[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
29 เมษายน 2567 17:06:09 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก เวบบอร์ด ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

  แสดงกระทู้
หน้า:  1 ... 249 250 [251] 252 253 ... 1119
5001  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "อั๋น ภูวนาท" จี้กลับคำพูด "บิ๊กโจ๊ก" ตร.รู้คนผิดแต่ไม่จับ แล้วประชาชนจะพึ่ เมื่อ: 27 กันยายน 2566 22:49:26
"อั๋น ภูวนาท" จี้กลับคำพูด "บิ๊กโจ๊ก" ตร.รู้คนผิดแต่ไม่จับ แล้วประชาชนจะพึ่งใคร?
         


"อั๋น ภูวนาท" จี้กลับคำพูด "บิ๊กโจ๊ก" ตร.รู้คนผิดแต่ไม่จับ แล้วประชาชนจะพึ่งใคร?" width="75" height="75
  "อั๋น ภูวนาท" จี้กลับคำพูด "บิ๊กโจ๊ก" ตร.รู้คนผิดแต่ไม่จับ แล้วประชาชนจะพึ่งใคร?
         

https://www.sanook.com/news/9049990/
         
5002  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - กัณวีร์ ย้ำหนักแน่น ประตูทุกบานยังเปิดให้ หมออ๋อง ออกจากก้าวไกลมาพรรคเป็นธรรม เมื่อ: 27 กันยายน 2566 22:22:47
กัณวีร์ ย้ำหนักแน่น ประตูทุกบานยังเปิดให้ หมออ๋อง ออกจากก้าวไกลมาพรรคเป็นธรรม
         


กัณวีร์ ย้ำหนักแน่น ประตูทุกบานยังเปิดให้ หมออ๋อง ออกจากก้าวไกลมาพรรคเป็นธรรม" width="75" height="75
  กัณวีร์ ย้ำหนักแน่น ประตูทุกบานยังเปิดให้ หมออ๋อง มาร่วมงานกับพรรคเป็นธรรม ไม่หวั่นถูกมองเป็นพรรคสำรอง
         

https://www.sanook.com/news/9049602/
         
5003  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - จับตานัดพิพากษาคดีฆาตกรรม 'บิลลี่' พรุ่งนี้ แอมเนสตี้ฯ ร้องการตัดสินคดีต้อ เมื่อ: 27 กันยายน 2566 21:24:15
จับตานัดพิพากษาคดีฆาตกรรม 'บิลลี่' พรุ่งนี้ แอมเนสตี้ฯ ร้องการตัดสินคดีต้องไม่ปล่อยให้คนผิดลอยนวล
 


<span class="submitted-by">Submitted on Wed, 2023-09-27 20:48</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p> </p>
<p>ก่อนที่ศาลจะมีคำพิพากษาคดีที่จำเลย 4 คนถูกกล่าวหาว่า เกี่ยวข้องกับการบังคับบุคคลให้<wbr></wbr>สูญหายและการฆาตกรรม พอละจี รักจงเจริญ หรือ 'บิลลี่' นักปกป้องสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็<wbr></wbr>นชนเผ่าพื้นเมืองชาวกะเหรี่ยง”  28 ก.ย.นี้ แอมเนสตี้ฯ เรียกร้องการตัดสินคดีต้องไม่ปล่อยให้คนผิดลอยนวล ชี้เป็นบททดสอบครั้งยิ่งใหญ่ของกระบวนการยุติธรรม</p>
<p> </p>
<p>27 ก.ย.2566 ฝ่ายสื่อสารองค์กร แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย แจ้งต่อสื่อมวลชนว่า ก่อนที่ศาลจะมีคำพิพากษา ในวันที่ 28 ก.ย.นี้ ในคดีที่จำเลย 4 คนถูกกล่าวหาว่า เกี่ยวข้องกับการบังคับบุคคลให้<wbr></wbr>สูญหายและการฆาตกรรม พอละจี รักจงเจริญ” หรือ “บิลลี่” นักปกป้องสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็<wbr></wbr>นชนเผ่าพื้นเมืองชาวกะเหรี่ยง”  </p>
<p>ชนาธิป ตติยการุณวงศ์ นักวิจั<wbr></wbr>ยประจำประเทศไทย แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล สำนักงานภูมิภาคเอเชียตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และแปซิฟิก ให้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้<wbr></wbr>ว่า การต่อสู้เพื่อความยุติ<wbr></wbr>ธรรมอย่างกล้าหาญของบิลลี่ เป็นเหตุให้เขาต้องเสียชีวิต และทำให้ครอบครัวของเขาต้<wbr></wbr>องตกอยู่ในภวังค์แห่งฝันร้าย เพราะต้องเผชิญกับความบอบช้ำ<wbr></wbr>ทางจิตใจ เกิดความสงสัย และต้องการทราบข้อเท็จจริงที่<wbr></wbr>เกิดขึ้นกับการหายตัวไปของบิลลี่<wbr></wbr> ระหว่างที่พวกเขาพยายามค้<wbr></wbr>นหาความจริง พวกเขาควรได้ทราบเรื่องราวทั้<wbr></wbr>งหมดที่เกิดขึ้นกับบิลลี่ และต้องค้นหาความจริงเพื่<wbr></wbr>อตามหาผู้รับผิดชอบต่<wbr></wbr>อการฆาตกรรมที่น่าสะเทือนขวั<wbr></wbr>ญครั้งนี้ โดยจะต้องนำผู้กระทำความผิดมารั<wbr></wbr>บการตัดสินเพื่อนำไปสู่การรับผิ<wbr></wbr>ดตามกระบวนการยุติธรรม </p>
<p>“การพิพากษาที่กำลังจะมีขึ้นนี้ ล่าช้ามาเป็นระยะเวลายาวนาน และจะเป็นเสมือนบททดสอบสำคัญต่<wbr></wbr>อระบบยุติธรรมของไทย ซึ่งสะท้อนให้เห็นความล้<wbr></wbr>มเหลวในการให้ความยุติธรรมกั<wbr></wbr>บเหยื่อของการบังคับบุคคลให้สู<wbr></wbr>ญหายมานานเกินกว่าที่ควรจะเป็<wbr></wbr>นแล้ว ฝ่ายตุลาการมีโอกาสที่จะสร้<wbr></wbr>างบรรทัดฐานใหม่ในการแก้ปั<wbr></wbr>ญหาการบังคับบุคคลให้สูญหาย โดยรับประกันให้เกิดการดำเนิ<wbr></wbr>นงานที่สอดคล้องกับกฎหมายสิทธิ<wbr></wbr>มนุษยชนระหว่างประเทศ ทั้งยังเป็นโอกาสที่<wbr></wbr>ทางการไทยจะแสดงความเป็นผู้นำ ด้วยการทำให้เจ้าหน้าที่ทุกฝ่<wbr></wbr>ายทั่วประเทศทราบว่า วัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิดจะต้<wbr></wbr>องยุติลง คนที่กระทำความผิดต้องได้รับโทษ และทางการจะไม่ยอมอนุญาตให้มี<wbr></wbr>การบังคับให้บุคคลใดต้องสู<wbr></wbr>ญหายอีกต่อไป” </p>
<p>ชนาธิป กล่าวอีกว่า รัฐบาลใหม่ของไทยยังจะต้องให้สั<wbr></wbr>ตยาบันต่ออนุสัญญาระหว่<wbr></wbr>างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองมิ<wbr></wbr>ให้บุคคลสูญหาย (ICPPED) รวมทั้งพิธีสารเลือกรับของอนุสั<wbr></wbr>ญญาต่อต้านการทรมานและการปฏิบั<wbr></wbr>ติหรือการลงโทษอื่นๆ ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ำยีศักดิ์ศรี (OPCAT) โดยทันที เพื่อแสดงความมุ่งมั่นอย่างแท้<wbr></wbr>จริงที่จะป้องกันไม่ให้เกิ<wbr></wbr>ดอาชญากรรมที่โหดร้าย แบบที่เกิดขึ้นกับบิลลี่ได้อีก และผู้กระทำจะต้องรับผิดรั<wbr></wbr>บชอบโดยเข้าสู่กระบวนการยุติ<wbr></wbr>ธรรมอย่างรวดเร็ว </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ข้อมูลพื้นฐาน</span></h2>
<p>ฝ่ายสื่อสารองค์กร แอมเนสตี้ฯ ระบุข้อมูลพื้นฐานของคดีนี้ด้วยว่า บิลลี่ถูกพบเห็นครั้งสุดท้ายเมื่<wbr></wbr>อวันที่ 17 เม.ย.2557 หลังจากที่เขาเดินทางออกจากอุ<wbr></wbr>ทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดเพชรบุรี ประเทศไทย โดยมีข้อกล่าวหาว่าเขาถูกเจ้<wbr></wbr>าหน้าที่อุทยานควบคุมตัวไว้ เนื่องจากถูกกล่าวหาว่<wbr></wbr>าครอบครองน้ำผึ้งป่าอย่างผิ<wbr></wbr>ดกฎหมาย   </p>
<p>ในช่วงที่ถูกจับกุม บิลลี่อยู่ระหว่างเดิ<wbr></wbr>นทางไปประชุมกับชาวกะเหรี่<wbr></wbr>ยงในพื้นที่ เพื่อเตรียมตัวก่อนจะมีการไต่<wbr></wbr>สวนคดี ซึ่งชาวบ้านได้ฟ้องเจ้าหน้าที่<wbr></wbr>อุทยานแห่งชาติ เหตุบังคับไล่รื้อชุ<wbr></wbr>มชนชาวกะเหรี่ยง ของพวกเขา และเผาบ้านเรือนของพวกเขา บิลลี่ยังขนย้<wbr></wbr>ายเอกสารจำนวนมากเกี่ยวกับคดีติ<wbr></wbr>ดตัวไปด้วย และไม่มีผู้ใดได้พบเห็<wbr></wbr>นเอกสารเหล่านี้อีก  </p>
<p>5 ปีต่อมาในวันที่ 3 ก.ย. 2562 กรมสอบสวนคดีพิเศษแถลงว่<wbr></wbr>าพบเศษซากศพของบิลลี่ในถังน้ำมั<wbr></wbr>นที่ถูกเผา บริเวณก้นอ่างเก็บน้ำอุทยานแห่<wbr></wbr>งชาติแก่งกระจาน ซึ่งเป็นจุดที่เขาหายตัวไประหว่<wbr></wbr>างถูกควบคุมตัวโดยเจ้าหน้าที่อุ<wbr></wbr>ทยาน กรมสอบสวนคดีพิเศษได้เสนอให้พนั<wbr></wbr>กงานอัยการฟ้องคดีต่อเจ้าหน้าที่<wbr></wbr>อุทยาน 4 คน ที่เป็นผู้ต้องสงสัยว่า มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจับกุ<wbr></wbr>มและควบคุมตัวบิลลี่ รวมทั้งหัวหน้าอุทยานแห่งชาติ<wbr></wbr>และเจ้าหน้าที่อีก 3 คน   </p>
<p>แม้จะมีความคืบหน้าอย่างไม่<wbr></wbr>เคยเป็นมาก่อนในการสอบสวน พนักงานอัยการของสำนักงานอั<wbr></wbr>ยการพิเศษฝ่ายคดีพิเศษ 1 กลับ สั่งไม่ฟ้องในทุกข้อกล่าวหา ตามที่เสนอโดยเมื่อเดือนมกราคม 2563 ในเดือนสิงหาคม 2563 กรมสอบสวนคดีพิเศษได้อุทธรณ์<wbr></wbr>คำสั่งของสำนักงานอัยการสูงสุด (อสส.) อีกสองปีต่อมา ได้เกิดจุดเปลี่ยนที่สำคัญเมื่<wbr></wbr>อเดือนสิงหาคม 2565 โดย อสส.ได้พิจารณาสั่งฟ้อง ผู้ต้องหาทั้งสี่คนใน 5 ข้อหา รวมทั้งลักพาตัวและฆาตกรรมบิลลี่<wbr></wbr> ซึ่งทั้ง 4 คนให้การปฏิเสธ  </p>
<p>พระราชบัญญัติป้องกั<wbr></wbr>นและปราบปรามการทรมานและการกระทำ<wbr></wbr>ให้บุคคลสูญหายของไทย เริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อเดือนกุ<wbr></wbr>มภาพันธ์ 2566 ก่อนหน้านั้น  แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลเคยเรียกร้<wbr></wbr>องให้รัฐบาลไทยดำเนินการเพื่อ รับประกันให้การบังคับใช้<wbr></wbr>กฎหมายฉบับนี้ให้เป็นไปอย่างมี<wbr></wbr>ประสิทธิภาพโดยสอดคล้<wbr></wbr>องตามกฎหมายและมาตรฐานระหว่<wbr></wbr>างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน อย่างไรก็ดี เนื่องจากกฎหมายนี้มีผลบังคั<wbr></wbr>บใช้ หลังการสั่งฟ้องเจ้าหน้าที่ทั้<wbr></wbr>งสี่คนในคดีของบิลลี่ พวกเขาจึงไม่ถูกดำเนินคดี<wbr></wbr>ตามฐานความผิดเกี่ยวกับการบังคั<wbr></wbr>บให้บุคคลสูญหายในกฎหมายใหม่นี้<wbr></wbr>แต่อย่างใด  </p>
<p>แม้จะประกาศใช้กฎหมายในประเทศ รัฐบาลไทยยังไม่ได้ให้สัตยาบั<wbr></wbr>นรับรองต่ออนุสัญญา ICPPED และพิธีสาร OPCAT ทั้งนี้ เมื่ออ้างอิงตามข้อมูลจากของ คณะทำงานสหประชาชาติว่าด้<wbr></wbr>วยการหายสาบสูญโดยถูกบังคับหรื<wbr></wbr>อไม่สมัครใจ ซึ่งเผยแพร่เมื่อเดือนสิงหาคม 2565 ประเทศไทยยังมีบุคคลที่เป็นเหยื่<wbr></wbr>อการบังคับบุคคลให้สู<wbr></wbr>ญหายในประเทศไทยอยู่อีก 76 ราย โดยเป็น ผู้ชาย 70 คนและ ผู้หญิง 6 คน </p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ขhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/09/106102
 
