรื่อยๆ ยิ่งเราโตขึ้นมันก็จะยิ่งหดลง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545232806_d8cdd136b6_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เหมือนพ่อแม่จะอยู่แต่ในบ้าน</span></h2>
<p>พ่อแม่ส่วนมากอยู่แต่ในบ้าน มีไปทำธุระที่นั่นที่นี่บ้าง</p>
<p>ก่อนหน้านั้นเขาทำอาชีพอะไร เป็นเหตุผลที่ได้ไปแคนาดาด้วยไหม</p>
<p>อาจจะมีส่วน ครอบครัวนี้เขาน่าจะอยู่ในฐานะชนชั้นกลางประมาณหนึ่ง เพราะว่าพ่อกับแม่เป็นคนมีการศึกษา พ่อเป็นนักออกแบบตกแต่งภายใน ส่วนแม่ เรียนจบมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับด้านปศุสัตว์การแพทย์</p>
<p>เราก็ยังคิดอยู่ในใจว่า 6 ปีที่เขาอยู่ในไทยเขาน่าจะได้ทำอะไรอย่างอื่นได้ ทำไมต้องมาอยู่แต่ในห้อง แต่พอย้ายไปแคนาดาได้สัก 1-2 ปี เขาก็มีอาชีพแล้ว</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ในฐานะคนทำหนัง เรามีความคาดหวังอย่างไร</span></h2>
<p>เราคาดหวังกับการฉายในประเทศไทยมากที่สุด หลักๆ เลยเราทำหนังเรื่องนี้เพราะว่าเราอยากจะจินตนาการถึงอนาคต ความเป็นไปได้ใหม่ๆ สำหรับประเทศไทย</p>
<p>ในแง่ที่ว่าถ้าเด็กพวกนี้โตขึ้นมาแล้วต้องอยู่เมืองไทยตลอดไปจริงๆ ถ้าเกิดโดนปฏิเสธขึ้นมา ถ้า UNHCR (สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ) ปฎิเสธเคส 2-3 รอบ ก็คือโดนปฎิเสธไปเลย ก็คือไม่ได้มีทางเลือกอะไรอย่างอื่นแล้วนอกจากจะต้องอยู่ที่นี่หรือกลับประเทศตัวเอง   </p>
<p>การอยู่ที่นี่ก็เป็นสถานการณ์แบบนี้ เขาก็ต้องอยู่แบบนี้ ทั้งๆ ที่เขาก็จะซึมซับความเป็นไทย ภาษา วัฒนธรรม สภาพสังคม สภาพแวดล้อม ทุกสิ่งทุกอย่าง ซึ่งตอนนี้ก็มีอยู่ เด็กคนอื่นๆ ที่เป็นคนม้งเวียดนามที่เรารู้จัก หรือว่าเด็กที่มาจากประเทศเพื่อนบ้านที่ตามพ่อแม่มาอยู่ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม เราก็พยายามคิดถึงอนาคตว่าพวกเขาจะอยู่ยังไง เราจะสามารถเปิดให้พวกเขา หลอมรวมกับสังคมเราได้มากน้อยแค่ไหน</p>
<p>แล้วเราก็คิดไปถึงว่า ถ้าเกิดเราไปถึงจุดนั้นได้ หน้าตาของคนไทยสามารถเปลี่ยนไปด้วยได้ไหม เด็กแอฟริกันพวกนี้ก็คงไม่ต่างจากเด็กไทยทั่วไป ในหนังจะเห็นว่าพวกเขาก็เป็นเด็กไทยใช่ไหม </p>
<p>เราก็อยากจะตั้งคำถามว่าอะไรคือความเป็นไทย ขอบเขตของสิ่งนี้อยู่ตรงไหน และสามารถยืดหยุ่นได้หรือเปล่า หรือว่าทำลายขอบเขตของมันไปได้เลย เพื่อที่จะนับรวมคนอื่นๆ ได้</p>
<div class="summary-box">
<ul>
<li>Hours of Ours (รอวัน) เข้าโรงแล้ววันนี้ 22 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ที่ Doc Club &amp; Pub. และ House Samyan</li>
<li>เมื่อปี 2566 ภาพยนตร์สารคดี รอวัน | Hours of Ours ออกฉายสู่สายตาชาวโลกเป็นครั้งแรกในเทศกาลนานาชาติ Visions du Réel ที่จัดขึ้นที่เมืองนีออน (Nyon) ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ต่อมาได้ฉายในเทศกาลสารคดีนานาชาติ Beyond Borders Kastellorizo International Documentary Festival ครั้งที่ 8 ที่ประเทศกรีซ </li>
<li>รอวัน | Hours of Ours ฉายที่สมาคมฝรั่งเศส (Alliance Française) ที่เมืองไนโรบี ประเทศเคนยา ในโปรแกรมพิเศษที่ชื่อว่า Focus Sudan</li>
<li>ภาพยนตร์สารคดี รอวัน | Hours of Ours ฉายครั้งแรกในเอเชียที่เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติสิงคโปร์ SGIFF ครั้งที่ 34 ต่อมาได้ฉายในงานเทศกาลภาพยนตร์สารคดี Festival Film Dokumenter ที่เมืองยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย จากนั้นจึงเข้ามาฉายที่ไทย</li>
</ul>
</div>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108177
 
1362  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - นาวิน ต้าร์ เข้าแจ้งความแล้ว เฉลยเงินถูกดูดออกจากบัญชีเกือบ 5 ล้าน ได้อย่างไร เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 18:00:35
นาวิน ต้าร์ เข้าแจ้งความแล้ว เฉลยเงินถูกดูดออกจากบัญชีเกือบ 5 ล้าน ได้อย่างไร
         


นาวิน ต้าร์ เข้าแจ้งความแล้ว เฉลยเงินถูกดูดออกจากบัญชีเกือบ 5 ล้าน ได้อย่างไร" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;นาวิน ต้าร์ เข้าแจ้งความแล้ว หลังเข้าไปอ่านบทความจากเว็บไซต์ ถูกดูดเงินจากบัญชีหายเกือบ 5 ล้าน ชี้เป็นอุทาหรณ์กับกลุ่มคนที่ลงทุนกับเงินดิจิทัล
         

https://www.sanook.com/news/9257462/
         
1363  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - สงครามรัฐยะไข่ทวีความรุนแรง AA ยันบุกต่อ กองทัพพม่าโต้ ยกระดับการโจมตีทางบก-ทิ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 17:05:52
สงครามรัฐยะไข่ทวีความรุนแรง AA ยันบุกต่อ กองทัพพม่าโต้ ยกระดับการโจมตีทางบก-ทิ้งระเบิด
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 13:52</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพปก: ทหารอาระกันอาร์มี (AA) ถ่ายภาพหน้าสถานีตำรวจเมืองเจ้าก์ต่อ หลังสามารถยึดกุมเมืองเจ้าก์ต่อได้สำเร็จ (ที่มา: AA)</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>สงครามในรัฐยะไข่ ระหว่างกองกำลังอาระกันอาร์มี AA และกองทัพพม่า ทวีความรุนแรง ขณะที่กองทัพพม่ายกระดับการโจมตีทางอากาศ ควบคู่การโจมตีทางบก และทัพเรือ ด้าน AA บุกต่อ จนกว่ากองทัพพม่าจะยอมแพ้</p>
<p> </p>
<p>เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา (11-17 ก.พ. 2567) สงครามในรัฐยะไข่ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น หลังกองกำลังอาระกันอาร์มี (Arakan Army - AA) ยกระดับการโจมตีเผด็จการทหารพม่าในเมืองชายฝั่ง 3 แห่ง คือ มองดอ รามรี และระเต่ดอง</p>
<p>ด้านเผด็จการทหารกำลังพยายามป้องกันฐานทัพที่เหลืออยู่ใน 3 เมือง โดยการทิ้งระเบิดรอบๆ ผสานการใช้กองทัพบก, กองทัพเรือ, และกองทัพอากาศ </p>
<p>อย่างไรก็ตาม AA ระบุว่า พวกเขาจะยังคงเดินหน้าโจมตีกองทัพพม่าต่อไปจนกว่ากองทัพที่อยู่ภายในสถานที่เป้าหมายเหล่านี้จะยอมแพ้</p>
<p>กองทัพพม่าก็ยังคงทิ้งระเบิดใส่เมืองรามรี จากทั้งทางบก ทางน้ำ และทางอากาศ ซึ่งทาง AA ระบุว่า 'รามรี' กลายเป็นเมืองที่ถูกทิ้งระเบิดหนักที่สุดในรัฐยะไข่ </p>
<p>นอกจากนี้ กองทัพเผด็จการพม่าได้ยกระดับการทิ้งระเบิดทางอากาศ ผนวกการโจมตีทางบก และทางทะเล ในเมืองระเต่ดอง ทำให้เมืองดังกล่าวถูกทิ้งระเบิดมากที่สุดรองลงมาจาก ‘รามรี’ ในรัฐยะไข่</p>
<p>ทั้งนี้ การปะทะกันในเมืองระเต่ดอง รัฐยะไข่ เมื่อ 15 ก.พ.ที่ผ่านมา ทาง AA ยังได้โจมตีฐานที่มั่น </p>
<p>ระหว่างการโจมตีอย่างหนักที่เมืองระเต่ดอง เมื่อวันที่ 15 ก.พ. ที่ผ่านมา อาระกันอาร์มี AA ยังได้โจมตีฐานที่มั่น 'Bawdhi Kone' ของเผด็จการทหารใกล้กับหมู่บ้านชื่อเดียวกันในเมืองมองดอ ราว 6.20 น. ในวันเดียวกัน ทั้งนี้ ฐานที่มั่นแห่งนี้เป็นฐานที่มั่นที่มีกองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 4 ประจำอยู่</p>
<p>อาระกันอาร์ AA กล่าวว่า พวกเขากำลังเพิ่มความพยายามในการยึดฐานที่มั่น ในขณะที่เผด็จการทหารกำลังป้องกันฐานที่มั่นโดยการทิ้งระเบิดที่อาศัยยุทโธปกรณ์จากกองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ</p>
<p>อาระกันอาร์มี เปิดเผยว่า กองทัพเผด็จการทหารยังคงตั้งเป้าหมายโจมตีพลเรือนรัฐยะไข่ต่อไป กองเรือจากฐานทัพเรือ Danyawaddy ในเมืองเจ้าผิวก์ ได้ยึดเรือจับปลา 3 ลำในแม่น้ำ Thanzit เมื่อวันที่ 25 ก.พ. ที่ผ่านมา มีการจับกุมชาวประมงจากหมู่บ้าน Pauk Nat Chay แล้วก็ส่งตัวไปยังฐานทัพ</p>
<p>อาระกันอาร์มีเป็นหนึ่งในกองทัพชาติพันธุ์ของพันธมิตรภราดรภาพที่เป็นผู้เริ่มปฏิบัติการ 1027 ทางตอนเหนือของรัฐฉานเมื่อวันที่ 27 ต.ค. 2566</p>
<p>ในวันที่ 13 พ.ย. 2566 อาระกันอาร์มีได้เปิดฉากปฏิบัติการโจมตีต่อเป้าหมายเผด็จการทหารทั่วภาคเหนือของรัฐยะไข่และเมืองปาเลตวาในรัฐชีนที่อยู่ใกล้เคียง</p>
<p>หลังจากที่สร้างความอับอายให้กับเผด็จการทหารทางตอนเหนือของรัฐฉาน อาระกันอาร์มีก็ทำแบบเดียวกันในรัฐยะไข่ พวกเขายึดฐานทัพและฐานที่มั่นของเผด็จการทหารมากกว่า 170 แห่ง รวมถึงยึดเมืองในยะไข่ได้ 6 เมือง คือ เป้าก์ต่อ (Pauk-taw), เจ้าก์ต่อ (Kyauk-taw), มี่น-บย่า (Minbya), มเย้าก์อู (Myauk U), ตองพโยเหล่ตเว่ (Taungpyoletwe) และ มะหย่าโปง (Myabon) และเมืองหนึ่งในรัฐชิน คือ 'ปาเลตวา'</p>
<p><strong>เรียบเรียงจาก</strong></p>
<p>Myanmar’s Military on The Defensive in Rakhine State: Brotherhood Alliance, Irrawaddy, 16-02-2024</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108181
 
1364  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าว ไอที] - รีวิว “ASUS Zenbook 14 OLED” UX3405MA เบาและฉลาด เริ่มต้น 42,990 บาท เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 16:08:55
รีวิว “ASUS Zenbook 14 OLED” UX3405MA เบาและฉลาด เริ่มต้น 42,990 บาท
         


รีวิว “ASUS Zenbook 14 OLED” UX3405MA เบาและฉลาด เริ่มต้น 42,990 บาท" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;ASUS Zenbook 14 OLED” (UX3405MA-PP735WS) อัลตร้าบุ๊กที่บางเฉ๊ยบสเปกมาแบบจัดเต็มแบบนี้ในงบเริ่มต้น 42,990 บาท
         

https://www.sanook.com/hitech/1597535/
         
1365  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - กรมคุมประพฤติ เข้าพบ "ทักษิณ" ย้ำ 5 ข้อห้ามระหว่างพักโทษ เป็นที่ปรึกษาทางการเ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 15:52:55
กรมคุมประพฤติ เข้าพบ "ทักษิณ"  ย้ำ 5 ข้อห้ามระหว่างพักโทษ เป็นที่ปรึกษาทางการเมืองได้
         