5004  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - แชร์ว่อน ครูตบนักเรียนจนหน้าหัน เหตุอยากให้เรียกแม่ ไหว้ขอโทษแล้วยังตบซ้ำ เมื่อ: 27 กันยายน 2566 20:15:59
แชร์ว่อน ครูตบนักเรียนจนหน้าหัน เหตุอยากให้เรียกแม่ ไหว้ขอโทษแล้วยังตบซ้ำ
         


แชร์ว่อน ครูตบนักเรียนจนหน้าหัน เหตุอยากให้เรียกแม่ ไหว้ขอโทษแล้วยังตบซ้ำ" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;ว่อนโลกทวิตเตอร์ คลิปครูตบนักเรียนชาย เหตุอยากให้เด็กเรียกว่าแม่ เจอเด็กตอบกลับ "ผมมีแม่คนเดียว" ไหว้ขอโทษแล้ว ยังตบซ้ำ
         

https://www.sanook.com/news/9049838/
         
5005  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - องค์กรสิทธิเรียกร้องรัฐบาลไทยปล่อยตัว ‘ทนายอานนท์’ ทันทีและหยุดใช้ม.112 คุกคามส เมื่อ: 27 กันยายน 2566 19:53:59
องค์กรสิทธิเรียกร้องรัฐบาลไทยปล่อยตัว ‘ทนายอานนท์’ ทันทีและหยุดใช้ม.112 คุกคามสิทธิ
 


<span class="submitted-by">Submitted on Wed, 2023-09-27 19:25</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>กลุ่มสังเกตการณ์เพื่อคุ้มครองนักปกป้องสิทธิออกข้อเรียกร้องถึงรัฐบาลไทยให้ปล่อยตัว “ทนายอานนท์” และนักป้องสิทธิคนอื่นๆ รวมถึงนักเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยโดยทันทีอย่างไม่มีเงื่อนไข หลังเกิดการใช้มาตรา 112 และกระบวนการยุติธรรมเพื่อคุกคามสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก</p>
<p>27 ก.ย.2566 กลุ่มสังเกตการณ์เพื่อคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชน (The Observatory for the Protection of Human Rights Defenders) ได้เรียกร้องถึงรัฐบาลไทยให้ปล่อยตัวอานนท์ นำภา ทนายความด้านสิทธิมนุษยชน หลังจากเมื่อวานนี้อานนท์ถูกศาลอาญาพิพากษาจำคุก 4 ปี ด้วยข้อหามาตรา 112 จากการปราศรัยเมื่อวันที่ 14 ต.ค.2563 และให้ปรับเงินอีก 20,000 บาทตามข้อหาฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ โดยไม่รอลงอาญา และยังอยู่ระหว่างรอศาลอุทธรณ์พิจารณาว่าจะให้ประกันตัวหรือไม่</p>
<p>ทั้งนี้กลุ่มสังเกตการณ์ฯ เป็นกลุ่มที่ตั้งขึ้นโดยความร่วมมือระหว่าง สหพันธ์สากลเพื่อสิทธิมนุษยชน (FIDH) และองค์กรต่อต้านการทรมานโลก (OMCT) เพื่อติดตามปกป้องผู้ที่ทำงานในการปกป้องสิทธิมนุษยชนที่ถูกคุกคามและละเมิดสิทธิมนุษยชน</p>
<p>กลุ่มสังเกตการณ์ฯ ได้ย้อนถึงสถานการณ์ที่อานนท์กำลังเผชิญในขณะนี้ว่าคดีที่ศาลเพิ่งตัดสินไปนั้นเป็นเพียงคดีแรกที่อานนท์ถูกฟ้องด้วยข้อหาหมิ่นประมาทกษัตริย์จากทั้งหมด 14 คดี และเป็นคดีที่ทำให้เขาถูกคุมขังระหว่างการพิจารณาคดีและต้องยื่นประกันตัวถึง 7 ครั้งศาลถึงจะอนุญาตให้ประกัน และก่อนหน้านั้นเขาก็เคยถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดีในคดีมาตา 112 คดีอื่นนานถึง 113 วัน</p>
<p>ทั้งนี้สถานการณ์คดีมาตรา 112 ที่ผ่านมานับตั้งแต่วันที่ 24 พ.ย.2563 จนถึง 22 ก.ย.2566 มีประชาชนที่ถูกดำเนินคดีด้วยข้อหานี้แล้ว 257 คน ในจำนวนนี้เป็นเยาวชนถึง 17 คนและมีประชาชน 8 คนที่ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจำทั้งที่คดียังไม่สิ้นสุด</p>
<p>“กลุ่มสังเกตการณ์ฯ ขอประณามอย่างรุนแรงทั้งต่อการลงโทษและการพิพากษาที่ตามมาด้วยการคุมขังอานนท์ นำภาโดยพลการ และการใช้กระบวนการยุติธรรมเพื่อคุกคามอานนท์ นำภาที่กำลังดำเนินอยู่ในขณะนี้ ซึ่งดูเหมือนจะมีเพียงเป้าหมายเดียวคือการลงโทษอานนท์ที่ทำกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชนโดยชอบด้วยกฎหมายและยังเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุมโดยสงบด้วย”</p>
<p>ทั้งนี้กลุ่มสังเกตการณ์ฯ ได้เรียกร้องต่อทางการไทยให้ปล่อยตัวอานนท์โดยทันทีอย่างไม่มีเงื่อนไขรวมไปถึงนักปกป้องสิทธิคนอื่นๆ ที่กำลังถูกคุมขังโดยพลการในประเทศและจะต้องยุติการใช้กระบวนการยุติธรรมเพื่อคุกคามเพื่อคุกคามนักปกป้องสิทธิเหล่านี้ด้วย</p>
<p>นอกจากนั้นทางกลุ่มสังเกตการณ์ฯ ยังได้ขอความร่วมมือให้มีการส่งจดหมายพร้อมระบุข้อเรียกร้องไปถึงรัฐบาลไทยโดยมีข้อเรียกร้องดังนี้</p>
<ul>
<li>รัฐบาลไทยต้องรับประกันด้านสวัสดิภาพร่างกายและจิตใจของอานนท์และนักป้องสิทธิมนุษยชนรวมถึงนักเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยในไทย</li>
<li>ปล่อยตัวพวกเขาทันทีโดยไม่มีเงื่อนไขจากการถูกคุมขังโดยพลการที่เสมือนว่ามีเป้าหมายเพื่อการลงโทษจากการที่พวกเขาทำกิจกรรมด้านสิทธิมนุษยชนที่ชอบด้วยกฎหมาย</li>
<li>ยุติทุกการกระทำที่เป็นการคุกคามรวมไปถึงการใช้กระบวนการทางกฎหมายต่ออานนท์และนักป้องสิทธิมนุษยชนรวมถึงนักเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตยในไทย และรับรองว่าพวกเขาจะสามารถทำกิจกรรมได้โดยไม่ถูกขัดขวางหรือหวาดกลัวต่อการถูกตอบโต้</li>
<li>รับประกันว่าสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุมโดยสงบจะได้รับการปกป้องตามกฎหมายสิทธิมนุษยชนสากลและโดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรา 19 และ 21 ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (ICCPR)</li>
<li>งดเว้นการใช้ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ต่อเป้าหมายที่เป็นนักปกป้องสิทธิและนักเคลื่อนไหวเพื่อประชาธิปไตย</li>
</ul>
<p>ทั้งนี้กลุ่มสังเกตการณ์ได้ระบุว่าให้มีการส่งข้อเรียกร้องดังกล่าวไปถึงบุคคลต่างๆ ในรัฐบาลทั้งเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี, ปานปรีย์ พหิทธานุกร รัฐมนตรีการกระทรวงการต่างประเทศ, ทวี สอดส่อง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม, พล.อ.ทรงวิทย์ หนุนภักดี ผู้บัญชาการทหารสูงสุด, ดำรงศักดิ์ กิตติประภัสร์ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, พรประไพ กาญจนรินทร์ ประธานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, สุพัตรา ศรีไมตรีพิทักษ์ เอกอัครราชทูตผู้แทนถาวรไทยประจำสหประชาชาติ และเสข วรรณเมธี เอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส์ และหัวหน้าคณะผู้แทนไทยประจำสหภาพยุโรป</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/09/106100
 
5006  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - มติ 10 ต่อ 1 ให้ 'ต่อศักดิ์' น้องเลขาฯพระราชวัง เป็น ผบ.ตร.คนใหม่ - เด้งฟ้าผ่า 8 ตร.ท เมื่อ: 27 กันยายน 2566 18:23:28
มติ 10 ต่อ 1 ให้ 'ต่อศักดิ์' น้องเลขาฯพระราชวัง เป็น ผบ.ตร.คนใหม่ - เด้งฟ้าผ่า 8 ตร.ทีม ‘สุรเชษฐ์’ 
 


<span class="submitted-by">Submitted on Wed, 2023-09-27 18:04</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>ก.ตร. มีมติ 10 ต่อ 1 ให้ 'พล.ต.อ.ต่อศักดิ์' รอง ผบ.ตร. อาวุโสลำดับที่ 4 และน้องเลขาฯพระราชวัง เป็น ผบ.ตร.คนที่ 14  - ขณะที่ ผบ.ตร.ทิ้งทวน สั่งเด้งฟ้าผ่า 8 นายตำรวจลูกน้อง พล.ต.อ.สุรเชษฐ์</p>
<p> </p>
<p>27 ก.ย.2566 สื่อหลายสำนักรายงานตรงกันว่า วันนี้ (27 ก.ย.) ที่สำนักงานตำรวจเเห่งชาติ (ตร.) มีการประชุม ก.ตร. โดยจะมีวาระสำคัญการพิจารณาผู้ที่เหมาะสมดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.ตร.) คนที่ 14 โดยมี เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานในการประชุม คณะกรรมการข้าราชการตำรวจ (ก.ตร.) ที่ห้องประชุมศรียานนท์ ชั้น 2 อาคาร 1 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ</p>
<p>โดยที่ประชุมมีมติ 10:1 แต่งตั้ง พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล รอง ผบ.ตร. อาวุโสลำดับที่ 4 และน้องชาย พล.อ.อ.สถิตย์พงษ์ สุขวิมล เลขาธิการพระราชวัง เป็น ผบ.ตร.คนที่ 14</p>
<p>สำหรับ ลำดับอาวุโสของ รอง ผบ.ตร. 4 นาย ที่เป็นผู้ชิงตำแหน่ง ผบ.ตร.ในวันนี้ คือ ลำดับที่ 1 พล.ต.อ.รอย อินทไพโรจน์, ลำดับที่ 2 พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หักพาล, ลำดับที่ 3 พล.ต.อ.กิตติ์รัฐ พันธุ์เพ็ชร์ และลำดับที่ 4 พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ </p>
<p>อย่างไรก็ตาม ไม่กีนาทีก่อนหน้าที่สื่อจะรายงานข่าวว่า ก.ตร.มีมติดังกล่าว มีสื่อมวลชน เช่น ไทยรัฐออนไลน์ โพสต์ทูเดย์ รายงานว่า ก.ตร. มีมติเลื่อนการแต่งตั้ง ผบ.ตร. ไปถึงเดือนตุลาคม พร้อมแต่งตั้ง พล.ต.อ.รอย รอง ผบ.ตร. อาวุโสลำดับที่ 1 นั่งรักษาการ ผบ.ตร. </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ผบ.ตร. สั่งเด้งฟ้าผ่า 8 นายตำรวจลูกน้อง ‘สุรเชษฐ์’ </span></h2>
<p>ขณะที่ เดลินิวส์รายงานว่า พล.ต.อ.สุรเชษฐ์ หลังทีมงานคนสนิทถูกตั้งประเด็นเกี่ยวข้องกับเว็บพนันออนไลน์จนมีปฏิบัติการบุกค้นบ้านเมื่อ 2 วันก่อน ล่าสุดวันนี้ มีคำสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ 553/2566 เรื่อง ให้ข้าราชการตำรวจปฏิบัติราชการและรักษาราชการแทน โดย 8 นาย ใกล้ชิดพล.ต.อ.สุรเชษฐ์ไปปฏิบัติราชการภายในสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยขาดจากตำแหน่งเดิม </p>
<p>ประกอบด้วย </p>
<p>1. พล.ต.ต.นำเกียรติ ธีระโรจนพงษ์ ผบก.ศฝร.บช.น. ปฏิบัติราชการที่ ศปก.ตร. เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ผอ.ศปก.ตร. มอบหมาย
2. พ.ต.อ.ภาคภูมิ พิศมัย รอง ผบก.สส.ภ.4 ปฏิบัติราชการที่ ศปก.ตร. เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ผอ.ศปก.ตร. มอบหมาย
3. พ.ต.อ.เขมรินทร์ พิศมัย ผกก.ตม.จว.จันทบุรี บก.ตม.๓ ปฏิบัติราชการที่ ศปก.ตร. เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ผอ.ศปก.ตร. มอบหมาย
4. พ.ต.อ.อาวิศ คูประสิทธิ์รัตน์ ผกก.ตม.จว.ฉะเชิงเทรา บก.ตม.๓ ปฏิบัติราชการที่ ศปก.ตร. เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ผอ.ศปก.ตร. มอบหมาย
5. พ.ต.ท.คริษฐ์ ปริยะเภตุ รอง ผกก.สส.สภ.สำโรงเหนือ จว.สมุทรปราการ ปฏิบัติราชการที่ ศปก.ตร. เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ผอ.ศปก.ตร. มอบหมาย
6. พ.ต.ต.ชานนท์ อ่วมทร สวป.สภ.ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จว.สมุทรปราการ ปฏิบัติราชการที่ ศปก.ตร. เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ผอ.ศปก.ตร. มอบหมาย
7. ส.ต.อ.อภิสิทธิ์ คนยงค์ ผบ.หมู่ (ป.) สภ.บางปะกง จว.ฉะเชิงเทรา ปฏิบัติราชการที่ ศปก.ตร. เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ผอ.ศปก.ตร. มอบหมาย
8. ส.ต.อ.ณัยวุฒิ หวัดแวว ผบ.หมู่ งานสายตรวจ 1 กก.1 บก.จร. ปฏิบัติราชการที่ คปก.ตร. เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามที่ ผอ.ศปก.ตร. มอบหมาย </p>
<p>โดยมอบหมายให้ตำรวจรักษาราชการแทน 4 นาย ประกอบด้วย
1. พ.ต.ท.คเขนทร์ บุญทวี รอง ผกก.จร.สภ.เมืองสมุทรปราการ รรท.รอง ผกก.สส.สภ.สำโรงเหนือ จว.สมุทรปราการ
2. พ.ต.ท.สเนตย์ สีชำนาญ รอง ผกก.ฝอ.ภ.จว.สมุทรปราการ รรท.รอง ผกก.จร.สภ.เมืองสมุทรปราการ
3. พ.ต.ท.พิทักษ์ โสนนอก สว.ผ่อ.ภ.จว.สมุทรปราการ รรท.สวป.สภ.ทำอากาศยานสุวรรณภูมิ จว.สมุทรปราการ
3. ส.ต.อ.ธนโขติ แสงเรือง ผบ.หมู่ กก.สส.ภ.จว.ฉะเชิงเทรา รรท.ผบ.หมู่ (ป.) สภ.บางปะกง จว.ฉะเชิงเทรา </p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ขhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/09/106098
 
5007  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - ประวัติ “บิ๊กต่อ” พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล “มือปราบสายธรรมะ” อดีตพนักงานบริษัทน้ เมื่อ: 27 กันยายน 2566 17:45:29
ประวัติ “บิ๊กต่อ” พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล “มือปราบสายธรรมะ” อดีตพนักงานบริษัทน้ำมัน
         


ประวัติ “บิ๊กต่อ” พล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล “มือปราบสายธรรมะ” อดีตพนักงานบริษัทน้ำมัน" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;เปิดประวัติ “บิ๊กต่อ” หรือพล.ต.อ.ต่อศักดิ์ สุขวิมล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่ผันตัวจากพนักงานบริษัทน้ำมัน สู่การเป็นข้าราชการตำรวจยศสูง และเป็นตัวเต็ง ผบ.ตร. คนที่ 14

         

https://www.sanook.com/news/9044978/
         
5008  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - 'ปดิพัทธ์' แจงผลดูงานสิงคโปร์ ใช้งบต่ำกว่าที่ตั้งไว้-ส่งคืนคลัง หวังดันประส เมื่อ: 27 กันยายน 2566 16:51:27
'ปดิพัทธ์' แจงผลดูงานสิงคโปร์ ใช้งบต่ำกว่าที่ตั้งไว้-ส่งคืนคลัง หวังดันประสิทธิภาพงานสภา
 


<span class="submitted-by">Submitted on Wed, 2023-09-27 16:21</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>ปดิพัทธ์ รองประธานสภาฯ แจงผลดูงานสิงคโปร์ ใช้งบต่ำกว่าที่ตั้งไว้-ส่งคืนคลัง หวังผลักดันประสิทธิภาพงานสภา ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เป็น Open Parliament เร็วที่สุด</p>
<p>27 ก.ย. 2566 ทีมสื่อพรรคก้าวไกล รายงานต่อสื่อมวลชนว่า วันนี้ (27 ก.ย.) ปดิพัทธ์ สันติภาดา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่ 1 แถลงข่าวผลการศึกษาดูงานที่ประเทศสิงคโปร์ ระบุว่า จากงบประมาณที่ตั้งไว้ 1,493,800 บาท ใช้จริง 917,009.51 บาท ต่ำกว่างบที่ตั้งไว้ประมาณ 500,000 บาท ส่วนกรณีงบรับรอง 200,000 บาท ใช้จริง 61,742 บาท ส่งคืนคลัง 138,257 บาท โดยใช้ในการเลี้ยงรับรองนักศึกษาและแรงงานไทยในสิงคโปร์ รวมถึงในมื้อรับรองที่ทางคณะพบกับ สส.สิงคโปร์ นอกจากนั้นใช้ไปกับค่าคนขับรถและค่าใช้จ่ายจิปาถะ</p>
<p>ปดิพัทธ์ กล่าวว่า ส่วนการศึกษาดูงาน สิ่งที่พบมี 3 ประเด็น ประเด็นที่ 1 ตนได้เดินทางไปพบผู้ประกอบการแบตเตอรี่สำหรับรถจักรยานยนต์ไฟฟ้าในสิงคโปร์ ได้รายละเอียดว่า หากประเทศไทยไม่สามารถเตรียมโครงสร้างทางกฎหมายมารองรับ การพัฒนาอุตสาหกรรม EV ในประเทศจะเป็นไปไม่ได้ โดยตนจะส่งผลการศึกษานี้ไปยังพรรคการเมืองต่างๆ รวมถึงรัฐบาลเพื่อพิจารณา</p>
<p>ประเด็นที่ 2 คือเหตุผลที่คนไทยที่ทำงานในบริษัทระดับโลกที่สิงคโปร์ ไม่สามารถกลับประเทศไทยได้ เช่น ระบบนิเวศ (ecosystem) หรือมาตรการภาษี ที่ไม่ดึงดูดผู้มีศักยภาพเข้ามาทำงาน รวมถึงเรื่องข้อมูลเปิด (Open data) ที่ประเทศไทยยังมีไม่เพียงพอให้บริษัทเทคโนโลยีเข้ามาลงทุนได้  ซึ่งตนจะส่งเรื่องไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาให้ดีขึ้น ส่วนแรงงานไทยในสิงคโปร์ ไม่พบปัญหาละเมิดสิทธิมนุษยชน และเป็นกลุ่มที่ต้องการการสนับสนุนเพื่อใช้ภาษาอังกฤษและทักษะช่างที่ดีขึ้น เนื่องจากเป็นแรงงานทักษะสูง</p>
<p>ประเด็นที่ 3 การพัฒนาระบบรัฐสภาของสิงคโปร์ แม้ระบบสภาฯ ของสิงคโปร์แตกต่างจากประเทศไทยมาก แต่สิงคโปร์ลงทุนเกี่ยวกับประสิทธิภาพของสภาฯ สูงมาก มีการประชุมสภาฯ เดือนละครั้ง ครั้งละ 3-4 วัน ประชาชนเข้าร่วมได้เสมือนเป็นพยานในการตัดสินใจ ดังนั้น ในการอภิปรายงบประมาณและการอภิปรายไม่ไว้วางใจของสภาชุดนี้ ตนจะผลักดันให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมได้เช่นกัน </p>
<p>ปดิพัทธ์ ยังกล่าวถึงนโยบาย Cloud First Policy โดยระบุว่าปัจจุบันเอกสารข้อมูลต่างๆ ของสภาฯ ยังไม่สามารถทำให้เป็นระบบดิจิทัลได้ หลังจากนี้ตนจะนำเรื่องเข้าสู่กรรมการ ICT ของรัฐสภา เพื่อลงทุนในระบบ Cloud เพื่อความคุ้มค่าในอนาคต ทำให้การทำงานของสมาชิกสภาฯ ทันสมัยและทำให้พี่น้องประชาชนเข้าถึงข้อมูลได้อย่างไร้รอยต่อที่สุด นี่คือความตั้งใจที่จะทำให้เกิดเป็น Open Parliament เร็วที่สุด</p>
<p>ปดิพัทธ์​ ยังกล่าวถึง สส. ที่ร่วมติดตามไปประชุม ได้แก่ วรภพ วิริยะโรจน์ สส.บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล ที่เดินทางไปสมทบหลังหายจากอาการโควิด เพื่อศึกษาเรื่องการบริหารจัดการน้ำและศึกษาเรื่อง Cloud service นอกจากนี้มี สส. อีก 2 คนที่เดินทางกลับก่อน ได้แก่ ณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ สส.บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล และ ศรัณย์ ทิมสุวรรณ สส.เลย พรรคเพื่อไทย เนื่องจากเดิมการวางแผนในตอนแรก ทั้ง 2 คนยังไม่ติดภารกิจ แต่ต่อมาเมื่อมีภารกิจ จึงได้เลือกเรื่องศึกษาดูงานในประเด็นที่ทั้ง 2 คนสนใจมากที่สุด ได้แก่ Open Parliament และ Green Parliament ไปอยู่ในโปรแกรมวันศุกร์และวันเสาร์ เมื่อเสร็จแล้วจึงเดินทางกลับประเทศไทยก่อนกำหนดเพื่อทำภารกิจ ยืนยันว่าไม่ใช่การหนีกลับแต่อย่างใด</p>
<p>ปดิพัทธ์ ย้ำอีกว่า กรณีความเข้าใจคลาดเคลื่อนและเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่าตนเดินทางไปประเทศสิงคโปร์ เพื่อไปเทศกาลคราฟต์เบียร์นั้น ต้องชี้แจงว่า มีการเดินทางไปเยี่ยมคนงานในไซต์ ซึ่งทำให้คนเหล่านั้นกล้าพูดคุยกับตนมากขึ้น และเกิดบรรยากาศการแลกเปลี่ยนหลังการประชุม โดยหลังจากนี้ หากเขียนรายงานสมบูรณ์เสร็จสิ้น จะรีบนำรายงานแจกแก่สื่อมวลชน</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ขhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/09/106096
 
5009  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - ธนาธรไม่ผิด! ศาลสั่งกรมที่ดินชดใช้ 4.9 ล้าน ปมที่ดินรุกป่าสงวน พบซื้อมาโดยสุจริต เมื่อ: 27 กันยายน 2566 16:21:07
ธนาธรไม่ผิด! ศาลสั่งกรมที่ดินชดใช้ 4.9 ล้าน ปมที่ดินรุกป่าสงวน พบซื้อมาโดยสุจริต
         


ธนาธรไม่ผิด! ศาลสั่งกรมที่ดินชดใช้ 4.9 ล้าน ปมที่ดินรุกป่าสงวน พบซื้อมาโดยสุจริต" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;ศาลสั่งกรมที่ดินชดใช้ให้ ธนาธร 4.9 ล้าน ปมเพิกถอนที่ดินราชบุรี พบซื้อมาโดยสุจริต แต่เจ้าหน้าที่รัฐออกเอกสารสิทธิไม่รอบคอบ
         

https://www.sanook.com/news/9049386/
         
5010  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ‘สส.ก้าวไกล’ เผย รมว.พลังงาน ตอบรับปรับโครงสร้างพลังงานตามข้อเสนอ แต่ยังไม่เคา เมื่อ: 27 กันยายน 2566 15:19:36
‘สส.ก้าวไกล’ เผย รมว.พลังงาน ตอบรับปรับโครงสร้างพลังงานตามข้อเสนอ แต่ยังไม่เคาะจะทำตอนไหน
 


<span class="submitted-by">Submitted on Wed, 2023-09-27 13:48</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>‘สส.ก้าวไกล’ เผย รมว.พลังงาน ตอบรับเพิ่มการแข่งขันในภาคพลังงาน ปรับโครงสร้างราคาก๊าซตามข้อเสนอก้าวไกล แต่ยังไม่เคาะจะดำเนินการเมื่อไร ขอประชาชนติดตาม-ตรวจสอบ รัฐบาลทำตามผลหารือหรือไม่</p>
<p> </p>
<p>27 ก.ย. 2566 ทีมสื่อพรรคก้าวไกล รายงานต่อสื่อมวลชนว่า วันนี้ (27 ก.ย.) ศุภโชติ ไชยสัจ สส.บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล เปิดเผยถึงการหารือเกี่ยวกับนโยบายพลังงานของรัฐบาลกับ พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ตามคำเชิญของรัฐมนตรี ที่ทำเนียบรัฐบาลเมื่อวานนี้ (26 กันยายน) ว่า หลังจาก รมว.พลังงาน มีหนังสือเชิญตนเข้าไปหารือ รวมถึงรับฟังข้อเสนอและข้อกังวลเกี่ยวกับมาตรการแก้ไขปัญหาค่าไฟและค่าเชื้อเพลิงอื่น ๆ ตน พร้อมด้วย วรภพ วิริยะโรจน์ สส.บัญชีรายชื่อ และ เดชรัต สุขกําเนิด ที่ปรึกษาหัวหน้าพรรคก้าวไกล ได้ทำหน้าที่เป็นตัวแทนประชาชน เสนอปัญหาและวิธีการแก้ไขทั้งในระยะสั้นและระยะยาว</p>
<p>สำหรับระยะสั้น นอกเหนือจากการยืดหนี้ที่ทางรัฐบาลใช้เป็นมาตรการเร่งด่วนในการลดค่าไฟหรือการใช้เงินอุดหนุนเพื่อลดราคาน้ำมัน พวกเราได้เสนอมาตรการต่อเนื่องในการแก้ไขปัญหาที่โครงสร้าง เพื่อหลีกเลี่ยงการที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตหรือรัฐจะต้องแบกรับต่อไปเรื่อย ๆ ซึ่งทางรัฐมนตรีเห็นชอบกับข้อเสนอนี้ในการปรับโครงสร้างราคาก๊าซธรรมชาติต้นทุนหลักของการผลิตกระแสไฟฟ้า โดยการถัวเฉลี่ยต้นทุนของแหล่งก๊าซราคาถูกที่ปัจจุบันให้กับกลุ่มธุรกิจ ใช้รวมกับแหล่งก๊าซที่ราคาแพง เพื่อให้ต้นทุนการผลิตกระแสไฟฟ้าลดลง อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการกำหนดระยะเวลาว่าจะดำเนินการเมื่อใด </p>
<p>การแก้ไขสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อลดค่าความพร้อมจ่ายจากปัญหาโรงไฟฟ้าเกินความจำเป็น รวมไปถึงการทำแผนพลังงาน (Power Development Plant: PDP) อย่างโปร่งใสก็เป็นอีกหนึ่งข้อเสนอที่ได้รับการตอบรับจากทางรัฐมนตรี ว่าจะนำไปพิจารณาในการลดค่าไฟอย่างเป็นธรรมให้แก่ประชาชน</p>
<p>นอกจากนี้ ยังเสนอให้มีการทบทวนและยืดการเซ็นสัญญาโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ออกไปก่อน หลีกเลี่ยงการเพิ่มต้นทุนค่าไฟให้กับประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรณีการเซ็นสัญญาไฟฟ้าระหว่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิตและเขื่อนปากแบงจากประเทศลาว ที่ได้ก่อให้เกิดข้อกังวลรวมไปถึงคำถามจากภาคประชาชนและนักวิชาการมากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความจำเป็นของเขื่อนนี้ที่มีการเซ็นสัญญาผูกขาดระยะยาวเกือบ 30 ปี ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศโดยรอบ ปัญหาเรื่องเขตแดน รวมไปถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับชาวบ้านในพื้นที่โดยรอบ เรื่องนี้รัฐมนตรีก็ตอบรับว่าจะมีการศึกษาและพิจารณาถึงการเซ็นสัญญาอีกรอบหนึ่ง</p>
<p>ศุภโชติ กล่าวว่า ในระยะยาว เพื่อเตรียมตัวสำหรับวิกฤตทางด้านพลังงานที่คาดว่าจะเกิดขึ้น พวกเราได้หารือกับรัฐบาล ไม่ว่าจะเป็น การเพิ่มการแข่งขันในภาคพลังงาน ลดการผูกขาด  การให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการเขียนแผนพลังงานของประเทศ รวมไปถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมจากภาคพลังงาน ทั้งหมดนี้ได้รับการตอบรับจากทางรัฐบาล ว่าการร่างแผนพลังงานจะสอดคล้องกับเป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ และจะไม่มีโรงไฟฟ้าถ่านหินในแผนฉบับใหม่ที่กำลังจะเผยแพร่สู่สาธารณะในอีกไม่นาน รวมไปถึงแผนการเปลี่ยนผ่านสู่ตลาดพลังงานที่จะเพิ่มการแข่งขันของประเทศ</p>
<p>“ผมเชื่อว่า การที่ปัญหาของพี่น้องประชาชนถูกรับฟังโดยผู้มีอำนาจรัฐ และภาครัฐพร้อมรับไปพิจารณาแก้ไข เป็นแนวทางการทำงานของรัฐบาลที่ประชาชนอยากเห็น แต่การกระทำนั้นสำคัญกว่าคำพูด หลังจากนี้ผมจึงขอความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการตรวจสอบและติดตามรัฐบาล ว่าได้ดำเนินการ ตามที่ตอบรับจากการประชุมนี้หรือไม่ ผมหวังว่ารัฐบาลจะยึดประชาชนเป็นที่ตั้งไว้เสมอ ไม่ว่าดำเนินนโยบายใดก็ตาม เพราะหากไม่เดินทางตามแนวทางนี้ ประชาชนย่อมมีสิทธิตั้งข้อสงสัยได้ว่า สุดท้ายแล้ว รัฐบาลทำงานเพื่อรับใช้ใคร” ศุภโชติระบุ </p>
<p>ศุภโชติ ทิ้งท้ายว่า สำหรับตนและพรรคก้าวไกล ยืนยันจะทำงานอย่างสร้างสรรค์ เกาะติดปัญหา ตรวจสอบสิ่งที่ไม่ถูกต้อง และเสนอแนะสิ่งที่ควรเป็น โดยยึดประโยชน์ของประชาชนเป็นที่ตั้ง ตามแนวทางฝ่ายค้านเชิงรุก เพื่อสะสมประสบการณ์และผลงาน สู่การเป็นรัฐบาลในอนาคต</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ขhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/09/106091
 