กรมคุมประพฤติ เข้าพบ &quot;ทักษิณ&quot;  ย้ำ 5 ข้อห้ามระหว่างพักโทษ เป็นที่ปรึกษาทางการเมืองได้" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;กรมคุมประพฤติ เข้าพบ "ทักษิณ" ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า ย้ำข้อห้าม 5 ข้อระหว่างพักโทษ แต่เป็นที่ปรึกษาทางการเมืองได้
         

https://www.sanook.com/news/9257094/
         
1366  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - สหรัฐฯ ตั้งข้อหาหัวหน้ายากูซา-1 คนไทย สมคบคิดค้าวัสดุนิวเคลียร์ หวังขายต่ออิหร เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 15:35:49
สหรัฐฯ ตั้งข้อหาหัวหน้ายากูซา-1 คนไทย สมคบคิดค้าวัสดุนิวเคลียร์ หวังขายต่ออิหร่าน
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 15:08</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพปก: สำนักงานใหญ่กระทรวงยุติธรรม สหรัฐอเมริกา (ที่มาวิกิพีเดีย)</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>สหรัฐฯ ตั้งข้อหาหัวหน้าแก๊งยากูซาญี่ปุ่น และ 1 คนไทย ฐานสมคบคิดลักลอบค้าวัสดุนิวเคลียร์จากพม่าผ่านไทย หวังขายให้อิหร่านไปผลิตอาวุธนิวเคลียร์</p>
<p>23 ก.พ. 2567 วานนี้ (22 ก.พ.) หลายสำนักข่าวต่างประเทศรายงานตรงกันกรณีสหรัฐฯ ตั้งข้อหา “ทาเคชิ เอบิซาวะ” หัวหน้าแก๊งยากูซาชาวญี่ปุ่น วัย 60 ปี และ “สมภพ สิงห์ศิริ” ชายสัญชาติไทยวัย 61 ปี ฐานสมรู้ร่วมคิดลักลอบค้าวัสดุนิวเคลียร์จากพม่าผ่านไทยให้อิหร่าน</p>
<p>ก่อนหน้านี้เมื่อเดือน เม.ย. ปี 2565 มติชนออนไลน์รายงานอ้างสำนักข่าวต่างประเทศระบุว่า ตำรวจสหรัฐฯ จับกุม ทาเคชิ เอบิซาวะ หัวหน้าแก๊งยากูซาชาวญี่ปุ่น พร้อมด้วยคนไทยอีก 3 คน ได้แก่ สมภักดิ์ รักษ์สราณี สัญชาติไทย, สมภพ สิงห์ศิริ สัญชาติไทย และ สุขสันต์ จุลนันท์ สัญชาติไทย-อเมริกัน ในย่านแมนฮัตตันของมหานครนิวยอร์ก ฐานลักลอบขนยาเสพติดและค้าอาวุธ</p>
<p>สำหรับผลการสอบสวนล่าสุด บีบีซีไทยรายงานว่า เอบิซาวะ ไม่ได้ลักลอบค้ายาเสพติดและอาวุธสงครามเท่านั้น แต่เขายังพยายามขายแร่ยูเรเนียม และพลูโตเนียม ที่เชื่อว่าจะไปตกถึงมืออิหร่าน เพื่อสร้างระเบิดนิวเคลียร์</p>
<p>บีบีซีไทยรายงานด้วยว่า ย้อนไปเมื่อเดือน ก.พ. ปี 2563 เอบิซาวะได้ติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยงานปราบปรามยาเสพติดของสหรัฐฯ (Drug Enforcement Administration หรือ DEA) ที่แฝงตัวแสร้งทำตัวเป็นพ่อค้ายาเสพติดและอาวุธสงคราม ที่มีเส้นสายถึงนายพลอิหร่าน เพื่อหวังขายวัตถุดิบนิวเคลียร์ให้</p>
<p>ต่อมาในเดือน ก.ย. 2563 เอบิซาวะ ติดต่อเจ้าหน้าที่คนเดิมด้วยอีเมล จ่าหน้าชื่อบริษัทเหมือง โดยเสนอขายแร่ยูเรเนียม และทอเรียม ซึ่งล้วนเป็นแร่นิวเคลียร์ รวม 50 ตัน ในราคา 6.85 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือคิดเป็นเงินไทย 245,000 ล้านบาท ในอีเมลฉบับนั้น เอบิซาวะได้แนบรูป “วัตถุหินสีดำ” วางคู่กับเครื่องนับไกเกอร์ ซึ่งเป็นเครื่องมือวัดระดับกัมมันตภาพรังสี</p>
<p>นอกจากนี้ บีบีซีไทยอ้างคำพูดจากกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ที่เปิดเผยว่า ในปี 2565 เอบิซาวะ และพรรคพวกคนไทยก็ได้ “นำตัวอย่างวัตถุนิวเคลียร์ให้เจ้าหน้าที่ดู โดยนัดดูของกันที่ประเทศไทย”</p>
<p>ขณะที่ไทยพีบีเอสรายงานด้วยว่า เอบิซาวะ ยังถูกกล่าวหาว่า สมคบคิดขายวัสดุนิวเคลียร์เกรดอาวุธ และยาเสพติดร้ายแรงจากเมียนมา เพื่อนำเงินไปซื้ออาวุธในนามของกบฏติดอาวุธกลุ่มหนึ่งในเมียนมา</p>
<p>โดยทางการสหรัฐฯ ระบุว่า จะดำเนินคดีทั้งสองคนในข้อหาค้ายาเสพติดข้ามชาติ และความผิดเกี่ยวกับอาวุธปืน ซึ่งทั้งคู่เคยถูกตั้งข้อหาเมื่อปี 2565 หากถูกตัดสินว่ากระทำผิดจริง อาจต้องรับโทษสูงสุดคือจำคุกตลอดชีวิต</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">/url]</div></div></div><div class="field field-name-field-promote-end field-type-text field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even">ติดตามประชาไทอัพเดท ได้ที่เฟซบุ๊ก https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108182
 
1367  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "ปราบ" ลูกชาย "สู่ขวัญ-โชค บูลกุล" กลับจากเรียนเมืองนอก หล่อเท่ขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 15:27:39
"ปราบ" ลูกชาย "สู่ขวัญ-โชค บูลกุล" กลับจากเรียนเมืองนอก หล่อเท่ขึ้นเรื่อยๆ
         


&quot;ปราบ&quot; ลูกชาย &quot;สู่ขวัญ-โชค บูลกุล&quot; กลับจากเรียนเมืองนอก หล่อเท่ขึ้นเรื่อยๆ" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;ปราบ บูลกุล ลูกชายคนเดียวของ สู่ขวัญ-โชค บูลกุล หลังเหินฟ้าไปเรียนต่อนิวซีแลนด์ กลับมาอีกทีหล่อเท่กว่าเดิมจริงๆ  


         

https://www.sanook.com/news/9257170/
         
1368  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - กทม. จับมือ อิชิตัน สร้าง "สวน 50 สุข" เพิ่มพื้นที่สีเขียว เชื่อมโยงกับคนในชุมชน เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 12:51:14
กทม. จับมือ อิชิตัน สร้าง "สวน 50 สุข" เพิ่มพื้นที่สีเขียว เชื่อมโยงกับคนในชุมชน
         


กทม. จับมือ อิชิตัน สร้าง &quot;สวน 50 สุข&quot; เพิ่มพื้นที่สีเขียว เชื่อมโยงกับคนในชุมชน" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;กรุงเทพมหานคร, สำนักงานเขตคลองเตย, การทางพิเศษแห่งประเทศไทย และบมจ.อิชิตัน กรุ๊ป ร่วมมือกันปรับปรุงพื้นที่ในเขตทางพิเศษเฉลิมมหานครบริเวณซอยสุขุมวิท 50 เขตคลองเตย เป็นสวนสาธารณะ “สวน 50 สุข”
         

https://www.sanook.com/news/9257038/
         
1369  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ชีวิตผู้ลี้ภัยซูดานในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่ 3 คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พั เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 12:33:55
ชีวิตผู้ลี้ภัยซูดานในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่ 3 คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พัทลุง’
 