5011  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "แม่จุ๋ย" รีวิวทริปต่างประเทศนั่งเครื่องครั้งแรกของ "น้องพีร์เจ" เห็นภาพแ เมื่อ: 27 กันยายน 2566 15:15:11
"แม่จุ๋ย" รีวิวทริปต่างประเทศนั่งเครื่องครั้งแรกของ "น้องพีร์เจ" เห็นภาพแล้วรู้เรื่อง
         


&quot;แม่จุ๋ย&quot; รีวิวทริปต่างประเทศนั่งเครื่องครั้งแรกของ &quot;น้องพีร์เจ&quot; เห็นภาพแล้วรู้เรื่อง" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;พ่อพุฒ-แม่จุ๋ย รีวิวการนั่งเครื่องบินครั้งแรกของ น้องพีร์เจ ทริปแรกเกาหลี ทำพ่อแม่ลุ้นหนักมาก เผยภาพเห็นแล้วยิ้มเลย
         

https://www.sanook.com/news/9049286/
         
5012  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ถก‘สื่อพลิกผันในสถานการณ์พลิกขั้ว’ สะท้อนสภาพการทำงานสื่อท่ามกลาง ภัยคุกคาม เมื่อ: 27 กันยายน 2566 13:48:48
ถก‘สื่อพลิกผันในสถานการณ์พลิกขั้ว’ สะท้อนสภาพการทำงานสื่อท่ามกลาง ภัยคุกคาม ทางออกจะเป็นอย่างไร?
 


<span class="submitted-by">Submitted on Wed, 2023-09-27 12:12</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>เวทีสาธารณะ "สื่อพลิกผันในสถานการณ์พลิกขั้ว" สะท้อนสภาพการทำงานของสื่อมวลชนที่ยากลำบากท่ามกลางสถานการณ์ทางการเมืองแบ่งขั้วมานานหลายปี ต้องเผชิญทั้งภัยคุกคามหลายด้านทั้งกฎหมายที่ปิดกั้น ความเสี่ยงต่อการถูกสอดแนม ไปจนถึงภัยคุกคามต่อชีวิตจนไปกระทบต่อการทำงานและเสรีภาพในการแสดงออกของสื่อ แต่เมื่อรัฐบาลเปลี่ยนหน้าจะคาดหวังความเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่</p>
<p>26 ก.ย.2566 ที่โรงแรมไอบิส สไตล์ รัชดาฯ ประชาไทจัดเวทีสาธารณะ "สื่อพลิกผันในสถานการณ์พลิกขั้ว" เพื่อนำเสนอสภาพกานทำงานของสื่อภายใต้ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในช่วงตั้งแต่ปี 2557-2566 ทั้งกรณีที่สื่อถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพจากการทำงานข่าวไม่ว่าจะเป็นการคุกคามทางกายภาพ การถูกดำเนินคดี ไปจนถึงความไม่ปลอดภัยในการทำงานที่ไม่มีมาตรการคุ้มครองจากที่ทำงาน</p>
<p>โดยช่วงแรก ผศ.ดร.พรรษาสิริ กุหลาบ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฑารัตน์ กุลตัณกิจจา ผู้ช่วยวิจัยในโครงการวิจัย เป็นผู้นำเสนอ “สื่อในการรายงานข่าวการประท้วง: บทบาทของสื่อมวลชนไทยในการชุมนุมและความรุนแรงทางการเมือง(พ.ศ. 2557-2565)”</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">เปิดสถิติสื่อถูกคุกคามระหว่างทำข่าวชุมนุม</span></h2>
<p>พรรษาสิริเปิดข้อมูลสถิติที่ทำให้เห็นภาพความเสี่ยงในการทำงานของนักข่าวภาคสนามที่ต้องเผชิญระหว่างการทำข่าวการชุมนุมครั้งใหญ่ 5 ครั้งตั้งแต่พฤษภาทมิฬปี 2535 การชุมนุมของกลุ่มประชาชนพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย(พธม.หรือคนเสื้อเหลือง) การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการ (นปช.หรือคนเสื้อแดง) การชุมนุมของ กปปส. และล่าสุดการชุมนุมของม็อบราษฎร</p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53217138970_36be24ea69_b.jpg" /></p>
<p>อ.นิเทศจุฬาฯ มีข้อสังเกตว่านอกจากข้อมูลสถิติข้างต้นแล้วจากการสัมภาษณ์สื่อที่เคยทำงานในช่วงการชุมนุมใหญ่เหล่านี้มามักมีคำตอบใกล้เคียงกันว่าพฤติกรรมของตำรวจในพื้นที่ชุมนุมไม่ได้มีการสอดส่องหรือเข้มงวดไปจนถึงแสดงท่าที่เป็นปฏิปักษ์มากเท่ากับเจ้าหน้าที่ที่มาปฏิบัติหน้าที่ในช่วงการชุมนุมม็อบราษฎร</p>
<p>พรรษาสิริกล่าวถึงการเสียชีวิตของสื่อต่างประเทศ 2 คนระหว่างทำข่าวการชุมนุมของ นปช.และยังมีสื่อที่ได้รับบาดเจ็บจากกอาวุธหนักด้วยว่าแม้จะมีการไต่สวนโดยศาลแต่กลับบอกไม่ได้ว่าเกิดจากเจ้าหน้าที่รัฐหรือบุคคลที่แอบแฝงเข้ามา จึงยังเป็นกรณีดำมืดและถือว่าเป็นเรื่องร้ายแรงมาก ระดับเสรีภาพในช่วงนั้นตกต่ำมาก แต่ไม่มีข้อเท็จจริงที่บอกได้เลยว่ามันเกิดจากอะไร ทั้งที่มีผู้เสียชีวิตเกือบร้อยคนในเวลานั้น</p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53217021069_57b0187665_b.jpg" /></p>
<p>พรรษาสิริเห็นว่าจากผลกระทบที่เกิดขึ้นรูปแบบในการปิดกั้นการทำงานของสื่อมวลชนในการชุมนุมฝ่ายภาครัฐใช้แบบแผนเดิมๆ คือ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เข้าควบคุมสถานการณ์เมื่อมีการชุมนุมที่มีคนจำนวนมากเข้าร่วมมและยังใช้ในการสกัดกั้นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ส่วนรูปแบบที่โดดเด่นขึ้นมาคือช่วง นปช. ที่มีปฏิบัติการสลายการชุมนุมด้วยอาวุธหนักที่ส่งผลต่อสื่อมวลชนด้วย ส่วนกรณีม็อบราษฎรมีกรณีที่น่าสนใจและเพิ่มเข้ามาคือมีการนำตัวคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่มีมติบอกว่าข้อเสนอปฏิรูปสถาบันกษัตริย์เข้าข่ายล้มล้างการปกครองเอามาใช้ในการขอความร่วมไม่ให้สื่อวิทยุโทรทัศน์รายงานเกี่ยวกับข้อเรียกร้องของผู้ชุมนุม ขณะเดียวกันก็มีบรรยากาศความเกร็งที่จะรายงานข่าวเมื่อมีจำนวนคดี ม.112 ต่อนักกิจกรรมและผู้ชุมนุมที่พุ่งสูงขึ้น จึงสะท้อนความกังวลและบรรยากาศความกลัวความเกร็งในช่วงนั้น</p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53216648596_aaea8ac07e_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">พรรษาสิริ กุหลาบ</span></p>
<p>อ.นิเทศจุฬาฯ ยังมีข้อสังเกตต่อสถานการณ์การปิดกั้นการทำงานสื่ออยู่อีก 3 ประเด็น</p>
<p>1. ไม่มีการบันทึกการใช้ความรุนแรงและการปิดกั้นสื่ออย่างเป็นระบบก็เลยไม่เห็นรูปแบบของการคุกคามสื่อและยังถูกมองว่าเป็นเรื่องของลูกหลงหรือปัญหาของปัจเจกที่เข้าไปอยู่ในพื้นที่เสี่ยงเอง ทำให้ไม่เกิดโครงสร้างในการระวังป้องกันความรุนแรงได้โดยเฉพาะความรุนแรงจากรัฐ</p>
<p>2. การตรวจสอบไม่เป็นระบบจากภาครัฐ ทำให้เกิดการพ้นผิดลอยนวล หรือเมื่อมีสื่อมวลชนดำเนินการฟ้องร้องเป็นคดีก็ไม่ได้นำไปสู่ผลลัพธ์ที่ชัดเจน</p>
<p>3. ผลกระทบที่เกิดขึ้นทำให้เห็นอุตสาหกรรมสื่อขาดการคุ้มครองแรงงาน และการเยียวยาผลกระทบจากการทำงาน อุตสาหกรรมไม่ส่งเสริมการรวมกลุ่มแรงงานของสื่อไม่เกิดเป็นสหภาพแรงงานในองค์กรสื่อ เมื่อไม่เกิดการรวมตัวก็ไม่มีอำนาจต่อรองและถูกมองว่าเป็นปัญหาของปัจเจกแล้วก็ถูกมองว่าเป็นเรื่องฟุ่มเฟือยแทน</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ความพร้อมในการรับมือความรุนแรงของสื่อ</span></h2>
<p>จุฑารัตน์ กุลตัณกิจจา ผู้ช่วยวิจัยนำเสนอเพิ่มเติมถึงแนวทางในการจับตาความรุนแรงทางการเมืองของสื่อว่า ในฐานะที่ตัวเองเป็นอดีตนักข่าวภาคสนามของประชาไทในช่วงที่มีสถานการณ์ม็อบราษฎรช่วงปี 2563-2564 มีการชุมนุมมากกว่า 1,000 ครั้งและมีสื่อได้รับบาดเจ็บเกือบเท่าปี 35 ทำให้กองบรรณาธิการเริ่มเห็นว่าสถานการณ์ข้างหน้าอาจจะเกิดความรุนแรงทางการเมืองได้แม้ว่าในช่วงนั้นการชุมนุมจะยังเป็นไปโดยสงบไม่มีความรุนแรงจึงเริ่มมีการฝึกอบรมการประเมินสถานการณ์ความรุนแรงและเมื่อเกิดสถานการณ์สลายการชุมนุมเกิดขึ้นก็ทำให้ต้องเพิ่มการฝึกอบรมการปฐมพยาบาลและการดูแลสภาพจิตใจหลังเผชิญสถานการณ์รุนแรง</p>
<p>“แม้ว่าจะพยายามทำตามที่ฝึกอบรมแล้วแต่ก็ยังมีนักข่าวของเราเจอความรุนแรงอยู่ดีก็คือคุณศรายุทธ (ตั้งประเสริฐ) ที่โดนกระสุนยางแต่ว่าสิ่งที่ถูกโต้แย้งกลับมาว่าเราเผชิญความรุนแรงคือ คุณยืนอยู่ผิดที่ผิดทางเข้าไปโดนลูกหลงเองอะไรแบบนี้ซึ่งนี่ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทางเราพยายามขอให้สอบสวนเอาผิดทางคดีแต่ก็ได้คำตอบกลับมาว่าเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานได้แบบถูกต้องแล้วแต่เป็นนักข่าวที่ไปยืนผิดที่ทำให้โดนลูกหลง” จุฑารัตน์กล่าวถึงปัญหาที่ทำให้การสอบสวนเอาผิดไม่คืบหน้าและเมื่อคดีไปถึงศาลแพ่งก็ยกฟ้องทั้งที่ไม่มีการไต่สวนข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">สื่อออนไลน์และสตริงเกอร์เผชิญภัยคุกคามมากกว่า</span></h2>
<p>ธีรนัย จารุวัสตร์ อดีตนักข่าวของข่าวสด อดีตอุปนายกฝ่ายสิทธิเสรีภาพและการปฏิรูปสื่อ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย และล่าสุดเป็นผู้ประสานงานโครงการเฝ้าระวังเสรีภาพสื่อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (PFMSea) ซึ่งเป็นองค์กรที่ตั้งขึ้นมาในเดือนธันวาคม 2565 เพื่อติดตามสถานการณ์เสรีภาพของสื่อมวลชน โดยเขาได้สำเสนอข้อมูลการคุกคามเสรีภาพสื่อออนไลน์และสตริงเกอร์ในช่วงธ.ค.2565- ก.ย. 2566 ว่าข้อมูลที่องค์กรเก็บนั้นครอบคลุมคนทำงานสื่อมวลชนที่มีสังกัด สตริงเกอร์ที่ทำข่าวส่งจากจังหวัดต่างๆ ส่งให้สำนักข่าวต่าง สื่อพลเมืองที่รวมถึงคนทำเพจเฟซบุ๊กและยูทูบเบอร์ ไปจนถึงผู้ที่ทำงานด้านข้อมูลข่าวสารที่เป็นแหล่งข้อมูลเช่น ไอลอว์ ไทยเน9ติเช่น เนื่องจากแม้กลุ่มนี้จะไม่ใช่สื่อโดยตรงแต่เป็นผู้ให้ข้อมูลกับสื่อ</p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53216648541_57cdfc0634_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">ธีรนัย จารุวัสตร์</span></p>
<p>ข้อมูลที่ธีรนัยนำเสนอมีการแบ่งลักษณะการคุกคามเป็น 5 รูปแบบการทำร้ายร่างกายและติดตามข่มขู่คุกคาม 8 กรณี คุกคามทางวาจาหรือด้อยค่า 7 กรณี การฟ้องร้องหรือขู่ว่าจะดำเนินคดี 11 กรณี ปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร 1 กรณี และอื่นๆ 2 กรณี</p>
<p>ธีรนัยมีข้อสังเกตว่ากรณีที่เป็นการข่มขู่คุกคามและการทำร้ายร่างกายโดยทั่วไปที่ไม่ใช่สถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองนั้นนักข่าวในต่างจังหวัดหรือสตริงเกอร์นั้นถูกกระทำรุนแรงมากกว่าสื่อในพื้นที่กรุงเทพฯ อย่างไรก็ตามมีกรณีช่างภาพของสเปซบาร์ที่ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจนอกเครื่องแบบเฝ้าติดตามถึงที่พักและเมื่อตรวจสอบเรื่องนี้ไปที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติแล้วก็ไม่ได้มีคำตอบอะไรกลับมา แต่ตำรวจที่มาปฏิบัติการก็เคยชี้แจงว่ามาเฝ้าเพราะนช่างภาพคนดังกล่าวเป็นบุคคลที่มีการกระทำที่อาจกระทบความมั่นคง</p>
<p>ผู้ประสานงานจาก PFMSea กล่าวต่อถึงรูปแบบการดำเนินคดีหรือขู่ดำเนินคดี พบว่าเป็นวิธีการที่ถูกนำมาใช้บ่อยมากที่สุดและในไทยก็มีกรณีที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.) มีการขู่ติดกันถึง 3 ครั้งว่าจะฟ้องสื่อแม้ว่าจะมีหนึ่งครั้งที่เป็นการให้ข้อมูลผิดจากทาง กกต.เองทำให้สุดท้ายต้องขอโทษเดอะ แมทเทอร์ อย่างไรก็ตามเรื่องนี้ก็ทำให้เห็นว่าเวลาที่หน่วยงานรัฐเป็นผู้ให้ข้อมูลผิดเองกลับไม่มีการลงโทษหรือต้องรับผิดชอบกับความผิดพลาดของตัวเอง</p>
<p>อย่างไรก็ตาม ธีรนัยกล่าวว่าการเฝ้าระวังของโครงการยังมีข้อจำกัดอยู่คือสามารถนับข้อมูลได้เฉพาะที่มีการรายงานข่าวและมีหลักฐานชัดเจนเกิดขึ้น แต่ก็มีการคุกคามอย่างการเซนเซอร์ตัวเองของสื่อที่จะต้องนับรวมด้วยแต่ว่ามักจะไม่ปรากฏข่าวออกมาให้เห็นแม้ว่าจะเกิดค่อนข้างบ่อย</p>
<p>ผู้ประสานงาน PFMSea ยังกล่าวถึงอีกปัญหาว่าหลายครั้งคนทำงานสื่อเองไม่ได้มองว่าตัวเองถูกคุกคามอยู่แต่มองว่าเป็นเรื่องปกติที่เจออยู่ในการทำงานอยู่แล้วไม่ว่าการข่มขู่คุกคาม ถูกพูดด้อยค่าโดยเฉพาะกับนักข่าวรุ่นเก่าทำให้ไม่มีการรายงานกลับมาว่าถูกคุกคาม นอกจากนั้นยังนิยามของคำว่า “คุกคาม” มีความคลุมเครือ เพราะหากมองว่าประชาชนเป็นเหยื่อที่ถูกสื่อรายงานข่าวอย่างบิดเบือนข้อเท็จจริง ประชาชนจะสามารถฟ้องดำเนินคดีสื่อได้หรือไม่และจะถือว่าเป็นการคุกคามสื่อหรือไม่? ไปจนถึงการที่สื่อถูก “ทัวร์ลง” ในสื่อสังคมออนไลน์จะถือเป็นการวิจารณ์การทำงานหรือเป็นการคุกคาม?</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">การสอดแนมเป็นปัญหาการเมือง อัพเวอร์ชั่น IOS ใช่จะแก้ได้</span></h2>
<p>รัชพงษ์ แจ่มจิรไชยกุล จากไอลอว์ ในฐานะผู้ที่ติดตามประเด็นเรื่องสปายแวร์เพกาซัสที่ถูกนำมาใช้กับนักกิจกรรม นักวิชาการ และนักการเมืองในไทย  เขากล่าวว่าที่ผ่านมาเรื่องการสอดแนมทางออนไลน์นั้นที่ผ่านมาเรื่องนี้อาจจะเคยเป็นเพียงทฤษฎีสมคบคิดเท่านั้นเพราะไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนนักว่ามีการใช้ แต่เมื่อพบว่าเพกาซัสถูกนำมาใช้กับนักวิชาการ นักกิจกรรม และนักการเมืองในไทยถึง 35 คน ก็เหมือนเป็นเครื่องยืนยันว่าเรื่องที่เป็นความเชื่อมาโดยตลอดนั้นเป็นเรื่องจริงว่ารัฐไทยมีความสามารถพอที่จะใช้เพกาซัสในการสอดส่องประชาชน</p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53216959038_e4b0b4fe02_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">รัชพงษ์ แจ่มจิรไชยกุล</span></p>
<p>รัชพงษ์กล่าวว่าการตรวจสอบนี้ยังมีข้อจำกัดทางเทคนิคทำให้ไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าผู้ที่ใช้สมาร์ทโฟนที่เป็นระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ถูกติดตั้งเพกาซัสด้วยหรือไม่ และยังไม่สามารถขยายการตรวจไปยังสื่อของสำนักข่าวอื่นๆ ที่อยู่นอกเครือข่ายการทำงานของเขาได้</p>