<span class="submitted-by">Submitted on Thu, 2024-02-22 22:14</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ทีมข่าวศิลปวัฒนธรรม สัมภาษณ์/เรียบเรียง </p>
<p>ถ่ายภาพ: อันนา หล่อวัฒนตระกูล</p>
<p>บทสัมภาษณ์นี้เปิดเผยเนื้อหาบางส่วนของภาพยนตร์</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><div class="summary-box">
<ul>
<li>คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พัทลุง’ ผู้กำกับภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน) ที่เล่าเรื่องชีวิตประจำวันของครอบครัวผู้ลี้ภัยชาวซูดานที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่สามอย่างไร้จุดหมาย เมื่อไทยเป็นที่พักพิงชั่วคราวได้แต่ยังไม่ใช่บ้าน</li>
<li>Hours of Ours (รอวัน) เข้าโรงแล้ววันนี้ 22 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ที่ Doc Club &amp; Pub. และ House Samyan </li>
</ul>
</div>
<p>“ตอนที่เขา (ครอบครัวอิบราฮิม) เจอเรา เราถือกล้อง เราถ่ายคนม้งเวียดนามอยู่แล้ว เขามารู้จักเราพร้อมกับกล้องเรา เพราะฉะนั้นเขาก็รู้ว่าไอ้เด็กคนนี้มันมีกล้อง มันถ่ายอะไรซักอย่างอยู่”</p>
<p>คมน์ธัช ณ พัทลุง ผู้กำกับภาพยนตร์ Hours of Ours (รอวัน) เล่าให้เราฟังถึงที่มาที่ไปของการได้ไปรู้จัก ‘ครอบครัวอิบราฮิม’ ซึ่งเป็นครอบครัวผู้ลี้ภัยชาวซูดานที่หนีออกจากประเทศมายังกรุงเทพฯ เพื่อขอลี้ภัยไปประเทศที่สาม </p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53527304632_fb9a8904fb_b.jpg" /></p>
<p>เขาเกิดที่ไทย แต่เติบโตแบบย้ายไปย้ายมาระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาด้วยหน้าที่การงานของคุณพ่อ หลังจากเรียนจบสาขาวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์จากมหาวิทยาลัยเท็กซัส เขาทำงานในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่ลอสแอนเจลิสราวๆ 1 ปี และมีโอกาสได้ไปร่วมเวิร์คชอปที่คิวบากับ “อับบาส เคียรอสตามี” ผู้กำกับชั้นครูจากอิหร่าน จากนั้นเขาจึงตัดสินใจกลับเมืองไทย</p>
<p>แรกเริ่มเดิมทีเขาตั้งใจจะทำหนังเกี่ยวกับคนม้งเวียดนามในกรุงเทพฯ และได้แวะเวียนไปทำกิจกรรมในชุมชนร่วมกับเอ็นจีโออยู่เรื่อยๆ พร้อมกับกล้องในมือ จนกระทั่งวันหนึ่ง เขาก็ได้พบครอบครัวอิบราฮิมที่เข้ามาร่วมกิจกรรมที่เอ็นจีโอจัด</p>
<p>มิตรภาพก็เริ่มต้นขึ้นจากการที่เขาช่วยพาคุณแม่ไปหาหมอ หลังจากนั้นครอบครัวอิบราฮิมชวนเขาไปทานข้าวและดื่มกาแฟที่บ้าน จนก่อเกิดเป็นไอเดียในการทำหนังเพื่อบันทึกชีวิตขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่สาม ไปเรื่อยๆ อย่างไม่รู้จุดหมายปลายทาง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545560399_349fc891ed_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ย้ายไปอยู่อเมริกาตั้งแต่เมื่อไหร่</span></h2>
<p>มีช่วงหนึ่งในชีวิตที่เราต้องย้ายไปย้ายมาระหว่างไทยกับอเมริกา เราเกิดที่ไทย ตอนที่เราอายุ 3 ขวบ คุณพ่อได้ไปทำงานที่ลุยเซียนา เราก็ย้ายไปอยู่ที่นั่น 2-3 ปี จนเรา 5 ขวบก็กลับมาไทย เข้าโรงเรียนที่ไทยและอยู่ที่นี่ 10 ปี</p>
<p>พออายุ 15 ปี เราก็ย้ายไปที่เมืองฮุสตัน รัฐเท็กซัส เรียนมัธยมปลาย 2 ปี แล้วก็เรียนต่อมหาวิทยาลัยอีก 4 ปี แล้วก็พอเรียนจบ เราก็ไปอยู่ลอสแอนเจลิส (แอลเอ) หนึ่งปี แล้วหลังจากแอลเอก็รู้สึกว่าไม่เอาแล้วกลับมาไทยดีกว่า</p>
<p>เรื่องที่เป็นปมในใจอย่างหนึ่ง เรารู้สึกว่าเราปรับตัวเองยากประมาณหนึ่งเพราะสังคมที่มันเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา มันเป็นอีกขั้วหนึ่งเลย</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ทำไมถึงอยากกลับไทย</span></h2>
<p>คิดหนักเหมือนกัน เพราะว่าการอยู่ที่นี่ (แอลเอ) เรื่องหน้าที่การงานค่อนข้างดีแต่เรารู้สึกว่าไปต่อไม่ถูก เป็นการทำงานเพื่อหาเงินมาจ่ายค่าที่อยู่อาศัย ค่าอาหาร แต่เราไม่สามารถมีเวลาให้งานที่เรารู้สึกว่าเป็นงานครีเอทีฟส่วนตัว</p>
<p>เรื่องราวที่เราอยากจะพูดถึงอยู่ที่ไทยหมดเลย ตอนที่เราอยู่แอลเอ เราไม่ได้มีเรื่องราวที่อเมริกาที่เราอยากจะพูดถึง เราไม่ได้รู้สึกว่าเราคอนเนกต์กับที่อเมริกา</p>
<p>มันอยู่สบาย มันน่าอยู่แหละ แต่ว่ามันแพงมากๆ ที่แอลเอ ซึ่งทำให้เราหมดพลังไปกับการทำงาน</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">อยู่แอลเอทำงานอะไรบ้าง</span></h2>
<p>เราไปทำงงจังเป็นผู้ช่วยในออฟฟิศของ ริดลีย์ สก็อตต์ (Ridley Scott) อยู่ช่วงหนึ่ง แล้วเราก็ออกกอง เป็นผู้ช่วยช่างภาพ, DIT (Digital Imaging Technician หรือ คนจัดการข้อมูลภาพ ณ กองถ่าย) ให้กองหนังสั้น คอมเมอเชียล กองเว็บซีรีส์บ้าง</p>
<p>เราคิดอยู่นานว่าจะกลับมาดีไหม เพราะในช่วงนั้นวีซ่าก็จะใกล้หมดแล้ว ต้องรีบคิดว่าถ้าจะอยู่ต่อจะเอายังไงต่อไป เผชิญว่าช่วงนั้นได้ไปงานเวิร์คชอปที่คิวบา เป็นเวิร์คชอปกับ “อับบาส เคียรอสตามี” (Abbas Kiarostami) ผู้กำกับดังของอิหร่าน </p>
<p>เขามีโจทย์ให้เราพยายามทำหนังสั้นให้เสร็จใน 10 วัน ซึ่งเราก็ไปโดยที่ยังไม่มีไอเดียอะไรมาก ซึ่งมันเป็นพลังงานที่ขาดหายไปตอนที่เราอยู่แอลเอ เป็นพลังงานที่เราคิดถึง ก็เลยตัดสินใจว่ากลับไทยดีกว่า อยากจะกลับไปทำหนังของตัวเอง</p>
<p>หลังจากที่อยู่แอลเอมานาน พอเราไปถึงที่คิวบาแล้วรู้สึกเหมือนประเทศไทยมากๆ ทั้งสภาพอากาศ ภูมิทัศน์ติดทะเล ต้นไม้ ผู้คนน่ารัก มีบิลบอร์ดของฟิเดล คาสโตร ติดเต็มไปหมด มันก็เหมือนกับรูปที่มีทุกบ้าน ทำให้เรารู้สึกคิดถึงประเทศไทยมากๆ</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">พอกลับมาไทยแล้วไปคอนเนกต์กับครอบครัวนี้อย่างไร</span></h2>
<p>ช่วงที่เราอยู่อเมริกา ก็จะมีบางช่วงที่เรากลับมาไทยเพื่อเยี่ยมครอบครัว เยี่ยมเพื่อนช่วงซัมเมอร์ ช่วงนั้นเพื่อนเราก็เข้าเรียนกันหมด เราก็ว่างๆ เลยได้ติดต่อกับอาจารย์คนหนึ่ง เป็นอาจารย์สอนภาษาอังกฤษที่เรารู้จักสมัยที่เรียนอยู่ที่ไทย เขาก็บอกว่าเขากำลังเปิดเอ็นจีโอ เข้าไปในพื้นที่ของ คนที่ถูกมองข้ามในกรุงเทพฯ ซึ่งในตอนแรกโฟกัสของเขาคือชุมชนตามรางรถไฟแถวๆ พญาไท เราก็เข้าไปทำงานกับเขา</p>
<p>ไปๆ มาๆ เขาเปลี่ยนโฟกัสไปทำงานกับกลุ่มผู้ลี้ภัย แล้วก็ชวนเราเข้าไปในชุมชนม้งเวียดนามแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ตอนแรกเราไม่ได้รู้จักกับครอบครัวอิบราฮิม แต่อยู่มาวันหนึ่งเราก็เห็นครอบครัวนี้เข้ามาร่วมกิจกรรมที่เอ็นจีโอจัด </p>
<p>ปกติเอ็นจีโอจะจัดกิจกรรมสอนภาษาอังกฤษ สอนทำอาหาร รวมถึงซัพพอร์ตครอบครัวในพื้นที่นั้น ซึ่งเวลาจัดกิจกรรมก็เจอครอบครัวนี้มาร่วมด้วย ตอนแรกเราไม่ได้คิดอะไรมาก แต่ไปๆ มาๆ ก็ได้รู้จักกับเขา </p>
<p>ความที่มีกิจกรรมสอนภาษาอังกฤษ แต่ว่าเราเป็นคนที่สอนอะไรไม่เป็น เราก็เลยเสนอตัวว่าจะช่วยเหลือเขาในรูปแบบอื่น เช่น ติดต่อคนนั้นคนนี้ คุณแม่อยากจะไปหาหมอ เขาก็ถามว่าเราช่วยเขาคุยกับหมอได้ไหม เขากลัวเขาสื่อสารไม่ครบ ซึ่งเราช่วยเขาในลักษณะนี้ได้ ทำให้เราได้เริ่มรู้จักกับครอบครัวนี้ หลังจากที่ไปเจอหมอ เขาก็ชวนเราไปกินข้าวกินกาแฟที่บ้านเขา ไปหาเขาอยู่เรื่อยๆ</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545560024_7b54d20dd8_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">มีบางซีนที่ฟุตเทจเอียงๆ</span> </h2>
<p>ตั้งใจ (ตอบทันที)</p>
<p>โปรเจคสารคดีม้งเวียดนาม เราตั้งใจ setting (ออกแบบ) ตั้งใจ constructed (สร้าง) ทั้งหมด แล้วช่วงแรกๆ ที่เราถ่ายครอบครัวนี้ เราก็พยายามที่จะทำอย่างนั้นเหมือนกัน แต่ก็รู้สึกว่า…มันไม่ใช่วิธีที่เราอยากจะทำ </p>
<p>หลังจากนั้นเราก็เปลี่ยนวิธีการทำงานของเราด้วย เราก็เลยตัดสินใจว่าเราจะไม่สร้างระยะห่างระหว่างเรากับครอบครัวนี้</p>
<p>จะมีโมเมนต์ที่ว่าเราถ่ายๆ อยู่แล้วความเป็นตากล้อง ก็จะคอยดูเฟรมตลอด แต่เวลาเราดูเฟรม เราก็ไม่สามารถคอนเนกต์กับคนที่เรากำลังคุยอยู่ด้วย</p>
<p>โมเมนต์ที่เราพูดคุยกับเขา เราก็ต้องไม่สนใจกล้อง เพื่อให้ได้โมเมนต์นี้ไปเรื่อยๆ กล้องนี้มันก็ถ่ายของมันไป ได้อะไรมาก็ค่อยว่ากัน แล้วมันก็…ได้อย่างที่เห็น (หัวเราะ)</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">สารคดีที่ไม่ได้ดรามาสุดทางแบบนี้ ขอทุนยากไหม</span></h2>
<p>ยากเหมือนกัน เพราะว่าเราก็ต้องไปขอทุนจากศูนย์มานุษฯ (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) อย่างศูนย์มานุษฯ ยังดีเพราะว่าเขาเก็ตวิธีการทำงานของเรา ไม่เหมือนกับช่องข่าวทีวีต่างประเทศ เพราะว่าช่องพวกนี้เขาต้องการดรามา ต้องการบริบท เขาอยากที่จะรู้ว่าตอนนี้โลกมันโหดร้ายแค่ไหน แต่ว่ามันไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการจะนำเสนอในรูปแบบนั้น </p>
<p>เราต้องการที่จะนำเสนอครอบครัวนี้ในรูปแบบ greatful resilience (ความอดทนและความมีศักดิ์ศรี) ของเขา ซึ่งเป็นสิ่งที่เราเห็นและเราแค่อยากนำเสนอสิ่งที่เราเห็น อย่างน้อยศูนย์มานุษฯ เขาก็เก็ต เขามองประเด็นต่างๆ ด้วยสายตาของความเป็นมนุษย์ </p>
<p>แล้วก็สำหรับที่อื่นๆ อย่าง Purin Pictures หรือสิงคโปร์ เขาก็ซัพพอร์ตอะไรที่เกี่ยวกับภาพยนตร์อยู่แล้ว </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เคสครอบครัวซูดานแบบนี้ มีอีกเยอะมั้ยในไทย</span></h2>
<p>ในไทยไม่ค่อยมี เหมือนจากซูดานนี่มันต้องแยกด้วยว่าซูดาน หรือซูดานใต้ เพราะมันไม่เหมือนกัน แต่ที่เรารู้จักมีอยู่ไม่กี่คน มีน้อย ส่วนใหญ่จะมาจากปากีสถาน โซมาเลีย คองโก </p>
<p>อย่างปากีสถานในไทยนี่เยอะ ในกรุงเทพฯ </p>
<p>ปากีสถานที่หนีมาเพราะปัญหาเรื่องศาสนา ที่เรารู้จักส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาคริสต์กัน ส่วนซูดานเป็นปัญหาความขัดแย้งภายใน</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545567549_c4274c2113_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">โมเมนต์ที่ประทับใจที่สุด</span></h2>
<p>มีโมเมนต์หนึ่งที่อยากใส่ในหนังแต่ใส่ไม่ได้เพราะว่ามันไม่เวิร์ค เป็นโมเมนต์ที่คุณแม่ให้เราช่วยดูการบ้านของน้อง เพราะพ่อแม่เขาอ่านการบ้านภาษาไทยไม่ออก คุณแม่เล่าให้เราฟังว่าอยากจะช่วยสอนการบ้านลูกแต่ว่าช่วยไม่ได้เพราะทุกอย่างเป็นภาษาไทยหมด </p>
<p> จริงๆ เรื่องภาษา เป็นเรื่องที่เราพยายามจะสื่อในหนังเรื่องนี้ด้วย เพราะเรารู้สึกว่ามันสำคัญสำหรับเรา ครอบครัวนี้เขาคุยกันด้วยภาษาอาหรับ แต่ว่าแม่เขาก็บ่นให้เราฟังว่าลูกๆ คุยกันเองเป็นภาษาไทย อะไรที่ไม่อยากให้แม่กับพ่อรู้ก็จะคุยกันเองเป็นภาษาไทย มีเราอยู่ด้วยเราจะได้ช่วยเล่าให้แม่เขาฟังว่าลูกคุยอะไรกัน</p>
<p>ตอนแรกเราไม่รู้ว่าลูกๆ เขาพูดภาษาไทยกัน โมเมนต์นี้เป็นจุดเริ่มต้นหลายๆ อย่างตอนที่เรารู้ว่าลูกเขาพูดภาษาไทยกันเอง มันทำให้เรานึกถึงสมัยที่เราอยู่อเมริกาตอนเด็กๆ เรากับน้องอยู่ๆ ก็ได้ภาษาอังกฤษขึ้นมาโดยที่พ่อกับแม่เราตั้งตัวไม่ทัน</p>
<p>ในครึ่งหลังของเรื่อง ถ้าเกิดสังเกตจดหมายจากพ่อกับแม่ (ที่ส่งมาหาลูกตอนที่พ่อแม่โดนกักตัวอยู่ที่ ตม.) จดหมายก็เป็นภาษาอังกฤษ เราก็ถามว่าทำไมถึงเป็นภาษาอังกฤษ แม่เขาก็เล่าให้ฟังว่าเพราะลูกๆ เขาอ่านภาษาอารบิกไม่ออก เวลาเขาจะเขียนอะไรให้ลูกๆ เขาจึงต้องเป็นภาษาอังกฤษ น้องๆ พูดอารบิกได้ แต่จะอ่านเขียนไม่ได้ เพราะจะได้ภาษาไทยมากกว่า  </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ตอนที่ไปเจอ ครอบครัวนี้อยู่ไทยมากี่ปีแล้ว</span></h2>
<p>เขาอยู่มาหลายปีแล้ว แต่เราย้ายกลับมาไทยปี 2016 (พ.ศ. 2559) แล้วเราเจอเขา…น่าจะเริ่มถ่ายกับเขาประมาณปี 2017  (พ.ศ. 2560) ซึ่งเป็นตอนที่น้องๆ พูดไทยกันได้แล้ว</p>
<p>ตอนแรกเราคุยกับเขาเป็นภาษาอังกฤษเพราะเราไม่รู้ จนกระทั่งเราได้ยินพวกเขาคุยกันเองเป็นภาษาไทย แล้วเขาก็คุยกับเราเป็นภาษาอังกฤษแบบเกร็งๆ เขินๆ พอเราพูดไทยก็กลายเป็นว่าพวกเขาก็พูดกับเราเยอะเลย จากที่ก่อนหน้านั้นไม่ค่อยพูด</p>
<p>ครอบครัวนี้พาสปอร์ตหมดอายุ เข้ามาด้วยวีซ่าท่องเที่ยว ง่ายๆ ก็คือครอบครัวนี้อยู่เกินกำหนดวีซ่า</p>
<p>จริงๆ แล้วโรงเรียนอาจจะรับเข้าเรียนเพราะว่าพวกเขายังเด็ก ในแง่กฎหมาย เป็นสิทธิที่น้องๆ เขามีอยู่แล้ว เพราะว่าไทยเซ็นสัญญาปกป้องสิทธิเด็กของสหประชาชาติ</p>
<p>แต่ว่าประเทศไทยไม่ได้เซ็นสัญญาเรื่องผู้ลี้ภัย เพราะฉะนั้นพ่อกับแม่ หรือถ้าเด็กโตไปเป็นผู้ใหญ่ สิทธิเสรีภาพต่างๆ ก็จะหดน้อยลงไปเรื่อยๆ ยิ่งเราโตขึ้นมันก็จะยิ่งหดลง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545232806_d8cdd136b6_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เหมือนพ่อแม่จะอยู่แต่ในบ้าน</span></h2>
<p>พ่อแม่ส่วนมากอยู่แต่ในบ้าน มีไปทำธุระที่นั่นที่นี่บ้าง</p>
<p>ก่อนหน้านั้นเขาทำอาชีพอะไร เป็นเหตุผลที่ได้ไปแคนาดาด้วยไหม</p>
<p>อาจจะมีส่วน ครอบครัวนี้เขาน่าจะอยู่ในฐานะชนชั้นกลางประมาณหนึ่ง เพราะว่าพ่อกับแม่เป็นคนมีการศึกษา พ่อเป็นนักออกแบบตกแต่งภายใน ส่วนแม่ เรียนจบมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับด้านปศุสัตว์การแพทย์</p>
<p>เราก็ยังคิดอยู่ในใจว่า 6 ปีที่เขาอยู่ในไทยเขาน่าจะได้ทำอะไรอย่างอื่นได้ ทำไมต้องมาอยู่แต่ในห้อง แต่พอย้ายไปแคนาดาได้สัก 1-2 ปี เขาก็มีอาชีพแล้ว</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ในฐานะคนทำหนัง เรามีความคาดหวังอย่างไร</span></h2>
<p>เราคาดหวังกับการฉายในประเทศไทยมากที่สุด หลักๆ เลยเราทำหนังเรื่องนี้เพราะว่าเราอยากจะจินตนาการถึงอนาคต ความเป็นไปได้ใหม่ๆ สำหรับประเทศไทย</p>
<p>ในแง่ที่ว่าถ้าเด็กพวกนี้โตขึ้นมาแล้วต้องอยู่เมืองไทยตลอดไปจริงๆ ถ้าเกิดโดนปฏิเสธขึ้นมา ถ้า UNHCR (สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ) ปฎิเสธเคส 2-3 รอบ ก็คือโดนปฎิเสธไปเลย ก็คือไม่ได้มีทางเลือกอะไรอย่างอื่นแล้วนอกจากจะต้องอยู่ที่นี่หรือกลับประเทศตัวเอง   </p>
<p>การอยู่ที่นี่ก็เป็นสถานการณ์แบบนี้ เขาก็ต้องอยู่แบบนี้ ทั้งๆ ที่เขาก็จะซึมซับความเป็นไทย ภาษา วัฒนธรรม สภาพสังคม สภาพแวดล้อม ทุกสิ่งทุกอย่าง ซึ่งตอนนี้ก็มีอยู่ เด็กคนอื่นๆ ที่เป็นคนม้งเวียดนามที่เรารู้จัก หรือว่าเด็กที่มาจากประเทศเพื่อนบ้านที่ตามพ่อแม่มาอยู่ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม เราก็พยายามคิดถึงอนาคตว่าพวกเขาจะอยู่ยังไง เราจะสามารถเปิดให้พวกเขา หลอมรวมกับสังคมเราได้มากน้อยแค่ไหน</p>
<p>แล้วเราก็คิดไปถึงว่า ถ้าเกิดเราไปถึงจุดนั้นได้ หน้าตาของคนไทยสามารถเปลี่ยนไปด้วยได้ไหม เด็กแอฟริกันพวกนี้ก็คงไม่ต่างจากเด็กไทยทั่วไป ในหนังจะเห็นว่าพวกเขาก็เป็นเด็กไทยใช่ไหม </p>
<p>เราก็อยากจะตั้งคำถามว่าอะไรคือความเป็นไทย ขอบเขตของสิ่งนี้อยู่ตรงไหน และสามารถยืดหยุ่นได้หรือเปล่า หรือว่าทำลายขอบเขตของมันไปได้เลย เพื่อที่จะนับรวมคนอื่นๆ ได้</p>
<div class="summary-box">
<ul>
<li>Hours of Ours (รอวัน) เข้าโรงแล้ววันนี้ 22 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ที่ Doc Club &amp; Pub. และ House Samyan</li>
<li>เมื่อปี 2566 ภาพยนตร์สารคดี รอวัน | Hours of Ours ออกฉายสู่สายตาชาวโลกเป็นครั้งแรกในเทศกาลนานาชาติ Visions du Réel ที่จัดขึ้นที่เมืองนีออน (Nyon) ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ต่อมาได้ฉายในเทศกาลสารคดีนานาชาติ Beyond Borders Kastellorizo International Documentary Festival ครั้งที่ 8 ที่ประเทศกรีซ </li>
<li>รอวัน | Hours of Ours ฉายที่สมาคมฝรั่งเศส (Alliance Française) ที่เมืองไนโรบี ประเทศเคนยา ในโปรแกรมพิเศษที่ชื่อว่า Focus Sudan</li>
<li>ภาพยนตร์สารคดี รอวัน | Hours of Ours ฉายครั้งแรกในเอเชียที่เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติสิงคโปร์ SGIFF ครั้งที่ 34 ต่อมาได้ฉายในงานเทศกาลภาพยนตร์สารคดี Festival Film Dokumenter ที่เมืองยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย จากนั้นจึงเข้ามาฉายที่ไทย</li>
</ul>
</div>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108177
 