<p>แต่นอกจากเรื่องทางเทคนิคแล้ว เจ้าหน้าที่จากไอลอว์ยังชี้ให้เห็นอีกข้อจำกัดคือการดำเนินคดีทางกฎหมายแต่ความยากคือการระบุว่าใครเป็นคนทำเพราะไม่รู้ว่ามีหน่วยงานรัฐใดบ้างที่มีเครื่องมือนี้นอกจาก ปปส. ทางไอลอว์และเครือข่ายจึงร่วมกับผู้เสียหายที่รวมตัวกันฟ้องร้องดำเนินคดีกับบริษัทในอิสราเอลชื่อ NSO ที่เป็นผู้ผลิตต่อศาลแพ่งของไทย แต่ศาลไม่รับฟ้องโดยเหตุผลว่าผู้เสียหายถูกกระทำต่างกรรมต่างวาระกันเป็นคนละความผิดต้องแยกฟ้องจึงมีการฟ้องร้องใหม่อีกครั้งแยกกันคนละคดี ซึ่งเท่าที่เขาทราบทางศาลแพ่งได้มีหมายศาลไปถึงบริษัท NSO แล้ว ส่วนอีกอีกคดีที่ฟ้องรัฐไทยต่องศาลปกครองไปในฐานละเมิดศาลไม่รับโดยให้เหตุผลว่าคดีนี้เป็นคดีอาญาต้องฟ้องศาลอาญา เขามีข้อสังเกตต่อเรื่องนี้คดีทั้งหมดที่เกิดขึ้นนี้ศาลยังไม่มีการพิจารณาลงไปในเนื้อหาของคดีเลยว่ามีสปายแวร์นี้อยู่จริงหรือไม่ แต่เป็นเรื่องเทคนิคกฎหมายทั้งหมดในการพิจารณาไม่รับฟ้องเป็นคดี</p>
<p>รัชพงษ์ยังชี้ให้เห็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่มีการใช้สปายแวร์ลักษณะนี้ว่าทำให้เกิดบรรยากาศความกลัวขึ้นในสังคมและการถูกละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวยังเป็นช่องให้เกิดการละเมิดสิทธิอื่นๆ ตามมา เช่น เสรีภาพในการแสดงออกหรือเสรีภาพการชุมนุมเพราะเมื่อเจ้าหน้าที่รู้แล้วเป้าหมายกำลังจะทำอะไรก็อาจเข้ามาห้ามไม่ให้เกิดการการใช้เสรีภาพได้ก่อน ซึ่งด้วยตรรกะเดียวกันก็กระทบกับเสรีภาพของสื่อมวลชนได้เช่นกันเพราะเมื่อถูกรู้ก่อนว่าสื่อกำลังจะนำเสนอเรื่องอะไรก็อาจถูกเข้ามาห้าม ไปจนถึงสิทธิในร่างกายหากถูกรู้เส้นทางการเดินทางก็สามารถดักทำร้ายกันได้ และยังสร้างบรรยากาศความกลัวให้กับสังคมตามมาจนทำให้เกิดการเซนเซอร์ตัวเองของสื่อเมื่อรู้ว่าทำประเด็นไหนแล้วจะเกิดความเสี่ยงอย่างไร ไปจนถึงผู้ให้ข้อมูล (Whistleblower) อาจจะกลัวที่จะให้ข่าวกับสื่อเพราะอาจถูกติดตาม</p>
<h2><span style="color:#2980b9;">ข้อเสนอจากเวที</span></h2>
<p>ธีรนัยเสนอว่าควรยกระดับความปลอดภัยในการทำงานของสื่อด้วย เพราะอย่างกรณีสตริงเกอร์ที่ทำงานในความเสี่ยงแต่ได้รับเงินเป็นชิ้นส่งมากได้มากส่งน้อยได้น้อย แต่เงินที่ได้จากงานที่เสี่ยงก็ไม่ได้เพิ่ม แล้วก็ไม่มีเทรนนิ่งให้</p>
<p>ทั้งนี้ผู้ประสานงานของ PFMSea มองว่าปัญหาเรื่องความปลอดภัยและในการทำงาน การไม่มีค่าเสี่ยงภัยให้กับนักข่าวส่วนหนึ่งมาจากนักข่าวไม่มีสหภาพแรงงานในองค์กรของตัวเองทำให้ไม่มีการรวมตัวกันต่อรองกับเจ้าของสื่อ</p>
<p>ธีรนัยยังเสนออีกว่าควรมีช่องทางให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายสำหรับสื่อมวลชนโดยเฉพาะเพราะแม้ว่าในสำนักข่าวใหญ่ๆ จะมีฝ่ายกฎหมายของตัวเองในการจัดการเรื่องคดีแต่เขาก็ยกตัวอย่างปัญหาของสำนักข่าวที่เขาเคยทำว่าฝ่ายกฎหมายของสำนักข่าวเองก็มีคดีที่บริษัทถูกฟ้องต้องรับผิดชอบเป็นจำนวนมากจนมองว่าบางคดีอาจจะไม่คุ้มสู้แล้วเลือกที่จะเซนเซอร์ตัวเองไปแทนด้วยการถอดข่าวที่มีปัญหาออก ส่วนสื่อรายเล็กก็อาจจะไม่ได้มีฝ่ายกฎหมายของตัวเองในการรับมือเรื่องนี้  ซึ่งเขาเห็นว่าการต่อสู้ทางคดีนอกจากคดีเชิงรับที่สำนักข่าวถูกฟ้องแล้ว สำนักข่าวเองก็ควรจะมีช่องทางทางกฎหมายในการสู้คดีเชิงรุกด้วย เช่นมีทนายความทำคดีฟ้องกลับกรณีที่นักข่าวถูกทำร้ายร่างกายระหว่างปฏิบัติงาน หรือมีทนายความที่ช่วยสู้คดีที่สำนักข่าวถูกฟ้องให้ไปถึงศาลฎีกาเพื่อให้มีการวางแนวฎีกาของคดีความนั้นๆ</p>
<p>ผู้ประสานงานของ PFMSea  มองว่าบทบาทสมาคมวิชาชีพสื่อเองที่ไม่แข็งแรงก็จะกระทบต่อวงการสื่อด้วยเพราะที่ผ่านมาเองเวลาภาครัฐอยากจะทำอะไรกับสื่อก็มักจะเข้าหากับทางสมาคมวิชาชีพเพื่อพูดคุยมากกว่าไปที่สำนักข่าวโดยตรงอยู่แล้ว และเป็นเรื่องน่าเสียดายที่สมาคมวิชาชีพสื่อยังไม่ค่อยมีการแสดงท่าทีหรือแถลงการณ์มากนักต่อกรณีมีนักข่าวที่ถูกคุกคามจนเป็นข่าวแล้ว แม้ว่าทางสมาคมวิชาชีพจะมีการเข้าไปถามความต้องการของนักข่าวอยู่บ้างว่าต้องการความช่วยเหลือหรือไม่ ซึ่งทำให้เห็นว่าสมาคมเองมองแต่ในส่วนที่เป็นความต้องการของนักข่าวในฐานะปัจเจกมากกว่า เรื่องนี้เขาเห็นว่าสมาคมวิชาชีพเองควรต้องมีการออกมาแสดงท่าทีต่อการคุกคามที่เกิดขึ้นกับนักข่าวมากกว่านี้</p>
<p>ธีรนัยยังมีประเด็นที่ฝากถึงรัฐบาลใหม่ด้วยว่าการแสดงท่าทีที่ชัดเจนว่าจะปกป้องสิทธิและเสรีภาพในการแสดงออกก็จะส่งผลต่อท่าทีของหน่วยงานรัฐอื่นๆ ตามมาด้วยเพราะหน่วยงานรัฐต่างๆ ก็มักจะคอยมองทิศทางท่าทีของฝ่ายบริหารอยู่แล้วถ้ารัฐบาลมีท่าทีที่ชัดดีต่อเรื่องนี้หน่วยงานรัฐก็จะมีท่าทีไปในทิศทางเดียวกัน</p>
<p>ผู้ประสานงานของ PFMSea มีข้อเสนอต่อองค์กรเอ็นจีโอไปจนถึงองค์กรแหล่งทุนจากต่างประเทศว่า ควรมีบทบาทในการส่งเสริมเสรีภาพสื่อเพราะจะเห็นว่าบทบาทของรัฐไทยต่อเสรีภาพสื่อเป็นอย่างไร ส่วนภาคธุรกิจไทยเองเวลาพูดเรื่องเสรีภาพการแสดงออกขึ้นมาก็มองว่าเป็นเรื่องการเมืองไม่อยากจะเข้ามายุ่ง จึงไม่สามารถคาดหวังให้โครงการส่งเสริมเสรีภาพสื่อจะได้รับทุนจากภายในประเทศได้ ทำให้ต้องพึ่งพาแหล่งทุนจากองค์กรระหว่างประเทศหรือสถานทูตต่างๆ</p>
<p>ธีรนัยยังเสนอให้มีการปฏิรูปกระบวนการในชั้นศาลเพื่อไม่ให้เกิดการใช้ SLAPP เพราะเมื่อห้ามคนฟ้องไม่ได้ แต่ศาลก็สามารถตัดคดีทิ้งได้ เขายกตัวอย่างมาตรา 161/1 ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่เปิดให้ศาลและอัยการสามารถไม่ฟ้องหรือไม่รับฟ้องคดีที่เห็นว่ามีเจตนาฟ้องโดยไม่สุจริตได้แต่ในความเป็นจริงไม่ถูกใช้ และเท่าที่เคยคุยกับอัยการเองก็เคยบอกว่าถ้าใช้มาตรานี้แล้วตัวอัยการเองก็อาจจะถูกฟ้องด้วยมาตรา 157 ได้</p>
<p>สุดท้ายผู้ประสานงานของ PFMSea ยังเสนอให้มีการเสริมสร้างการเฝ้าระวังการคุกคามสื่อที่เป็นระบบ ถ้ามีการทำฐานข้อมูลการคุกคามสื่อก็จะมองเห็นรูปแบบของการละเมิดสิทธิได้และจะทำให้วางมาตรการรับมือหรือป้องกันการคุกคามที่อาจเกิดขึ้นได้ เพราะฝ่ายผู้ลงมมือคุกคามเองก็มีการพัฒนารูปแบบการคุกคามไปเรื่อยๆ ด้วยเช่นกัน ทำให้แก้ปัญหาได้ถูกจุดมากขึ้น เพราะการแก้ปัญหาด้วยการฝึกอบรมนักข่าวอาจจะไม่เพียงพอ</p>
<p>จุฑารัตน์กล่าวถึงข้อเสนอที่มีต่อรัฐบาลใหม่ว่าก็คาดหวังว่ารัฐบาลใหม่จะมีความเข้าใจเรื่องสิทธิเสรีภาพสื่อมากขึ้นแม้ว่าสิทธิเสรีภาพของประชาชนจะมีการรับรองเอาไว้ในรัฐธรรมนูญแล้ว แต่ขั้นต่ำที่ควรจะมีอย่างการไม่ละเมิดและขัดขวางการใช้สิทธิเสรีภาพก็ยังเกิดขึ้นอยู่เพราะไทยมีเรื่องความมั่นคงของรัฐที่ถูกเอามาตีความใช้อย่างกว้างขวางมาก แต่ยิ่งกว่าการไม่ละเมิดสิทธิแล้วรัฐยังต้องส่งเสริมเสรีภาพสื่อเพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญที่รับรองไว้ด้วย แม้ว่าจะมีข้อยกเว้นให้เกิดการจำกัดสิทธิเสรีภาพอยู่ได้บ้างแต่ก็ต้องก็มี 3 ขั้นตอนที่ต้องเอามาพิจารณาคือ หนึ่งต้องมีความจำเป็นอย่างยิ่งยวดเท่านั้น และสอง เมื่อจะใช้ความรุนแรงหรือกำลังก็ต้องทำอย่างได้สัดส่วน สุดท้ายขั้นที่สามเมื่อจำกัดสิทธิหรือใช้กำลังแล้วจะต้องมีความรับผิดรับชอบตามมาด้วยแต่ที่ผ่านมาก็ยังไม่เห็นว่ารัฐทำทั้งสามขั้นตอนนี้ชัดเจนนัก</p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53215773162_31fea13da3_b.jpg" /></p>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#e67e22;">จุฑารัตน์ กุลตัณกิจจา</span></p>
<p>จุฑารัตน์ยังเสนอว่าควรจะมีช่องทางให้ประชาชนและสื่อเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ง่ายมากกว่านี้ เพราะตอนนี้เป็นเรื่องยากทั้งเรื่องค่าใช้จ่าย เวลา และสื่อเองก็ยังอาจจะรู้สึกไม่สบายใจที่จะลุกขึ้นมาเป็นคู่ขัดแย้งกับผู้ที่ละเมิดสิทธิเอง</p>
<p>พรรษาสิริ มีข้อเสนอต่อรัฐบาลใหม่โดยเริ่มจากการมองว่า การปิดกั้นเสรีภาพสื่อและประชาชนนั้นเป็นเรื่องการเมืองสะท้อนระบอบการปกครองขณะนั้น ที่ผ่านมาหลักการประชาธิปไตยของเรามันบิดเบี้ยวจนเราลืมว่าเส้นมันอยู่ตรงไหน เพราะเราต่ำกว่าเส้นมานานมากอย่างน้อย 8 ปีที่ถูกแช่แข็งทั้งรัฐบาลจากการรัฐประหารและ Guided Democracy หรือประชาธิปไตยที่ถูกสั่งการโดยอำนาจที่ไม่ได้มาจากประชาชน ต่อมาเรามีตัวแทนจากการเลือกตั้งอย่างน้อยแนวคิดหลักการของประชาธิปไตยน่าจะมาคุยอีกเพราะท้ายที่สุดแล้วเสรีภาพสื่อ สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน</p>
<p>"เราพูดถึงสิทธิเสรีภาพสื่อ โดยไม่พูดถึงเสรีภาพประชาชนมันเป็นไปไม่ได้ ดังนั้นคนที่ทำงานสื่อก็ต้องเข้าใจว่าเราเอาสิทธิของประชาชนมาใช้ดังนั้นถ้าสมมติเห็นแก่ตัวเองว่าเราต้องปกป้องเสรีภาพและสิทธิของสื่อโดยที่เราไม่ได้ดูเลยว่าประชาชนเจออะไร มันไม่ได้" พรรษาสิริ กล่าว</p>
<p>สำหรับความคาดหวังต่อรัฐบาลเศรษฐานั้น พรรษาสิริ เสนอว่า ต้องคำนึงถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชนก่อนคำนึงถึงเสรีภาพสื่อ ดังนั้นคิดว่าสัญญาณที่ดีที่สุดในการที่รัฐบาลจะส่งว่าเรารับประกันเสรีภาพสื่อและประชาชนคืออย่างน้อยที่ภาคประชาชนส่งรายชื่อเสนอจัดทำประชามติจตัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ 2 แสนกว่าชื่อ หากมีสัญญาณต่อเรื่องนั้นว่าจะทำอย่างไรต่อจะเป็นการรับประกันว่าเห็นเสียงของประชาชนว่ามีคุณค่าเท่าใด ซึ่งจะนำไปสู่การจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ที่สิทธิต่างๆ จะถูกรื้อฟื้นมา</p>
<p>ประเด็นต่อมาสิ่งที่กลัวหรือเกร็ง และภาวะการสอดแนม คือ ประเด็นการก้าวล่วงสถาบันฯ อย่างที่นำเสนอให้เห็นกรณีการชุมนุมแล้วรัฐบาลก่อนหน้านี้ใช้ทุกมาตรการในการปิดกั้นผู้ชุมนุมรวมทั้งสื่อด้วย เนื่องจากข้อเรียกร้องสถาบันกษัตริย์เป็นภัยต่อความมั่นคง ดังนั้นสัญญาณที่รัฐบาลชุดใหม่จะส่งให้เห็นว่ารัฐบาลเห็นความสำคัญของสิทธิในเสรีภาพการแสดงความเห็นก็คือพิจารณา ม.112 ที่เป็นปัญหาปิดกั้นการแสดงความเห็นของประชาชน แม้ไม่แก้ตัวกฎหมาย รัฐบาลก็ควรพูดคุยก็จะทำให้เห็นว่าสังคมไทยจะก้าวไปอย่างไร ไม่เช่นนั้นสังคมไทยก็ยังคาราคาซังอยู่ที่เดิม</p>
<p>รัชพงษ์เห็นว่าด้วยความสามารถของสปายแวร์ที่ป้องกันได้ยากลักษณะนี้เป็นเสมือนแมวไล่จับหนูเพราะแม้วันหนึ่งบริษัทสมาร์ทโฟนจะออกอัพเดตแพทช์มาป้องกันได้แต่เทคโนโลยีของสปายแวร์ก็พัฒนาความสามารถในการเจาะระบบป้องกันได้ด้วยเช่นกัน</p>
<p>“ปัญหาในเรื่องการสอดส่องในโลกออนไลน์หรือโลกความเป็นจริง โดยเนื้อแท้แล้วเป็นปัญหาการเมืองทั้งนั้นมันหมายความว่าเราต้องไปศึกษาเพื่อออกกฎหมายมาจำกัดการใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ในการสอดส่องและเทคโนโลยีเหล่านี้เทียบกับอาวุธประเภทหนึ่งในทางการค้าระหว่างประเทศ เพราะบริษัท NSO ขายให้กับรัฐบาลเท่านั้นเขาไม่ขายให้เอกชนผมมีเงินพันล้านก็ซื้อไม่ได้ผมต้องทำในนามรัฐบาลเท่านั้นและจะต้องไปขอซื้อและได้รับการอนุมัติจากกระทรวงกลาโหมของอิสราเอลที่เป็นรัฐบาลเพราะถูกตีว่าเป็นอาวุธ”</p>
<p>รัชพงษ์เสนอว่าจะต้องมีการศึกษากฎหมายที่เป็นการทำข้อตกลงระหว่างประเทศร่วมกันเพื่อควบคุมการขายและใช้อาวุธลักษณะนี้ และสร้างระบบตรวจสอบถ่วงดุลเพื่อสร้างความโปร่งใสในการใช้สปายแวร์เป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องชี้แจงได้ว่าถูกใช้กับใคร หน่วยงานใดบ้างที่ใช้ และบริษัทเองก็ไม่ยอมบอกว่าประเทศใดเป็นลูกค้าบ้าง</p>
<p>การสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองที่มี accountability ที่หมายถึงเมื่อมีการใช้อำนาจอย่างหนึ่งอย่างใดไปแล้วจะต้องอธิบายเรื่องนี้กับใคร ซึ่งในระบบการเมืองไทยยังไม่มีเรื่องนี้ และการใช้เพกาซัสก็สะท้อนให้เห็นว่าสังคมไทยไม่มี accountability  เพราะเมื่อรัฐบาลไทยถูกเปิดโปงเรื่องนี้แล้วกลับไม่มีคำตอบที่ชัดเจนว่าตกลงมีหรือไม่มีการใช้สปายแวร์ในการสอดส่องประชาชนกันแน่ ดังนั้นรัฐบาลใหม่จะต้องทำให้เกิดการสอบสวนเรื่องนี้อย่างขจริงจัง</p>
<p> </p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">/url]</div><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">คุกคามสื่https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/09/106090
 
5013  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - เป๊ะมาก แจ๊ส โคฟเวอร์ เจ๊ไก่ใบ้หวย คอหวยไม่พลาดเทียบเลขเด็ดชัดๆ วัดกันไปเลย! เมื่อ: 27 กันยายน 2566 12:44:48
เป๊ะมาก แจ๊ส โคฟเวอร์ เจ๊ไก่ใบ้หวย คอหวยไม่พลาดเทียบเลขเด็ดชัดๆ วัดกันไปเลย!
         


เป๊ะมาก แจ๊ส โคฟเวอร์ เจ๊ไก่ใบ้หวย คอหวยไม่พลาดเทียบเลขเด็ดชัดๆ วัดกันไปเลย!" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;คอหวยไม่พลาด เทียบเลขเด็ด เจ๊ไก่ใบหวย-เจ๊ไก่แจ๊ส วัดกันไปเลยใครจะเข้าเป้า!


         

https://www.sanook.com/news/9049034/
         
5014  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - ธรรมนัส รมว.เกษตรฯ ยืนยัน พะเยาไม่มีผู้มีอิทธิพล มีแต่เทวดาแย่งกันทำความดี เมื่อ: 27 กันยายน 2566 10:20:23
ธรรมนัส รมว.เกษตรฯ ยืนยัน พะเยาไม่มีผู้มีอิทธิพล มีแต่เทวดาแย่งกันทำความดี
         


ธรรมนัส รมว.เกษตรฯ ยืนยัน พะเยาไม่มีผู้มีอิทธิพล มีแต่เทวดาแย่งกันทำความดี" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;ธรรมนัส พรหมเผ่า รมว.เกษตรฯ ยืนยัน พะเยาไม่มีผู้มีอิทธิพล มีแต่เทวดาแย่งกันทำความดี
         

https://www.sanook.com/news/9047710/
         
5015  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - ครั้งแรก "ไอซ์ สารวัตร" เปิดหมดใจ! เผยสาเหตุเสียน้ำตาเพราะ "คุณพุทธ" เมื่อ: 27 กันยายน 2566 10:13:46
ครั้งแรก "ไอซ์ สารวัตร" เปิดหมดใจ! เผยสาเหตุเสียน้ำตาเพราะ "คุณพุทธ"
         


ครั้งแรก &quot;ไอซ์ สารวัตร&quot; เปิดหมดใจ! เผยสาเหตุเสียน้ำตาเพราะ &quot;คุณพุทธ&quot;" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;ผู้ประกาศข่าวซุปตาร์ “ไอซ์ สารวัตร” เผยสาเหตุเสียน้ำตาเพราะคุณพุทธ พร้อมเปิดใจยอมรับที่ไม่มีแฟน เพราะมีปัญหาชีวิตส่วนตัว
         

https://www.sanook.com/news/9048926/
         
5016  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "ขันเงิน" ทุ่มหลายร้อยล้าน! ซื้อหุ้น M-picture ขึ้นแท่นบริหารความบันเทิงครบวงจร เมื่อ: 27 กันยายน 2566 07:41:40
"ขันเงิน" ทุ่มหลายร้อยล้าน! ซื้อหุ้น M-picture ขึ้นแท่นบริหารความบันเทิงครบวงจร
         


&quot;ขันเงิน&quot; ทุ่มหลายร้อยล้าน! ซื้อหุ้น M-picture ขึ้นแท่นบริหารความบันเทิงครบวงจร" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;"ขันเงิน ไทเทเนียม" ทุ่มเงินหลายร้อยล้าน! ซื้อหุ้น M-picture เตรียมขึ้นแท่นบริหารความบันเทิงครบวงจร
         

https://www.sanook.com/news/9048482/
         
5017  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ศาลแพ่งตัดสินให้ สตช. ชดเชยค่าเสียหายให้สื่อ เหตุ คฝ.ยิงกระสุนยางใส่ เมื่อ: 27 กันยายน 2566 06:11:42
ศาลแพ่งตัดสินให้ สตช. ชดเชยค่าเสียหายให้สื่อ เหตุ คฝ.ยิงกระสุนยางใส่
 