1370  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - อัตราว่างงานในกลุ่มประเทศอาหรับยังสูง สวนทางเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 11:03:21
อัตราว่างงานในกลุ่มประเทศอาหรับยังสูง สวนทางเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2024-02-23 10:16</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>รายงานฉบับใหม่ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ชี้ว่าอัตราว่างงานในกลุ่มประเทศอาหรับยังคงสูง สวนทางกับเศรษฐกิจที่ฟื้นตัว แนะต้องเพิ่มความหลากหลายและการสร้างงานที่มีคุณค่าในภาคส่วนต่าง ๆ ให้มากขึ้น</p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#f39c12;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53543136439_fe3c6ce296_o_d.png" />
ที่มาภาพ: ILO</span></p>
<p>รายงานฉบับใหม่โดยองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) สำนักงานภูมิภาคอาหรับ เผยว่าอัตราการว่างงานในภูมิภาคอาหรับคาดว่าจะยังคงสูงอยู่ที่ 9.8% ในปี 2024 ซึ่งสูงกว่าระดับก่อนเกิดโรคโควิด-19 ระบาด สาเหตุนี้สะท้อนถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อตลาดแรงงานในภูมิภาคนี้ เช่น การแบ่งแยก ความไร้เสถียรภาพทางการเมือง ความขัดแย้ง ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ ภาคเอกชนที่อ่อนแอ และแรงกดดันด้านประชากรศาสตร์</p>
<p>รายงาน 'Arab States Employment and Social Outlook - Trends 2024: Promoting social justice through a just transition' ยังคาดการณ์ว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ในภูมิภาคอาหรับมีแนวโน้มเติบโต 3.5% ในปี 2024 โดยกลุ่มประเทศสมาชิกสภาความร่วมมืออ่าวเปอร์เซีย (GCC) มีการเติบโตที่เร็วกว่าประเทศนอกกลุ่ม GCC (3.7% เทียบกับ 2.6%)</p>
<p>อย่างไรก็ตาม การฟื้นตัวของตลาดแรงงานหลังโควิด-19 ยังคงตามหลังการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจ และยังขาดแคลนตำแหน่งงานที่เหมาะสมสำหรับประชากรวัยทำงานที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น รายงานระบุว่าประเทศในกลุ่ม GCC มีการแบ่งแยกระหว่างชาวต่างชาติกับผู้อยู่อาศัย และระหว่างภาครัฐกับภาคเอกชน ส่วนประเทศนอกกลุ่ม GCC มีปัญหาความไม่มีสเถียรภาพ ความขัดแย้ง ภาวะวิกฤต ภาคเอกชนที่อ่อนแอ และแรงกดดันด้านประชากรศาสตร์ ในปี 2023 ILO ประมาณการว่ามีผู้คนในภูมิภาคอาหรับ 17.5 ล้านคน ที่ต้องการทำงานแต่หางานไม่ได้ ส่งผลให้อัตราการว่างงานอยู่ที่ 23.7%</p>
<p>“เนื่องในวันความยุติธรรมทางสังคมโลก เราจึงเปิดตัวการวิเคราะห์นี้เกี่ยวกับแนวโน้มการจ้างงานและตลาดแรงงานในภูมิภาค และระบุวิธีส่งเสริมการทำงานที่เหมาะสมและความยุติธรรมทางสังคมในภูมิภาคของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านการแก้ไขความไม่เท่าเทียมกันและการคุ้มครองแรงงาน” ราบา จาราดัต (Ruba Jaradat) ผู้อำนวยการ ILO ภูมิภาคอาหรับ กล่าว</p>
<p>“สถานการณ์ตลาดแรงงานในกลุ่มประเทศอาหรับซับซ้อนและต้องมีการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เราหวังว่ารายงานนี้จะแนะนำแนวทางแก้ไข ไม่เพียงแต่ตลาดแรงงานที่ดีขึ้น แต่ยังรวมถึงสันติภาพและเสถียรภาพทั่วภูมิภาคของเราด้วย” จาราดัต กล่าว</p>
<p>เนื่องจากกลุ่มประเทศอาหรับเผชิญกับความท้าทายสองประการ ได้แก่ การกระตุ้นการเติบโตทางเศรษฐกิจและการสร้างงานที่มีคุณค่ามากขึ้น รายงานระบุว่าจำเป็นต้องเพิ่มความพยายามในการกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศผู้ผลิตน้ำมันที่เผชิญกับความผันผวนของราคาน้ำมัน และสร้างงานในภาคส่วนที่มีความยืดหยุ่นมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งและความไม่มั่นคง</p>
<h2><span style="color:#3498db;">ความท้าทายด้านตลาดแรงงาน</span></h2>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53543371365_b60ec73e0e_o_d.png" />
<span style="color:#f39c12;">ที่มาภาพ: ILO</span></p>
<p>รายงานยังระบุถึงปัญหาการจ้างงานหลายอย่างในภูมิภาคนี้ ที่ฝังรากมาจากปัญหาการสร้างงานที่มีคุณค่าให้เพียงพอต่อประชากรวัยทำงาน คนทำงานกว่าครึ่งหนึ่งทำงานในรูปแบบไม่เป็นทางการและไม่มั่นคง ไม่มีหลักประกันทางสังคมหรือสวัสดิการอื่น ๆ งานที่ไม่คงส่งผลกระทบต่อแรงงาน 7.1 ล้านคน หรือคิดเป็น 12.6% ของการจ้างงานทั้งหมดในปี 2023 นอกจากนี้ยังมีอุปสรรคสำคัญด้านอุปทาน ระบบการศึกษาและการพัฒนาทักษะที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดปัญหาทักษะที่คนทำงานมีไม่ตรงกับทักษะที่นายจ้างต้องการ สิ่งเหล่านี้ทำให้อัตราการว่างงานในภูมิภาคอาหรับมีสูงมาก แม้กระทั่งในกลุ่มผู้ที่มีการศึกษาระดับสูง แต่ถ้าเป็นผู้หญิง คนหนุ่มสาว และแรงงานต่างชาติ ก็ยังคงอยู่ในสถานการณ์ที่เสียเปรียบในตลาดแรงงาน</p>
<p>รายงานยังเน้นย้ำถึงวิกฤตผู้ลี้ภัยในภูมิภาค ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญต่อตลาดแรงงาน แม้ว่าซีเรียจะเป็นแหล่งส่งออกผู้ลี้ภัยที่ใหญ่ที่สุดในโลก แต่เลบานอนและจอร์แดนก็เป็นประเทศผู้รับผู้ลี้ภัยรายใหญ่ด้วยเช่นกัน โดยมีจำนวนผู้ลี้ภัยต่อหัวสูงที่สุดในโลก ผู้ลี้ภัยประสบความยากลำบากในการหางานในประเทศที่รองรับพวกเขา ซึ่งพวกเขาต้องแข่งขันกับคนท้องถิ่น หลายคนจึงหันไปทำงานแบบไม่เป็นทางการ</p>
<p>สิ่งที่น่ากังวลไม่แพ้กันคือ การเพิ่มขึ้นของผู้พลัดถิ่นภายในประเทศอันเกิดจากความขัดแย้ง ความรุนแรง และภัยธรรมชาติ ซีเรีย เยเมน อิรัก และปาเลสไตน์ เผชิญกับวิกฤตการพลัดถิ่นภายในประเทศ ก่อให้เกิดความตึงเครียดอย่างมากต่อทรัพยากรและโครงสร้างพื้นฐานของพวกเขา</p>
<p>ภูมิภาคอาหรับยังเผชิญกับทั้งความท้าทายและโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมและภูมิอากาศ รายงานพบว่า ด้วยนโยบายเศรษฐกิจสีเขียวที่เหมาะสมสำหรับภูมิภาคนี้ สามารถเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ได้ 200 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และสร้างงานได้อีก 2 ล้านตำแหน่งภายในปี 2050 อย่างไรก็ตาม ต้องมีการกำหนดนโยบายและมาตรการที่เหมาะสมเพื่อให้แน่ใจว่ามีการเปลี่ยนผ่านอย่างยุติธรรม โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง</p>
<h2><span style="color:#3498db;">ก้าวไปข้างหน้า</span></h2>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://www.ilo.org/wcmsp5/groups/public/---arabstates/---ro-beirut/documents/image/wcms_913036.jpg" />
<span style="color:#f39c12;">ที่มาภาพ: ILO</span></p>
<p>"การส่งเสริมการสร้างตำแหน่งงานที่มีคุณค่าในเศรษฐกิจสีเขียว มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม ขจัดการเลือกปฏิบัติ และสร้างหลักประกันว่าจะไม่มีใครถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ไม่ว่าจะเป็นด้านอายุ เพศ สัญชาติ หรือศาสนา" คำพูดนี้กล่าวโดยทาริก ฮัส (Tariq Haq) ผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายการจ้างงานของ ILO และหัวหน้าหน่วยวิเคราะห์เศรษฐกิจและสังคมประจำภูมิภาคอาหรับ ซึ่งเป็นผู้นำในการจัดทำรายงานฉบับนี้ </p>
<p>"ความพยายามร่วมมือกันและการบูรณาการ จำเป็นต้องพิจารณาทั้งด้านอุปทานและอุปสงค์ของตลาดแรงงาน รวมถึงการเชื่อมโยงระหว่างทั้งสองด้าน รายงานฉบับนี้นำเสนอชุดคำแนะนำเชิงนโยบายเพื่อบรรลุสิ่งนี้" ฮัส กล่าว</p>
<p>คำแนะนำต่าง ๆ ในรายงานฉบับนี้ประกอบไปด้วย </p>
<ul>
<li>การออกแบบและดำเนินนโยบายมหภาคและนโยบายภาคเศรษฐกิจที่สนับสนุนการจ้างงานที่ครอบคลุม </li>
<li>การสร้างปัจจัยเอื้อต่อการเติบโตของภาคการผลิตและบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูง </li>
<li>การปรับปรุงระบบทักษะและการศึกษารวมถึงส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต </li>
<li>คำแนะนำเพิ่มเติมเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านจากเศรษฐกิจนอกระบบไปสู่เศรษฐกิจที่เป็นทางการ </li>
<li>การปิดช่องว่างความเหลื่อมล้ำทางเพศ </li>
<li>การปรับปรุงข้อมูลตลาดแรงงาน </li>
<li>การแก้ไขความไม่เท่าเทียม และปกป้องสิทธิแรงงาน </li>
<li>มาตรการเฉพาะต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการเปลี่ยนผ่านอย่างยุติธรรม</li>
</ul>
<p>อนึ่งประเทศที่ทำการศึกษาในรายงานฉบับนี้ประกอบไปด้วย บาห์เรน อิรัก จอร์แดน คูเวต เลบานอน ปาเลสไตน์ โอมาน กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย ซีเรีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และเยเมน</p>
<p><strong>ที่มา:</strong>
High unemployment rates to worsen despite optimistic economic outlook in Arab States (ILO, 20 February 2024)</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108180
 
1371  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - ประวัติ "พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ปานแก้ว" ผู้ไม่เกรงกลัวอิทธิพล และเคยบุกค้น "ชาดา เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 10:21:05
ประวัติ "พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ปานแก้ว" ผู้ไม่เกรงกลัวอิทธิพล และเคยบุกค้น "ชาดา ไทยเศรษฐ์"
         


ประวัติ &quot;พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ปานแก้ว&quot; ผู้ไม่เกรงกลัวอิทธิพล และเคยบุกค้น &quot;ชาดา ไทยเศรษฐ์&quot;" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;เปิดประวัติ “พล.ต.ต.จรูญเกียรติ ปานแก้ว” นายตำรวจที่มีภารกิจปราบผู้มิอิทธิพลโดยไม่เกรงกลัว และล่าสุดได้บุกจับ “ลูกเขยชาดา” กรณีเรียกรับสินบน 6 แสนบาท

         

https://www.sanook.com/news/9080970/
         
1372  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - มาแล้ว! ทะเบียนรถป้ายแดง สมเด็จฮุนเซน เข้าบ้านจันทร์ส่องหล้า เยี่ยมทักษิณ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 09:50:31
มาแล้ว! ทะเบียนรถป้ายแดง สมเด็จฮุนเซน เข้าบ้านจันทร์ส่องหล้า เยี่ยมทักษิณ
         


มาแล้ว! ทะเบียนรถป้ายแดง สมเด็จฮุนเซน เข้าบ้านจันทร์ส่องหล้า เยี่ยมทักษิณ" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;ส่องทะเบียนป้ายแดงเลขสวย "สมเด็จฮุนเซน" ประธานคณะองคมนตรีกัมพูชา นั่งเข้าบ้านจันทร์ส่องหล้า เข้าเยี่ยม "ทักษิณ ชินวัตร"
         

https://www.sanook.com/news/9249806/
         
1373  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "หนุ่ม สันติสุข" ย้อนเล่าอดีตความรัก "จินตหรา" เปิดใจ! ตำนานเจ้าชู้ตัวพ่อยุ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 07:49:48
"หนุ่ม สันติสุข" ย้อนเล่าอดีตความรัก "จินตหรา" เปิดใจ! ตำนานเจ้าชู้ตัวพ่อยุค 80's
         


&quot;หนุ่ม สันติสุข&quot; ย้อนเล่าอดีตความรัก &quot;จินตหรา&quot; เปิดใจ! ตำนานเจ้าชู้ตัวพ่อยุค 80" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;"หนุ่ม สันติสุข" ย้อนเล่าอดีตความรัก "จินตรา" เปิดใจ! แบบหมดเปลือก ตำนานเจ้าชู้ตัวพ่อยุค 80's ก่อนจะหยุดเพราะเจอรักแท้
         

https://www.sanook.com/news/9254178/
         
1374  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - เริ่มแล้วภารกิจกู้ซาก "เรือหลวงสุโขทัย" เผยสภาพใต้ทะเล หลังอับปางนานกว่า 1 ปี เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 05:19:09
เริ่มแล้วภารกิจกู้ซาก "เรือหลวงสุโขทัย" เผยสภาพใต้ทะเล หลังอับปางนานกว่า 1 ปี
         


เริ่มแล้วภารกิจกู้ซาก &quot;เรือหลวงสุโขทัย&quot; เผยสภาพใต้ทะเล หลังอับปางนานกว่า 1 ปี" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;เริ่มแล้วปฏิบัติการกู้ซาก "เรือหลวงสุโขทัย" กองทัพเรือไทยและกองทัพสหรัฐฯ ร่วมกันปฏิบัติภารกิจ เผยภาพใต้น้ำหลังอับปางนานกว่า 1 ปี  
         

https://www.sanook.com/news/9255438/
         
1375  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - กวีประชาไท: เพราะรักจึงสลักอักษรา? เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 05:00:23
กวีประชาไท: เพราะรักจึงสลักอักษรา?
 


<span class="submitted-by">Submitted on Thu, 2024-02-22 21:16</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ธุลีดาวหาง</p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><div class="poet-box">
<p> </p>
<p> </p>
<p>กาลเวลานิรันดร์นี้มีปลาบปลื้ม
ถูกลืมถูกจำดื่มด่ำสูญ
สังคมมนุษย์สุดเศร้าเงาอาดูร
ความจำรูญกูลเกื้อเหลือรอคอย</p>
<p>การต่อสู้แก่งแย่งแข่งขันดั่งพันผูก
ตรงข้ามปลูกฝังรักก็ไม่ท้อถอย
สงครามตามด้วยสันติมิไร้รอย
ทุกอย่างค่อย ๆ ผ่านกับกาลเวลา</p>
<p>ใหม่แล้วเก่าเคล้าคลุกสมบุกสมบัน
มหัศจรรย์การสรรค์สร้างวางคอยท่า
ดีและชั่วกลั้วเกลือกเลือกตีตรา
บันทึกว่าค่าของคนผลจากอะไร?</p>
<p>ตัวอักษรแต่อ้อนแต่ออกหมายบอกเล่า
อย่าลืมเราผู้เขียนขีดกรีดหินไว้
ครั้งหนึ่งเคยมาบั่นบุกในยุคสมัย
วาดภาพใส่แผ่นผาจารึกนาม</p>
<p>ยามสงบสงัดจัดความคิด
พลันลิขิตอักขระยากจะถาม
เกิดภาษาสารพันอันหมายความ
เดินทางข้ามกาลเวลามาหาเธอ</p>
<p>กันลืมเลือนครั้งหนึ่งซึ่งมี"ฉัน"
แถวนั้นบันทึกไว้ให้เห็นเสมอ
อย่าลืมนั้นบรรพบุรุษขุดค้นเจอ
ขีดเขียนเพ้อฝันไว้ในวารวัน</p>
<p>การเดินทางกลางกาลผ่านพื้นโลก
มีทั้งโชคและเคราะห์เพราะผกผัน
จากภาพวาดทุกวิญญาบนผาชัน
บันทึกมันไว้ให้เธอเผลอเงยมอง</p>
<p>ครั้งหนึ่งเคยมี"เรา"เข้ามาที่นี่
ชีวีที่มีลมหายใจไปเกี่ยวข้อง
อักขระและภาพหมายฉายแสงส่อง
ครั้งหนึ่งของที่นี่,ที่นั่น ใช่บรรพชน</p>
<p>กาลเวลานิรันดร์นี้อาจมีลืม
ความด่ำดื่มปลื้มปลาบอาบลมฝน
อักขระจะเพียรชี้วิถีคน
ที่หมุนวนในวัฏฏะจักรวาล</p>
<p>ใช้บันทึกทุกเรื่องราวการก้าวย่าง
ใช้สะสางสื่อประเด็นเห็นแก่นสาร
พลังใดริเริ่มแฝงแรงบันดาล?
เพื่อส่งผ่านสาระประทับใจ</p>
<p>ไม่ลืมหลง....คนยังคงยืนเด่นโดยท้าทาย......
เพราะจุดหมายที่ใฝ่ฝันนั้นยิ่งใหญ่
บนดาวโลกโชค,เคราะห์สะเดาะได้
ก้าวใกล้หรือไกลก็ไม่ครณา</p>
<p>จงรักในมนุษยธรรมนำลึกซึ้ง
ภักดีซึ่งพันธะปรารถนา
เสรีภาพเสมอภาคใต้ฟากฟ้า
และภราดรภาพตราบนิรันดร์</p>
</div>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">บทควhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108175
 
1376  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - รวมมาให้ครบทุกคัน! ทะเบียนขบวนรถ "ฮุนเซน" เข้าเยี่ยม "ทักษิณ" ที่บ้านจันทร์ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 03:42:00
รวมมาให้ครบทุกคัน! ทะเบียนขบวนรถ "ฮุนเซน" เข้าเยี่ยม "ทักษิณ" ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า
         


รวมมาให้ครบทุกคัน! ทะเบียนขบวนรถ &quot;ฮุนเซน&quot; เข้าเยี่ยม &quot;ทักษิณ&quot; ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า" width="100" height="100&nbsp;&nbsp; มาถึงแล้ว! "ฮุนเซน" นั่งรถหรูทะเบียนสวย เข้าเยี่ยม "ทักษิณ" ที่บ้านจันทร์ส่องหล้า


         

https://www.sanook.com/news/9249910/
         
1377  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - 'ทานตะวัน' ถูกส่งตัวเข้า รพ.ธรรมศาสตร์ หลังอดอาหาร-น้ำวันที่ 9 ยืนข้อเรียกร้อ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 03:10:07
'ทานตะวัน' ถูกส่งตัวเข้า รพ.ธรรมศาสตร์ หลังอดอาหาร-น้ำวันที่ 9 ยืนข้อเรียกร้อง 3 ข้อ
 


<span class="submitted-by">Submitted on Thu, 2024-02-22 21:32</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพปก/ภาพประกอบ: แมวส้ม ประชาไท</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><div class="summary-box">
<ul>
<li>'ทานตะวัน' ถูกส่งตัวเข้าโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ฯ หลังเธออดอาหารและน้ำประท้วง 9 วันติดต่อกัน เจ้าตัวยืนยันไม่รับการรักษา เดินหน้าประท้วงต่อ ยืนข้อเรียกร้อง 3 ข้อ</li>
<li>ด้านศาลยกร้องขอประกัน 'ทานตะวัน-ณัฐนนท์' ระบุไม่มีเหตุให้เปลี่ยนแปลงคำสั่ง</li>
</ul>
</div>
<p> </p>
<p>22 ก.พ. 2567 ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน รายงานวันนี้ (22 ก.พ.) เมื่อ 15.15 น. ทานตะวัน ตัวตุลานนท์ นักกิจกรรมอิสระ ถูกส่งตัวจากโรงพยาบาลราชทัณฑ์ ไปรักษาตัวที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จ.ปทุมธานี หลังนักกิจกรรมคนดังกล่าวอดอาหารและน้ำประท้วง 9 วันติดต่อกัน เรียกร้อง 3 ข้อ 1. ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม 2. ต้องไม่มีการคุมขังผู้เห็นต่างทางการเมือง และ 3. ไทยไม่สมควรได้เป็นคณะมนตรีด้านสิทธิมนุษยชน แห่งองค์การสหประชาชาติ</p>
<p style="text-align: center;">
<iframe allow="accelerometer; autoplay; clipboard-write; encrypted-media; gyroscope; picture-in-picture; web-share" allowfullscreen="" frameborder="0" height="315" src="https://www.youtube.com/embed/oqsRGpQgG2c?si=BZVUSQsHbikR0ABH" title="YouTube video player" width="560"></iframe></p>
<p style="text-align: center;"> </p>
<blockquote class="twitter-tweet"><p dir="ltr" lang="th" xml:lang="th">ด่วน! #ตะวัน ถูกย้ายตัวจาก รพ.ราชทัณฑ์ ไปยัง รพ.ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติแล้วเมื่อช่วงบ่ายวันนี้ (22 ก.พ.) หลังอดอาหารและน้ำประท้วงเข้าสู่วันที่ 9 เพื่อ 3 ข้อเรียกร้อง ซึ่งได้แก่</p>
<p>1. ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม
2. ต้องไม่มีคนติดคุกเพราะเห็นต่างทางการเมืองอีก
3.… pic.twitter.com/cyfTtMvpIG</p>
<p>— TLHR / ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (@TLHR2014) February 22, 2024</p>
<script async="" src="https://platform.twitter.com/widgets.js" charset="utf-8"></script><p> </p>
<p>จากการเข้าเยี่ยมของทนายความในเช้าวันนี้ (22 ก.พ.) พบว่า ทานตะวัน ดูอ่อนแรงและเหนื่อยล้ามาก ไม่มีการขับถ่ายแล้ว ปัสสาวะออกเพียงนิดเดียว มีความรู้สึกพะอืดพะอมตลอดเวลา รู้สึกร้อนมากจากข้างในร่างกาย ซูบผอมมาก จนเห็นกระดูกไหปลาร้า ช่วงหน้าอกเห็นกระดูก หน้าตอบจนเห็นสันกราม ใต้ตาคล้ำ ผิวหน้าดูโทรมคล้ำ และปากแห้งแตกจนลอกออก</p>
<p>อย่างไรก็ตาม ทานตะวัน ยืนยันจะไม่รับการรักษา รวมถึงยืนยันที่จะเดินหน้าอดน้ำและอาหารประท้วงต่อไปเช่นเดิมตาม 3 ข้อเรียกร้องที่ได้ประกาศไว้</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545530344_9b23e6f7be_h.jpg" /></p>
<p>ทั้งนี้ ศูนย์ทนายฯ รายงานก่อนหน้านี้ เมื่อเวลา 14.25 น. อัพเดทอาการของ ณัฐนนท์ ที่อดอาหารและน้ำประท้วงวันเดียวกับทานตะวัน โดยณัฐนนท์ แจ้งกับทนายความว่า เขารู้สึกทรมานมาก เหนื่อยมาก และเกือบยอมแพ้ อยากนอนแต่ไม่สามารถนอนได้ เพราะรู้สึกทรมาน</p>
<p style="text-align: center;"> </p>
<blockquote class="twitter-tweet"><p dir="ltr" lang="th" xml:lang="th">Update การอดอาหารและน้ำประท้วง
ของ ตะวัน - แฟรงค์ วันที่ 9 (22 ก.พ)</p>
<p>แฟรงค์ผลเลือดน่าเป็นห่วง หายใจลำบาก ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ ตะวันซูบผอม รู้สึกทรมานมาก นอนไม่หลับเลย แต่ยังยืนยันเดินหน้าประท้วงตาม #3ข้อเรียกร้อง</p>
<p>#ตะวัน</p>
<p>ตะวันบอกว่า “ไม่ไหวแล้ว ทรมานมาก”… pic.twitter.com/suwi045aeF</p>
<p>— TLHR / ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (@TLHR2014) February 22, 2024</p>
<script async="" src="https://platform.twitter.com/widgets.js" charset="utf-8"></script><p> </p>
<p>ณัฐนนท์ แจ้งทนายความ ระบุว่า ทุกครั้งก่อนนอนต้องใช้เครื่องให้ออกซิเจนผ่านทางจมูก แต่ต่อให้ใช้เครื่องช่วยหายใจก็ไม่สามารถนอนได้ เพราะเครียด และเป็นห่วงทานตะวันมาก </p>
<p>ศูนย์ทนายฯ ระบุต่อว่า เมื่อช่วงเช้าของวันนี้ (22 ก.พ.) ณัฐนนท์ อาเจียนออกมาเป็นน้ำใส รสเปรี้ยว ซึ่งเขาตั้งข้อสังเกตว่าเป็นน้ำย่อยหรือไม่ มีความรู้สึกำะอืดพะอม คอแห้งมาก และหายใจลำบาก</p>
<p>แพทย์ได้แจ้งว่า ผลตรวจเลือดของณัฐนนม์น่าเป็นห่วงมาก โดยเฉพาะค่าคีโตนในเลือดที่อยู่ในระดับอันตราย รวมถึงระดับน้ำตาลในเลือดที่ต่ำ</p>
<p>อาการของณัฐนนท์ จากศูนย์ทนายฯ ระบุเพิ่มว่า ตอนนี้ไม่มีการขับถ่าย ปัสสาวะออกน้อย ใบหน้าตอบจนเห็นสันกราม ช่วงตาลึกจนเห็นเป็นโครงกะโหลก เห็นไหปลาร้าและซี่โครงชัดเจนมาก ปากแห้งแตกจนลอก</p>
<p>ณัฐนนท์ ฝากข้อความถึงทานตะวัน เผยว่า "จะสู้ต่อไป ไม่เป็นไร จะอยู่เคียงข้างเสมอ ขอให้จำวันที่เราสู้อยู่บนรถด้วยกัน ถึงมันจะเหนื่อยและท้อบ้าง ก็จะสู้ต่อไป" </p>
<p>ทั้งนี้ ณัฐนนท์ ยังคงอยู่ที่โรงพยาบาลราชทัณฑ์ เช่นเดียวกับ 'เนติพร' (สงวนนามสกุล) หรือ บุ้ง กลุ่มทะลุวัง</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ยกคำร้องขอประกัน ทานตะวัน และ ณัฐนนท์</span></h2>
<p>ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน รายางานบนสื่อโซเชียลมีเดีย เมื่อเวลา 15.58 น. ทนายยื่นประกันตัว ทานตะวัน ตัวตุลานนท์ และ ณัฐนนท์ ไชยมหาบุตร หรือแฟรงค์ นักกิจกรรมอิสระ ข้อหามาตรา 116 และ พ.ร.บ.คอมฯ วางเงิน 70,000 บาท กรณีถ่ายคลิปบีบแตรขบวนเสด็จ เมื่อวันที่ 4 ก.พ. 2567 ที่ผ่านมา </p>
<p style="text-align: center;"> </p>
<blockquote class="twitter-tweet"><p dir="ltr" lang="th" xml:lang="th">วันนี้ (22 ก.พ.) ทนายความยื่นประกัน #ตะวัน - #แฟรงค์ ต่อศาลอาญา ด้วยหลักทรัพย์คนละ 70,000 บาท ซึ่งเป็นไปตามความประสงค์ของพ่อและแม่ตะวัน</p>
<p>แต่ศาล #ยกคำร้อง ไม่ให้ประกันทันที โดยให้เหตุผลว่า ที่ผู้ร้องอ้างว่าระหว่างถูกคุมขังอยู่ในเรือนจำผู้ต้องหา อดข้าว อดน้ำ และไม่รับการรักษา… pic.twitter.com/nnHol2FjqT</p>
<p>— TLHR / ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน (@TLHR2014) February 22, 2024</p>
<script async="" src="https://platform.twitter.com/widgets.js" charset="utf-8"></script><p> </p>
<p>ศาลมีคำสั่งยกคำร้องขอปล่อยตัวชั่วคราวโดยทันที โดยให้เหตุผลว่าที่ผู้ร้องอ้างว่าระหว่างถูกคุมขังอยู่ในเรือนจำผู้ต้องหา อดข้าว อดน้ำ และไม่รับการรักษา จนอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตและขอให้ปล่อยตัวชั่วคราวผู้ต้องหานั้น </p>
<p>ศาลเห็นว่าเป็นอำนาจและดุลยพินิจของกรมราชทัณฑ์ ในการดูแลส่งตัวไปรักษาตาม พ.ร.บ.ราชทัณฑ์ พ.ศ. 2560 มาตรา 55 และกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องได้ กรณีนี้จึงไม่มีเหตุที่จะเปลี่ยนแปลงคำสั่งเดิม ยกคำร้อง </p>
<p>สำหรับคดีของทานตะวัน และณัฐนนท์ ทั้งคู่ถูกออกหมายจับกุมตั้งแต่วันที่ 13 ก.พ. 2567 และถูกควบคุมหน้าศาลอาญา รัชดาภิเษก ในข้อหา ม.116 และ พ.ร.บ.คอมฯ ซึ่งเป็นเหตุการณ์สืบเนื่องจากที่ทานตะวัน ถ่ายคลิปบีบแตรขบวนเสด็จ เมื่อวันที่ 4 ก.พ.ที่ผ่านมา</p>
<p>ทานตะวัน และณัฐนนท์ ถูกจับกุมและถูกฝากขัง 1 วันที่ สน.ฉลองกรุง และได้ประกาศอดอาหารและน้ำคืนนั้นทันที เพื่อประท้วงและเรียกร้องให้มีการปฏิรูปกระบวนากรยุติธรรม ยุติการคุมขังผู้เห็นต่างทางการเมือง และเรียกร้องให้ไทยไม่ได้เป็นสมาชิกคณะมนตรีด้านสิทธิมนุษยชน แห่งองค์การสหประชาชาติ </p>
<p>วันที่ 14 ก.พ. 2567 ตำรวจได้นำตัวทานตะวัน และณัฐนนท์ ฝากขังต่อศาลอาญา รัชดาฯ ต่อมา ศาลมีคำสั่งอนุญาตให้ฝากขังเป็นเวลา 12 วัน และอนุญาตไม่ปล่อยตัวชั่วคราวชั้นสอบสวน นับตั้งแต่วันที่ 14-25 ก.พ. 2567</p>
<div class="more-story">
<p>ข่าวที่เกี่ยวข้อง</p>
<ul>
<li>ตำรวจแสดงหมายจับหน้าศาลอาญา‘ตะวัน-แฟรง’ คดีบีบแตรขบวนเสด็จ ‘สายน้ำ’ คดีพ่นสีกำแพงวัง</li>
<li>ศาลอนุญาตฝากขัง 'ตะวัน-แฟรงค์' คดีบีบแตรขบวนเสด็จ ทนายกำลังยื่นขอประกันตัว</li>
<li>‘ณัฐนนท์’ - ‘ทานตะวัน’ ถูกส่งตัวไป รพ. ราชทัณฑ์ หลังอดอาหาร-น้ำ 6 วัน พบการใช้ความรุนแรงในเรือนจำ</li>
<li>‘บุ้ง-ตะวัน-แฟรงค์’ อดอาหาร-น้ำต่อเพิ่มข้อเรียกร้อง ไทยไม่ควรถูกเลือกเป็นสมาชิกคณะมนตรีสิทธิฯ UN</li>
</ul>
</div>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108176
 
1378  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - โชว์ช้างว่ายน้ำสวนสัตว์เขาเขียว เจอดราม่าสงสารช้าง ชาวเน็ตช็อตฟีล สงสารควาญเถ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 02:46:44
โชว์ช้างว่ายน้ำสวนสัตว์เขาเขียว เจอดราม่าสงสารช้าง ชาวเน็ตช็อตฟีล สงสารควาญเถอะ!
         


โชว์ช้างว่ายน้ำสวนสัตว์เขาเขียว เจอดราม่าสงสารช้าง ชาวเน็ตช็อตฟีล สงสารควาญเถอะ!" width="100" height="100&nbsp;&nbsp;ช้างว่ายน้ำสวนสัตว์เขาเขียว เจอคนดราม่าสงสารช้าง ทรมานสัตว์ ชาวเน็ตช็อตฟีล สงสารควาญเถอะ เรียกน้องขึ้นจากน้ำยากสุดๆ
         

https://www.sanook.com/news/9255770/
         
1379  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ชีวิตผู้ลี้ภัยซูดานในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่ 3 คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พั เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 01:39:14
ชีวิตผู้ลี้ภัยซูดานในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่ 3 คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พัทลุง’
 


<span class="submitted-by">Submitted on Thu, 2024-02-22 22:14</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ทีมข่าวศิลปวัฒนธรรม สัมภาษณ์/เรียบเรียง </p>
<p>ถ่ายภาพ: อันนา หล่อวัฒนตระกูล</p>
<p>บทสัมภาษณ์นี้เปิดเผยเนื้อหาบางส่วนของภาพยนตร์</p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><div class="summary-box">
<ul>
<li>คุยกับ ‘คมน์ธัช ณ พัทลุง’ ผู้กำกับภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน) ที่เล่าเรื่องชีวิตประจำวันของครอบครัวผู้ลี้ภัยชาวซูดานที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ ขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่สามอย่างไร้จุดหมาย เมื่อไทยเป็นที่พักพิงชั่วคราวได้แต่ยังไม่ใช่บ้าน</li>
<li>Hours of Ours (รอวัน) เข้าโรงแล้ววันนี้ 22 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ที่ Doc Club &amp; Pub. และ House Samyan </li>
</ul>
</div>
<p>“ตอนที่เขา (ครอบครัวอิบราฮิม) เจอเรา เราถือกล้อง เราถ่ายคนม้งเวียดนามอยู่แล้ว เขามารู้จักเราพร้อมกับกล้องเรา เพราะฉะนั้นเขาก็รู้ว่าไอ้เด็กคนนี้มันมีกล้อง มันถ่ายอะไรซักอย่างอยู่”</p>
<p>คมน์ธัช ณ พัทลุง ผู้กำกับภาพยนตร์ Hours of Ours (รอวัน) เล่าให้เราฟังถึงที่มาที่ไปของการได้ไปรู้จัก ‘ครอบครัวอิบราฮิม’ ซึ่งเป็นครอบครัวผู้ลี้ภัยชาวซูดานที่หนีออกจากประเทศมายังกรุงเทพฯ เพื่อขอลี้ภัยไปประเทศที่สาม </p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53527304632_fb9a8904fb_b.jpg" /></p>
<p>เขาเกิดที่ไทย แต่เติบโตแบบย้ายไปย้ายมาระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาด้วยหน้าที่การงานของคุณพ่อ หลังจากเรียนจบสาขาวิทยุ โทรทัศน์ และภาพยนตร์จากมหาวิทยาลัยเท็กซัส เขาทำงานในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่ลอสแอนเจลิสราวๆ 1 ปี และมีโอกาสได้ไปร่วมเวิร์คชอปที่คิวบากับ “อับบาส เคียรอสตามี” ผู้กำกับชั้นครูจากอิหร่าน จากนั้นเขาจึงตัดสินใจกลับเมืองไทย</p>
<p>แรกเริ่มเดิมทีเขาตั้งใจจะทำหนังเกี่ยวกับคนม้งเวียดนามในกรุงเทพฯ และได้แวะเวียนไปทำกิจกรรมในชุมชนร่วมกับเอ็นจีโออยู่เรื่อยๆ พร้อมกับกล้องในมือ จนกระทั่งวันหนึ่ง เขาก็ได้พบครอบครัวอิบราฮิมที่เข้ามาร่วมกิจกรรมที่เอ็นจีโอจัด</p>
<p>มิตรภาพก็เริ่มต้นขึ้นจากการที่เขาช่วยพาคุณแม่ไปหาหมอ หลังจากนั้นครอบครัวอิบราฮิมชวนเขาไปทานข้าวและดื่มกาแฟที่บ้าน จนก่อเกิดเป็นไอเดียในการทำหนังเพื่อบันทึกชีวิตขณะ ‘รอวัน’ ย้ายไปประเทศที่สาม ไปเรื่อยๆ อย่างไม่รู้จุดหมายปลายทาง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545560399_349fc891ed_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ย้ายไปอยู่อเมริกาตั้งแต่เมื่อไหร่</span></h2>
<p>มีช่วงหนึ่งในชีวิตที่เราต้องย้ายไปย้ายมาระหว่างไทยกับอเมริกา เราเกิดที่ไทย ตอนที่เราอายุ 3 ขวบ คุณพ่อได้ไปทำงานที่ลุยเซียนา เราก็ย้ายไปอยู่ที่นั่น 2-3 ปี จนเรา 5 ขวบก็กลับมาไทย เข้าโรงเรียนที่ไทยและอยู่ที่นี่ 10 ปี</p>
<p>พออายุ 15 ปี เราก็ย้ายไปที่เมืองฮุสตัน รัฐเท็กซัส เรียนมัธยมปลาย 2 ปี แล้วก็เรียนต่อมหาวิทยาลัยอีก 4 ปี แล้วก็พอเรียนจบ เราก็ไปอยู่ลอสแอนเจลิส (แอลเอ) หนึ่งปี แล้วหลังจากแอลเอก็รู้สึกว่าไม่เอาแล้วกลับมาไทยดีกว่า</p>
<p>เรื่องที่เป็นปมในใจอย่างหนึ่ง เรารู้สึกว่าเราปรับตัวเองยากประมาณหนึ่งเพราะสังคมที่มันเปลี่ยนไปเปลี่ยนมา มันเป็นอีกขั้วหนึ่งเลย</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ทำไมถึงอยากกลับไทย</span></h2>
<p>คิดหนักเหมือนกัน เพราะว่าการอยู่ที่นี่ (แอลเอ) เรื่องหน้าที่การงานค่อนข้างดีแต่เรารู้สึกว่าไปต่อไม่ถูก เป็นการทำงานเพื่อหาเงินมาจ่ายค่าที่อยู่อาศัย ค่าอาหาร แต่เราไม่สามารถมีเวลาให้งานที่เรารู้สึกว่าเป็นงานครีเอทีฟส่วนตัว</p>
<p>เรื่องราวที่เราอยากจะพูดถึงอยู่ที่ไทยหมดเลย ตอนที่เราอยู่แอลเอ เราไม่ได้มีเรื่องราวที่อเมริกาที่เราอยากจะพูดถึง เราไม่ได้รู้สึกว่าเราคอนเนกต์กับที่อเมริกา</p>
<p>มันอยู่สบาย มันน่าอยู่แหละ แต่ว่ามันแพงมากๆ ที่แอลเอ ซึ่งทำให้เราหมดพลังไปกับการทำงาน</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">อยู่แอลเอทำงานอะไรบ้าง</span></h2>
<p>เราไปทำงงจังเป็นผู้ช่วยในออฟฟิศของ Brittany Scott อยู่ช่วงหนึ่ง แล้วเราก็ออกกอง เป็นผู้ช่วยช่างภาพ, DIT (Digital Imaging Technician หรือ คนจัดการข้อมูลภาพ ณ กองถ่าย) ให้กองหนังสั้น คอมเมอเชียล กองเว็บซีรีส์บ้าง</p>
<p>เราคิดอยู่นานว่าจะกลับมาดีไหม เพราะในช่วงนั้นวีซ่าก็จะใกล้หมดแล้ว ต้องรีบคิดว่าถ้าจะอยู่ต่อจะเอายังไงต่อไป เผชิญว่าช่วงนั้นได้ไปงานเวิร์คชอปที่คิวบา เป็นเวิร์คชอปกับ “อับบาส เคียรอสตามี” (Abbas Kiarostami) ผู้กำกับดังของอิหร่าน </p>
<p>เขามีโจทย์ให้เราพยายามทำหนังสั้นให้เสร็จใน 10 วัน ซึ่งเราก็ไปโดยที่ยังไม่มีไอเดียอะไรมาก ซึ่งมันเป็นพลังงานที่ขาดหายไปตอนที่เราอยู่แอลเอ เป็นพลังงานที่เราคิดถึง ก็เลยตัดสินใจว่ากลับไทยดีกว่า อยากจะกลับไปทำหนังของตัวเอง</p>
<p>หลังจากที่อยู่แอลเอมานาน พอเราไปถึงที่คิวบาแล้วรู้สึกเหมือนประเทศไทยมากๆ ทั้งสภาพอากาศ ภูมิทัศน์ติดทะเล ต้นไม้ ผู้คนน่ารัก มีบิลบอร์ดของฟิเดล คาสโตร ติดเต็มไปหมด มันก็เหมือนกับรูปที่มีทุกบ้าน ทำให้เรารู้สึกคิดถึงประเทศไทยมากๆ</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">พอกลับมาไทยแล้วไปคอนเนกต์กับครอบครัวนี้อย่างไร</span></h2>
<p>ช่วงที่เราอยู่อเมริกา ก็จะมีบางช่วงที่เรากลับมาไทยเพื่อเยี่ยมครอบครัว เยี่ยมเพื่อนช่วงซัมเมอร์ ช่วงนั้นเพื่อนเราก็เข้าเรียนกันหมด เราก็ว่างๆ เลยได้ติดต่อกับอาจารย์คนหนึ่ง เป็นอาจารย์สอนภาษาอังกฤษที่เรารู้จักสมัยที่เรียนอยู่ที่ไทย เขาก็บอกว่าเขากำลังเปิดเอ็นจีโอ เข้าไปในพื้นที่ของ คนที่ถูกมองข้ามในกรุงเทพฯ ซึ่งในตอนแรกโฟกัสของเขาคือชุมชนตามรางรถไฟแถวๆ พญาไท เราก็เข้าไปทำงานกับเขา</p>
<p>ไปๆ มาๆ เขาเปลี่ยนโฟกัสไปทำงานกับกลุ่มผู้ลี้ภัย แล้วก็ชวนเราเข้าไปในชุมชนม้งเวียดนามแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ ตอนแรกเราไม่ได้รู้จักกับครอบครัวอิบราฮิม แต่อยู่มาวันหนึ่งเราก็เห็นครอบครัวนี้เข้ามาร่วมกิจกรรมที่เอ็นจีโอจัด </p>
<p>ปกติเอ็นจีโอจะจัดกิจกรรมสอนภาษาอังกฤษ สอนทำอาหาร รวมถึงซัพพอร์ตครอบครัวในพื้นที่นั้น ซึ่งเวลาจัดกิจกรรมก็เจอครอบครัวนี้มาร่วมด้วย ตอนแรกเราไม่ได้คิดอะไรมาก แต่ไปๆ มาๆ ก็ได้รู้จักกับเขา </p>
<p>ความที่มีกิจกรรมสอนภาษาอังกฤษ แต่ว่าเราเป็นคนที่สอนอะไรไม่เป็น เราก็เลยเสนอตัวว่าจะช่วยเหลือเขาในรูปแบบอื่น เช่น ติดต่อคนนั้นคนนี้ คุณแม่อยากจะไปหาหมอ เขาก็ถามว่าเราช่วยเขาคุยกับหมอได้ไหม เขากลัวเขาสื่อสารไม่ครบ ซึ่งเราช่วยเขาในลักษณะนี้ได้ ทำให้เราได้เริ่มรู้จักกับครอบครัวนี้ หลังจากที่ไปเจอหมอ เขาก็ชวนเราไปกินข้าวกินกาแฟที่บ้านเขา ไปหาเขาอยู่เรื่อยๆ</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545560024_7b54d20dd8_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">มีบางซีนที่ฟุตเทจเอียงๆ</span> </h2>
<p>ตั้งใจ (ตอบทันที)</p>
<p>โปรเจคสารคดีม้งเวียดนาม เราตั้งใจ setting (ออกแบบ) ตั้งใจ constructed (สร้าง) ทั้งหมด แล้วช่วงแรกๆ ที่เราถ่ายครอบครัวนี้ เราก็พยายามที่จะทำอย่างนั้นเหมือนกัน แต่ก็รู้สึกว่า…มันไม่ใช่วิธีที่เราอยากจะทำ </p>
<p>หลังจากนั้นเราก็เปลี่ยนวิธีการทำงานของเราด้วย เราก็เลยตัดสินใจว่าเราจะไม่สร้างระยะห่างระหว่างเรากับครอบครัวนี้</p>
<p>จะมีโมเมนต์ที่ว่าเราถ่ายๆ อยู่แล้วความเป็นตากล้อง ก็จะคอยดูเฟรมตลอด แต่เวลาเราดูเฟรม เราก็ไม่สามารถคอนเนกต์กับคนที่เรากำลังคุยอยู่ด้วย</p>
<p>โมเมนต์ที่เราพูดคุยกับเขา เราก็ต้องไม่สนใจกล้อง เพื่อให้ได้โมเมนต์นี้ไปเรื่อยๆ กล้องนี้มันก็ถ่ายของมันไป ได้อะไรมาก็ค่อยว่ากัน แล้วมันก็…ได้อย่างที่เห็น (หัวเราะ)</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">สารคดีที่ไม่ได้ดรามาสุดทางแบบนี้ ขอทุนยากไหม</span></h2>
<p>ยากเหมือนกัน เพราะว่าเราก็ต้องไปขอทุนจากศูนย์มานุษฯ (ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร) อย่างศูนย์มานุษฯ ยังดีเพราะว่าเขาเก็ตวิธีการทำงานของเรา ไม่เหมือนกับช่องข่าวทีวีต่างประเทศ เพราะว่าช่องพวกนี้เขาต้องการดรามา ต้องการบริบท เขาอยากที่จะรู้ว่าตอนนี้โลกมันโหดร้ายแค่ไหน แต่ว่ามันไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการจะนำเสนอในรูปแบบนั้น </p>
<p>เราต้องการที่จะนำเสนอครอบครัวนี้ในรูปแบบ greatful resilience (ความอดทนและความมีศักดิ์ศรี) ของเขา ซึ่งเป็นสิ่งที่เราเห็นและเราแค่อยากนำเสนอสิ่งที่เราเห็น อย่างน้อยศูนย์มานุษฯ เขาก็เก็ต เขามองประเด็นต่างๆ ด้วยสายตาของความเป็นมนุษย์ </p>
<p>แล้วก็สำหรับที่อื่นๆ อย่าง Purin Pictures หรือสิงคโปร์ เขาก็ซัพพอร์ตอะไรที่เกี่ยวกับภาพยนตร์อยู่แล้ว </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เคสครอบครัวซูดานแบบนี้ มีอีกเยอะมั้ยในไทย</span></h2>
<p>ในไทยไม่ค่อยมี เหมือนจากซูดานนี่มันต้องแยกด้วยว่าซูดาน หรือซูดานใต้ เพราะมันไม่เหมือนกัน แต่ที่เรารู้จักมีอยู่ไม่กี่คน มีน้อย ส่วนใหญ่จะมาจากปากีสถาน โซมาเลีย คองโก </p>
<p>อย่างปากีสถานในไทยนี่เยอะ ในกรุงเทพฯ </p>
<p>ปากีสถานที่หนีมาเพราะปัญหาเรื่องศาสนา ที่เรารู้จักส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาคริสต์กัน ส่วนซูดานเป็นปัญหาความขัดแย้งภายใน</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545567549_c4274c2113_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">โมเมนต์ที่ประทับใจที่สุด</span></h2>
<p>มีโมเมนต์หนึ่งที่อยากใส่ในหนังแต่ใส่ไม่ได้เพราะว่ามันไม่เวิร์ค เป็นโมเมนต์ที่คุณแม่ให้เราช่วยดูการบ้านของน้อง เพราะพ่อแม่เขาอ่านการบ้านภาษาไทยไม่ออก คุณแม่เล่าให้เราฟังว่าอยากจะช่วยสอนการบ้านลูกแต่ว่าช่วยไม่ได้เพราะทุกอย่างเป็นภาษาไทยหมด </p>
<p> จริงๆ เรื่องภาษา เป็นเรื่องที่เราพยายามจะสื่อในหนังเรื่องนี้ด้วย เพราะเรารู้สึกว่ามันสำคัญสำหรับเรา ครอบครัวนี้เขาคุยกันด้วยภาษาอาหรับ แต่ว่าแม่เขาก็บ่นให้เราฟังว่าลูกๆ คุยกันเองเป็นภาษาไทย อะไรที่ไม่อยากให้แม่กับพ่อรู้ก็จะคุยกันเองเป็นภาษาไทย มีเราอยู่ด้วยเราจะได้ช่วยเล่าให้แม่เขาฟังว่าลูกคุยอะไรกัน</p>
<p>ตอนแรกเราไม่รู้ว่าลูกๆ เขาพูดภาษาไทยกัน โมเมนต์นี้เป็นจุดเริ่มต้นหลายๆ อย่างตอนที่เรารู้ว่าลูกเขาพูดภาษาไทยกันเอง มันทำให้เรานึกถึงสมัยที่เราอยู่อเมริกาตอนเด็กๆ เรากับน้องอยู่ๆ ก็ได้ภาษาอังกฤษขึ้นมาโดยที่พ่อกับแม่เราตั้งตัวไม่ทัน</p>
<p>ในครึ่งหลังของเรื่อง ถ้าเกิดสังเกตจดหมายจากพ่อกับแม่ (ที่ส่งมาหาลูกตอนที่พ่อแม่โดนกักตัวอยู่ที่ ตม.) จดหมายก็เป็นภาษาอังกฤษ เราก็ถามว่าทำไมถึงเป็นภาษาอังกฤษ แม่เขาก็เล่าให้ฟังว่าเพราะลูกๆ เขาอ่านภาษาอารบิกไม่ออก เวลาเขาจะเขียนอะไรให้ลูกๆ เขาจึงต้องเป็นภาษาอังกฤษ น้องๆ พูดอารบิกได้ แต่จะอ่านเขียนไม่ได้ เพราะจะได้ภาษาไทยมากกว่า  </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ตอนที่ไปเจอ ครอบครัวนี้อยู่ไทยมากี่ปีแล้ว</span></h2>
<p>เขาอยู่มาหลายปีแล้ว แต่เราย้ายกลับมาไทยปี 2016 (พ.ศ. 2559) แล้วเราเจอเขา…น่าจะเริ่มถ่ายกับเขาประมาณปี 2017  (พ.ศ. 2560) ซึ่งเป็นตอนที่น้องๆ พูดไทยกันได้แล้ว</p>
<p>ตอนแรกเราคุยกับเขาเป็นภาษาอังกฤษเพราะเราไม่รู้ จนกระทั่งเราได้ยินพวกเขาคุยกันเองเป็นภาษาไทย แล้วเขาก็คุยกับเราเป็นภาษาอังกฤษแบบเกร็งๆ เขินๆ พอเราพูดไทยก็กลายเป็นว่าพวกเขาก็พูดกับเราเยอะเลย จากที่ก่อนหน้านั้นไม่ค่อยพูด</p>
<p>ครอบครัวนี้พาสปอร์ตหมดอายุ เข้ามาด้วยวีซ่าท่องเที่ยว ง่ายๆ ก็คือครอบครัวนี้อยู่เกินกำหนดวีซ่า</p>
<p>จริงๆ แล้วโรงเรียนอาจจะรับเข้าเรียนเพราะว่าพวกเขายังเด็ก ในแง่กฎหมาย เป็นสิทธิที่น้องๆ เขามีอยู่แล้ว เพราะว่าไทยเซ็นสัญญาปกป้องสิทธิเด็กของสหประชาชาติ</p>
<p>แต่ว่าประเทศไทยไม่ได้เซ็นสัญญาเรื่องผู้ลี้ภัย เพราะฉะนั้นพ่อกับแม่ หรือถ้าเด็กโตไปเป็นผู้ใหญ่ สิทธิเสรีภาพต่างๆ ก็จะหดน้อยลงไปเรื่อยๆ ยิ่งเราโตขึ้นมันก็จะยิ่งหดลง</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53545232806_d8cdd136b6_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">ภาพจากภาพยนตร์สารคดี Hours of Ours (รอวัน)</span></p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เหมือนพ่อแม่จะอยู่แต่ในบ้าน</span></h2>
<p>พ่อแม่ส่วนมากอยู่แต่ในบ้าน มีไปทำธุระที่นั่นที่นี่บ้าง</p>
<p>ก่อนหน้านั้นเขาทำอาชีพอะไร เป็นเหตุผลที่ได้ไปแคนาดาด้วยไหม</p>
<p>อาจจะมีส่วน ครอบครัวนี้เขาน่าจะอยู่ในฐานะชนชั้นกลางประมาณหนึ่ง เพราะว่าพ่อกับแม่เป็นคนมีการศึกษา พ่อเป็นนักออกแบบตกแต่งภายใน ส่วนแม่ เรียนจบมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับด้านปศุสัตว์การแพทย์</p>
<p>เราก็ยังคิดอยู่ในใจว่า 6 ปีที่เขาอยู่ในไทยเขาน่าจะได้ทำอะไรอย่างอื่นได้ ทำไมต้องมาอยู่แต่ในห้อง แต่พอย้ายไปแคนาดาได้สัก 1-2 ปี เขาก็มีอาชีพแล้ว</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ในฐานะคนทำหนัง เรามีความคาดหวังอย่างไร</span></h2>
<p>เราคาดหวังกับการฉายในประเทศไทยมากที่สุด หลักๆ เลยเราทำหนังเรื่องนี้เพราะว่าเราอยากจะจินตนาการถึงอนาคต ความเป็นไปได้ใหม่ๆ สำหรับประเทศไทย</p>
<p>ในแง่ที่ว่าถ้าเด็กพวกนี้โตขึ้นมาแล้วต้องอยู่เมืองไทยตลอดไปจริงๆ ถ้าเกิดโดนปฏิเสธขึ้นมา ถ้า UNHCR (สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ) ปฎิเสธเคส 2-3 รอบ ก็คือโดนปฎิเสธไปเลย ก็คือไม่ได้มีทางเลือกอะไรอย่างอื่นแล้วนอกจากจะต้องอยู่ที่นี่หรือกลับประเทศตัวเอง   </p>
<p>การอยู่ที่นี่ก็เป็นสถานการณ์แบบนี้ เขาก็ต้องอยู่แบบนี้ ทั้งๆ ที่เขาก็จะซึมซับความเป็นไทย ภาษา วัฒนธรรม สภาพสังคม สภาพแวดล้อม ทุกสิ่งทุกอย่าง ซึ่งตอนนี้ก็มีอยู่ เด็กคนอื่นๆ ที่เป็นคนม้งเวียดนามที่เรารู้จัก หรือว่าเด็กที่มาจากประเทศเพื่อนบ้านที่ตามพ่อแม่มาอยู่ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตาม เราก็พยายามคิดถึงอนาคตว่าพวกเขาจะอยู่ยังไง เราจะสามารถเปิดให้พวกเขา หลอมรวมกับสังคมเราได้มากน้อยแค่ไหน</p>
<p>แล้วเราก็คิดไปถึงว่า ถ้าเกิดเราไปถึงจุดนั้นได้ หน้าตาของคนไทยสามารถเปลี่ยนไปด้วยได้ไหม เด็กแอฟริกันพวกนี้ก็คงไม่ต่างจากเด็กไทยทั่วไป ในหนังจะเห็นว่าพวกเขาก็เป็นเด็กไทยใช่ไหม </p>
<p>เราก็อยากจะตั้งคำถามว่าอะไรคือความเป็นไทย ขอบเขตของสิ่งนี้อยู่ตรงไหน และสามารถยืดหยุ่นได้หรือเปล่า หรือว่าทำลายขอบเขตของมันไปได้เลย เพื่อที่จะนับรวมคนอื่นๆ ได้</p>
<div class="summary-box">
<ul>
<li>Hours of Ours (รอวัน) เข้าโรงแล้ววันนี้ 22 กุมภาพันธ์ เป็นต้นไป ที่ Doc Club &amp; Pub. และ House Samyan</li>
<li>เมื่อปี 2566 ภาพยนตร์สารคดี รอวัน | Hours of Ours ออกฉายสู่สายตาชาวโลกเป็นครั้งแรกในเทศกาลนานาชาติ Visions du Réel ที่จัดขึ้นที่เมืองนีออน (Nyon) ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ต่อมาได้ฉายในเทศกาลสารคดีนานาชาติ Beyond Borders Kastellorizo International Documentary Festival ครั้งที่ 8 ที่ประเทศกรีซ </li>
<li>รอวัน | Hours of Ours ฉายที่สมาคมฝรั่งเศส (Alliance Française) ที่เมืองไนโรบี ประเทศเคนยา ในโปรแกรมพิเศษที่ชื่อว่า Focus Sudan</li>
<li>ภาพยนตร์สารคดี รอวัน | Hours of Ours ฉายครั้งแรกในเอเชียที่เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติสิงคโปร์ SGIFF ครั้งที่ 34 ต่อมาได้ฉายในงานเทศกาลภาพยนตร์สารคดี Festival Film Dokumenter ที่เมืองยอกยาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย จากนั้นจึงเข้ามาฉายที่ไทย</li>
</ul>
</div>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108177
 
1380  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - กวีประชาไท: เฉลยใจในวัยเกษียณ เมื่อ: 23 กุมภาพันธ์ 2567 00:09:04
กวีประชาไท: เฉลยใจในวัยเกษียณ
 


<span class="submitted-by">Submitted on Thu, 2024-02-22 22:32</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ธุลีดาวหาง</p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><div class="poet-box">
<p> </p>
<p> </p>
<p>อวัยวะไฉนถูกใจกำหนด
สั่งให้คดหรือตรงบ่งบอกสาร
ทั้งใบหน้าท่าทางสร้างเหตุการณ์
ให้เปรียบปานสถานใดในเลว,ดี</p>
<p>บนใบหน้าสรรพสัตว์ให้ตัดสิน
ตาปากลิ้นคิ้วจมูกอยู่ถูกที่
หูขวาซ้ายไม่ย้ายข้างอย่างที่มี
แสงเสียงสีรสกลิ่นดินน้ำลมไฟ</p>
<p>ทั้งหมดรวมศูนย์ใส่เข้าในสมอง
กะโหลกป้องประคองมีศรีษะใส่
จมูกดมผสมลมเข้าไป
สู่หัวใจให้เต้นเป็นตัวตน</p>
<p>ชวนสับสนบนใบหน้ามีสารพัด
อารมณ์จัดตามจิตคิดเหตุผล
สลับซับซ้อนย้อนยอกหลอกลวงจน
คนกับคนด้วยกันไม่ทันเกม</p>
<p>ภาษาคนน่าสนใจในความคิด
อำมหิตไม่น่าใช่ในหน้าเข้ม
ขณะปากเอ่ยเอื้อนเหมือนเกษม
แววตาเปรมเอมโอษฐ์โคตรไพเราะ</p>
<p>ยิ่งภาษานำพาไปใช้ชิวหา
ชื่อดาราพาใช้ให้เสนาะ
บนนภาคณานับฤกษ์กับเคราะห์
ชื่อพ้องเพราะกับราศีเคราะห์ดีร้าย</p>
<p>สะเดาะเคราะห์ซะดีไหมใช้เก็บตะวัน
ชวนพรึงพรั่นหวั่นไหวในที่หมาย
เยาวชนคนรุ่นใหม่หนาวใจกาย
สบถสยายสยดสยองการมองเห็น</p>
<p>พูดยิ้มๆ ดูแววตามาฝีปาก
สัมผัสรากหฤโหดได้โดดเด่น
ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ขาดกระเด็น
มืดมนเป็นสมองใครไม่เกษียณเลย!</p>
</div>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">บทควhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2024/02/108179
 
หน้า:  1 ... 67 68 [69] 70 71 ... 1119
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.681 วินาที กับ 26 คำสั่ง

Google visited last this page 20 สิงหาคม 2566 08:47:01