<span class="submitted-by">Submitted on Tue, 2023-09-26 14:35</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>ศาลแพ่งตัดสินให้ สตช. ชดเชยค่าเสียหายให้สื่อ 2 ราย 'ผู้สื่อข่าว PLUS SEVEN-ช่างภาพ The MATTER' เหตุ คฝ.ยิงกระสุนยางใส่จนได้รับบาดเจ็บ ช่วงการชุมนุมกลุ่มราษฎรหยุด APEC 2022</p>
<p>26 ก.ย. 2566 เพจภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชน รายงานว่าเวลา 9.00 ศาลแพ่งนัดฟังคำพิพากษาในคดีผู้สื่อข่าวจากสำนักข่าว Plus Seven และช่างภาพจากสำนักข่าว The Matter เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ, ผู้บัญชาการตำรวจนครบาล และผู้บังคับการกองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน กรณีเจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ปืนยิงกระสุนยางใส่สื่อมวลชนจนได้รับอันตราย จากเหตุการณ์สลายการชุมนุมกลุ่มราษฎรหยุด APEC 2022 เมื่อวันที่ 18 ก.ค. 2564</p>
<p>โดยโจทก์ทั้งสองได้เรียกค่าเสียหายฐานกระทำละเมิดโดยเจ้าหน้าที่รัฐรวมเป็นเงินทั้งหมด 1,412,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 5 นับตั้งแต่วันฟ้อง พร้อมขอให้ศาลมีคำสั่งบังคับให้จำเลยทั้งสี่ร่วมกันหรือแทนกันออกประกาศขอโทษโจทก์ทั้งสองเป็นลายลักษณ์อักษร และให้จำเลยทั้งสี่ร่วมกันหรือแทนกันประกาศรายชื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ใช้อาวุธปืนยิงโจทก์ทั้งสองในวันเกิดเหตุ</p>
<p>ที่ห้องพิจารณาคดี 712 ทนายความและโจทก์ที่ 2 เดินทางมาถึงศาลในเวลา 09.00 น. ส่วนฝั่งจำเลยมีผู้รับมอบฉันทะจำเลยทั้ง 4 มารอยคอยที่ห้องพิจารณาคดีก่อนแล้ว ด้านมาตรการรักษาความปลอดภัยเป็นไปตามปกติของศาล ไม่มีเจ้าหน้าที่หรือตำรวจศาลมาเฝ้าระวังเป็นพิเศษ เช้าวันนี้ศาลมีนัดพิจารณาคดีอื่นก่อนแล้ว จนกระทั่งเวลาราว 10.06 น. จึงถึงคราวของคดีนี้ ผู้พิพากษาเริ่มอ่านคำพิพากษา สรุปใจความอย่างย่อได้ว่า</p>
<p>แม้มาตรา 3 (6) แห่ง พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฯ จะบัญญัติว่า พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฯ ไม่ใช้บังคับในสถานการณ์ฉุกเฉิน แต่ต้องเป็นไปตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ก็มีผลแต่เพียงประชาชนไม่อาจใช้สิทธิในการชุมนุมสาธารณะได้ตามช่องทางที่บัญญัติไว้ใน พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฯ หากมีการชุมนุมจะเป็นการฝ่าฝืน พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องไปว่ากล่าวกับผู้กระทำความผิดในทางอาญา ส่วนในทางควบคุมฝูงชน แม้มิได้มีกฎหมายกำหนดอำนาจเจ้าหน้าที่ตำรวจโดยเฉพาะ แต่ก็มิได้หมายความว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจจะมีอำนาจกระทำการใดๆ ได้โดยอำเภอใจ หรือโดยใช้ความรุนแรงในการควบคุมฝูงชนโดยไม่จำเป็น หรือไม่ต้องอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ที่มีขึ้นเพื่อคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนแต่อย่างใด ไม่ว่าจะเป็นการชุมนุมที่ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ชอบด้วยกฎหมาย แต่ไม่มีการใช้ความรุนแรง เจ้าหน้าที่ตำรวจก็ต้องปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ขั้นตอน ระเบียบ และวิธีการที่เหมาะสม กล่าวคือใช้กำลังเท่าที่จำเป็น ได้สัดส่วน และเหมาะสมกับสถานการณ์ตามหลักการใช้กำลัง เครื่องมือ อุปกรณ์ และอาวุธตามแผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะที่สอดคล้องกับกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งประเทศไทยเป็นรัฐภาคี นอกจากนี้ ทั้งโจทก์ที่ 1 และ 2 ก็มิใช่ผู้เข้าร่วมชุมนุม แต่เป็นสื่อมวลชนที่อยู่ในพื้นที่ชุมนุมเพื่อเสนอข่าว เจ้าหน้าที่ตำรวจจึงต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง ไม่ให้เกิดผลกระทบแก่โจทก์ทั้งสอง </p>
<p>ในข้อหาที่ว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจกระทำละเมิดต่อโจทก์ที่ 1 หรือไม่ เห็นว่า โจทก์ที่ 1 ยืนยันว่า ขณะที่โจทก์ที่ 1 ถูกยิงด้วยกระสุนยางนั้น โจทก์ที่ 1 ยืนอยู่บริเวณทางเท้าฝั่งศาลท่านท้าวมหาพรหม ถนนราชดำเนินนอก ซึ่งมีสื่อมวลชนจำนวนหนึ่งกำลังปฏิบัติหน้าที่ถ่ายภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้ชุมนุมอยู่บริเวณกลางถนน ห่างจากโจทก์ที่ 1 ไม่น้อยกว่า 5 เมตร โจทก์และกลุ่มผู้ชุมนุมไม่ได้ยืนปะปนกัน อยู่ห่างกันอย่างชัดเจน ไม่มีการประกาศว่าจะมีการใช้กระสุนยาง และโจทก์ที่ 1 ไม่มีท่าทีคุกคามบุคคลหรือพฤติกรรมจะก่อให้เกิดความรุนแรงหรืออันตรายประการใด เจือสมกับคลิปวิดีโอภาพเหตุการณ์ที่เป็นพยานหลักฐาน </p>
<p>ส่วนที่จำเลยที่ 1 นำสืบโดยพยานเจ้าหน้าที่ตำรวจเบิกความอ้างว่า มีกลุ่มผู้ชุมนุมบางส่วนนำหุ่นจำลองห่อผ้าขาวมาสุมวางกันหลายตัวและจุดไฟเผาหุ่นดังกล่าวใกล้กับซุ้มเฉลิมพระเกียรติและภาพพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และพระราชินีฯ บริเวณสะพานแยกผ่านฟ้า เป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ตำรวจต้องเคลื่อนตัวออกจากแนวกีดขวางที่ 2 เพื่อเข้าไปดับเพลิง แต่มีผู้ชุมนุมยิงหนังสติ๊กและขว้างปาหัวนอตใส่เจ้าหน้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่ตำรวจจึงจำเป็นต้องใช้กระสุนยางเพื่อป้องกันตัวและคุ้มกันบุคคลอื่นให้พ้นจากภยันตราย เจ้าหน้าที่ตำรวจจึงยิงกระสุนโดยเฉพาะเจาะจงต่อเป้าหมาย และเลือกเป้าหมายที่จะกระทำการยิงเป็นผู้ที่มีท่าทีคุกคามเจ้าหน้าที่ตำรวจในการปฏิบัติหน้าที่เท่านั้น มิได้เล็งเป้าหมายไปยังโจทก์ที่ 1 แต่คำเบิกความนั้นก็มีลักษณะเป็นการเบิกความถึงการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจเป็นการทั่วไป มิได้ระบุเฉพาะเจาะจงถึงกรณีของโจทก์ที่ 1 โดยจำเลยที่ 1 มิได้นำเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ใช้อาวุธปืนยิงกระสุนยางไปถูกโจทก์ที่ 1 มาเบิกความให้ได้ข้อเท็จจริงว่ามีความจำเป็นอย่างไรถึงต้องใช้กระสุนยางเพื่อป้องกันตัวและป้องกันเจ้าหน้าที่ตำรวจคนอื่นให้พ้นจากภยันตราย อีกทั้งคำเบิกความก็ไม่สอดคล้องกับภาพคลิปวิดีโอเหตุการณ์ อีกทั้งเมื่อดูภาพจะพบว่าซุ้มเฉลิมพระเกียรติและพระบรมฉายาลักษณ์ จะเป็นคนละด้านกับที่โจทก์ที่ 1 อยู่ หลักฐานของพยานจำเลยที่ 1 จึงมีน้ำหนักรับฟังได้น้อยกว่าของโจทก์</p>
<p>ส่วนที่โจทก์ที่ 2 กล่าวอ้างว่า ตนได้รับผลกระทบจากสารเคมีในแก๊สน้ำตา ขณะกำลังปฏิบัติหน้าที่ทำข่าวบริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศและสะพานชมัยมรุเชฐนั้น เห็นว่า ในเหตุการณ์แรกที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ โจทก์ที่ 2 มิได้เบิกความยืนยันว่าขณะถูกแก๊สน้ำตา โจทก์ที่ 2 อยู่บริเวณจุดใดและช่วงเวลาใด เนื่องจากมีเหตุการณ์ที่เจ้าหน้าที่ตำรวจใช้เครื่องมือในการควบคุมฝูงชนหลายเหตุการณ์ แต่ละช่วงเวลาแตกต่างกัน โจทก์ที่ 2 เบิกความยืนยันเพียงว่า ไม่ปรากฏว่ามีผู้ชุมนุมที่มีพฤติการณ์ใช้ความรุนแรงหรือก่อเหตุอันตรายจนถึงขนาดที่จะเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ตำรวจต้องใช้แก๊สน้ำตาเข้าสลายการชุมนุมได้ และไม่มีการแจ้งเตือนการใช้แก๊สน้ำตาก่อน  </p>
<p>พยานเจ้าหน้าที่ตำรวจเบิกความว่า เมื่อกลุ่มการ์ดรื้อถอนทำลายแนวลวดหนามแนวแรก จึงมีประกาศให้เลิกกระทำ แต่กลุ่มผู้ชุมนุมยังไม่เลิก แต่ยังคงใช้หนักสติ๊กขว้างปาขวดแก้วและสิ่งของเข้าใส่กำลังพล จึงประกาศว่าจะฉีดน้ำและให้สื่อมวลชนที่อยู่ในแนวหน้า ขยับไปด้านซ้ายและขวา เจ้าหน้าที่ตำรวจฉีดน้ำโดยฉีดกดลงต่ำ หน้าแนวของผู้ชุมนุม กลุ่มการ์ดจึงนำมาโล่มาตั้งแนวป้องกันและรื้อลวดหนามต่อเนื่อง พยานจึงประกาศว่าจะใช้น้ำผสมสีฉีดเพื่อระบุตัวผู้กระทำความผิดและเริ่มฉีดน้ำใส่กลุ่มการ์ด </p>
<p>ต่อมาจึงมีการรวบรวมผลการปฏิบัติงานจัดทำเป็นรายงานเพื่อเสนอผู้บังคับบัญชา ซึ่งหากพิจารณาจากพยานหลักฐานแล้วดังกล่าว ไม่ปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจใช้แก๊สน้ำตาในการปฏิบัติหน้าที่บริเวณสะพานผ่านฟ้าลีลาศแต่อย่างใด โดยโจทก์ที่ 2 ก็มิได้นำสืบถามค้านให้เห็นว่ามีการผสมน้ำกับแก๊สน้ำตาหรือไม่ อย่างไร ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวมีผู้สื่อข่าวและเจ้าหน้าที่ตำรวจถ่ายภาพถ่ายคลิปวิดีโอเป็นจำนวนมาก แต่ก็ไม่พบว่ามีการบันทึกภาพที่เจ้าหน้าที่ตำรวจใช้แก๊สน้ำตาไว้ได้ พยานหลักฐานที่โจทก์นำสืบมารับฟังไม่ได้ว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจใช้แก๊สน้ำตากับผู้ชุมนุมที่สะพานผ่านฟ้าลีลาศ</p>
<p>ส่วนบริเวณแนวรั้งหน่วงสะพานชมัยมรุเชฐ เจ้าหน้าที่ตำรวจเบิกความว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจใช้น้ำผสมแก๊สน้ำตาฉีดพ่นฝอยขึ้นฟ้าเป็นแนวม่าน ผลักดันไม่ให้ผู้ชุมนุมอยู่ในระยะที่ยิงหนังสติ๊กหรือขว้างปาสิ่งของได้ใส่เจ้าหน้าที่ตำรวจได้ และใช้แก๊สน้ำตายิงด้วยวิถีโค้งสร้างแนวม่านแก๊สเพื่อกดดันให้ผู้ชุมนุมถอยร่นด้วย ซึ่งเป็นการยิงในช่วงที่ผู้ชุมนุมได้ใช้รถบรรทุกยกกระบะท้ายถอยเข้าใกล้แนวรั้งหน่วง จึงยิงแก๊สน้ำตาเข้าไปใต้รถบรรทุกเพื่อสกัดรถบรรทุกไม่ให้เข้าใกล้แนวของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และไม่ปรากฏว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจเคลื่อนกำลังออกจากแนว สอดคล้องกับที่เจ้าหน้าที่ตำรวจเบิกความว่า การตั้งจุดแนวรั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันพื้นที่แนวหลังและสถานที่สำคัญต่างๆ ซึ่งแต่เดิมจะใช้เพียงโล่ แต่พบจากประสบการณ์ว่าไม่สามารถป้องกันได้ จึงต้องใช้เครื่องกีดขวางเพิ่มเติม</p>
<p>เมื่อปรากฏว่ามีการประกาศเตือนก่อนจะใช้แก๊สน้ำตาก่อนการใช้กับผู้ชุมนุมแล้ว จึงยังรับฟังไม่ได้ว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจเป็นการปฏิบัติหน้าโดยมิชอบ เกินจำเป็น ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ หรือไม่ได้สัดส่วน ทั้งแก๊สน้ำตาเป็นเครื่องมือควบคุมฝูงชนที่มีผลในวงกว้างและจำนวนมาก โดยสภาพไม่ใช่เครื่องมือที่ใช้โดยเฉพาะเจาะจง แม้โจทก์ที่ 2 มิใช่ผู้ชุมนุม แต่โจทก์ที่ 2 สมัครใจเข้าไปอยู่ในบริเวณที่มีการปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุมและเจ้าหน้าที่ตำรวจ มิได้อยู่บริเวณหลังผู้ชุมนุมหรือหลังเจ้าหน้าที่ตำรวจ เจ้าหน้าที่ตำรวจย่อมไม่อาจหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดผลกระทบแก่โจทก์ที่ 2 ได้ แม้เจ้าหน้าที่ตำรวจจะใช้แก๊สน้ำตาอย่างระมัดระวังแล้วก็ตาม จึงไม่เป็นการกระทำละเมิดต่อโจทก์ที่ 2</p>
<p>ส่วนที่โจทก์ที่ 2 กล่าวอ้างว่า ตนได้รับบาดเจ็บที่บริเวณแขนซ้ายจากกระสุนยาง โจทก์ที่ 2 เบิกความยืนยันว่า ตนปฏิบัติหน้าที่อยู่ใกล้กับป้ายรถเมล์หน้าสหกรณ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ศูนย์พาณิชย์ ห่างจากกลุ่มผู้ชุมนุมที่อยู่กลางถนน โดยโจทก์ที่ 2 อยู่ห่างจากป้ายรถเมล์ไปทางฝั่งเจ้าหน้าที่ตำรวจประมาณ 10-15 เมตร โจทก์ที่ 2 ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ปืนยิงกระสุนยางใส่ 1 นัด มีทิศทางมาจากสะพานชมัยมรุเชฐ ทั้งที่โจทก์ที่ 2 ไม่ได้มีพฤติการณ์คุกคามหรือก่อให้เกิดความรุนแรงและอันตรายแก่บุคคลใดที่จะเป็นเงื่อนไขให้เจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ปืนยิงกระสุนยางใส่โจทก์ที่ 2 ได้ ส่วนเจ้าหน้าที่ตำรวจอ้างว่า จุดที่โจทก์ที่ 2 ห่างจากแนวของเจ้าหน้าที่ตำรวจประมาณ 70 เมตร เกินกว่าระยะหวังผลจากปืนยิงกระสุนยางที่เจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ อาจเป็นไปได้ว่าโจทก์ที่ 2 ได้รับบาดเจ็บขณะอยู่บริเวณป้ายรถเมล์ และเป็นแผลที่อาจเกิดจากการถูกยิงในระยะ 20-25 เมตร เห็นว่า โจทก์ที่ 2 เบิกความยืนยันถึงตำแหน่งที่ตนเองอยู่ โดยไม่ปรากฏข้อสงสัยพิรุธว่าไม่เป็นความจริง</p>
<p>แม้เจ้าหน้าที่ตำรวจจะมีพยานปากเจ้าหน้าที่สรรพาวุธมาเบิกความยืนยันว่า พยานทดลองยิงกระสุนยาง โดยการยิงในแนวระนาบ มีระยะยิงได้ไกลสุด 47 เมตร ปรากฏตามคลิปวิดีโอการทดสอบยิง และจากการคำนวณหลักคณิตศาสตร์แล้ว ก็ปรากฏว่า กระสุนยางยิงไปได้ไกลที่สุด 46 เมตร แต่จากการตอบทนายโจทก์ถามค้านว่า หากมุมยิงเพิ่มขึ้นเป็น 2 องศา จากการคำนวณแล้วจะมีระยะที่กระสุนตกเพิ่มขึ้นเป็น 77 เมตร และ 4 องศา จะมีระยะกระสุนตกเพิ่มขึ้นเป็น 118 เมตร ดังนั้นจุดที่โจทก์ที่ 2 อยู่ จึงมิได้เป็นไปไม่ได้ว่าจะไม่ถูกยิงจากกระสุนยางของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ส่วนที่เจ้าหน้าที่ตำรวจอ้างว่าจากบาดแผล ประเมินแล้วอาจจะถูกยิงในระยะ 20-25 เมตรนั้นก็เป็นเพียงการคาดเดา ไม่มีพยานหลักฐานยืนยันได้ นอกจากนี้ยังปรากฏภาพของเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ในวันเกิดเหตุเล็งปากกระบอกปืนเชิดขึ้นจากแนวระนาบเล็กน้อย ย่อมเป็นไปได้ที่จะทำให้ระยะการยิงกระสุนยางตกไกลออกไปจากระยะที่สามารถยิงกระสุนยางได้อย่างแม่นยำ ซึ่งไม่เป็นไปตามแนวทางการใช้กระสุนยางตามที่เจ้าหน้าที่ตำรวจเบิกความ พยานหลักฐานของจำเลยที่ 1 จึงมีน้ำหนักรับฟังได้น้อยกว่าพยานหลักฐานของโจทก์ ข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่าโจทก์ที่ 2 ถูกกระสุนยางของเจ้าหน้าที่ตำรวจจริง ซึ่งตำแหน่งที่โจทก์ที่ 2 อยู่บริเวณใกล้รถเมล์ ซึ่งวัดระยะทางได้ 70 เมตร สอดคล้องกับการคำนวณระยะทางยิงของปืนยิงกระสุนยาง </p>
<p>แม้เจ้าหน้าที่ตำรวจจะเบิกความว่า ผู้ชุมนุมจะเข้ารื้อถอนและทำลายลวดหนามที่เป็นแนวกีดขวาง ทำให้ผู้ชุมนุมสามารถนำรถยนต์หรือรถจักรยานยนต์  และรถบรรทุกหกล้อจำนวน 4 คัน เข้ามาใกล้แนวกีดขวางที่ 2 ทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจจำเป็นต้องโต้ตอบด้วยการยิงกระสุนยางไปที่ผู้ชุมนุมเพื่อเป็นการป้องกันตัวจากการที่ผู้ชุมนุมใช้หนังสติ๊กยิงลูกแก้วใส่เจ้าหน้าที่ตำรวจ แม้จะไปเป็นตามหลักการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ควบคุมฝูงชนที่เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถกระทำได้โดยตามกฎหมาย แต่จากตำแหน่งที่โจทก์ที่ 2 อยู่ระยะทางที่ไกลเกินกว่าระยะที่เจ้าหน้าที่ตำรวจจะใช้ปืนยิงกระสุนยางโดยหวังผลเพื่อป้องกันภยันตราย ซึ่งตามหลักการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ควบคุมฝูงชนจะกำหนดให้ยิงเฉพาะเป้าหมายที่มีกระทำการหรือมีพฤติการณ์คุกคามต่อชีวิตผู้อื่น ต้องกำหนดเป้าหมายโดยชัดเจน ไม่ยิงโดยไม่แยกแยะเป้าหมาย ไม่ใช่การยิงโดยอัตโนมัติ แต่ต้องเล็งยิงให้กระทบต่อส่วนล่างของร่างกายเป้าหมาย ซึ่งพยานเจ้าหน้าที่ตำรวจเบิกความว่า ระยะที่แม่นยำของการยิงกระสุนยางคือไม่เกิน 30 เมตร </p>
<p>ดังนั้น การที่โจทก์ที่ 2 อยู่ห่างจากเจ้าหน้าที่ตำรวจประมาณ 60 เมตร แต่กลับถูกยิงกระสุนยาง ย่อมแสดงให้เห็นว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจมิได้เล็งยิงโจทก์ที่ 2 ที่เป็นเป้าหมายหรือกระทบส่วนล่างของร่างกาย ซึ่งหากเจ้าหน้าที่ตำรวจปฏิบัติหลักการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ควบคุมฝูงชนดังกล่าว ก็ย่อมเป็นไปไม่ได้ที่กระสุนยางจะไปถึงจุดที่โจทก์ที่ 2 ยืนอยู่ </p>
<p>การยิงปืนดังกล่าวจึงมิใช่การกระทำโดยเฉพาะเจาะจงต่อเป้าหมายหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ เพื่อป้องกันให้พ้นจากภยันตราย ขัดกับแผนการดูแลการชุมนุมสาธารณะ ตาม พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฯ พยานหลักฐานของโจทก์จึงมีน้ำหนักให้เชื่อได้ว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจมิได้ใช้ลูกซองยิงกระสุนยางตามแนวทางและยุทธวิธีที่จำเลยที่ 1 กล่าวอ้าง และโจทก์ที่ 2 ได้รับบาดเจ็บจากการยิงกระสุนยางของเจ้าหน้าที่ตำรวจโดยมิได้ปฏิบัติหน้าที่ตามแนวทางการใช้กระสุนยางและความระมัดระวังในการใช้กระสุนยางควบคุมฝูงชน จึงเป็นการกระทำละเมิดในฐานการปฏิบัติหน้าที่ </p>
<p>ส่วนที่โจทก์ทั้งสองกล่าวอ้างว่า การกระทำของเจ้าหน้าที่ตำรวจเป็นการกระทำโดยจงใจทำร้ายร่างกายเพื่อคุกคามเสรีภาพสื่อมวลชนโดยการมุ่งสร้างความหวาดกลัวให้กับสื่อมวลชนในพื้นที่ชุมนุม เพื่อให้สื่อมวลชนไม่กล้าปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามเพื่อรายงานสถานการณ์การชุมนุมให้ประชาชนทั่วไปทราบ แต่จากหลักฐานพยานในคดีนี้ ต่างแสดงให้เห็นว่า สื่อมวลชนมีสิทธิเสรีภาพที่จะนำเสนอข่าวโดยอิสรเสรี โดยมิได้ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจขัดขวางแต่อย่างใด โดยธรรมชาติของการชุมนุมเกี่ยวพันกับคนจำนวนมาก เกี่ยวพันกับความสงบเรียบร้อยในสังคม และที่สำคัญการชุมนุมสาธารณะอาจส่งผลกระทบต่อการใช้สิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของผู้ที่ไม่ได้เข้าร่วมการชุมนุมด้วย ซึ่งการชุมนุมมักจะมีเหตุการณ์เกิดขึ้นในหลายส่วนหลายพื้นที่ มีการเคลื่อนไหวที่ไม่แน่นอนตายตัว อาจมีการกระทำของบุคคลบางส่วนที่อาจใช้ความรุนแรงและพัฒนาไปสู่เหตุการณ์ที่มีความรุนแรงได้ ดังนั้น เจ้าหน้าที่ตำรวจจึงจำเป็นต้องดำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่างๆ อันอาจไม่อาจคาดการณ์ได้ เมื่อไม่ปรากฏโดยชัดแจ้งว่า ในการชุมนุมครั้งนี้ มีผู้ชุมนุมบางส่วนใช้ความรุนแรง โดยใช้หนังสติ๊กยิงลูกแก้วและมีการจุดไฟเผาสิ่งของและทำลายแนวกีดขวาง ย่อมเป็นเรื่องธรรมดาที่การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจอาจกระทบต่อบุคคลที่ไม่ใช้ความรุนแรงได้ เพราะสถานการณ์มีผู้คนจำนวนมาก เหตุการณ์ชุลมุนวุ่นวาย ด้วยผู้ก่อเหตุก็มิได้อยู่นิ่ง และภายใต้สถานการณ์ที่มีความตึงเครียดต่างๆ โดยเฉพาะโจทก์ที่ 1 ที่อ้างว่ามิได้ปะปนกับผู้ชุมนุม แต่ก็มีผู้ชุมนุมอยู่ใกล้เคียง และโจทก์ที่ 2 เองก็ถูกกระสุนยางห่างเป็นระยะถึง 60 เมตร ก็มิได้เป็นระยะที่เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถมองว่าใครเป็นใครได้อย่างชัดเจน </p>
<p>ดังนั้น จะถือว่าโจทก์ทั้งสองถูกยิงกระสุนยางและได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจ จะถือว่าเป็นกรณีที่เจ้าหน้าที่ตำรวจมุ่งร้ายจะสร้างความหวาดกลัวให้กับสื่อมวลชนให้เกิดความหวาดกลัวหาได้ไม่ การกระทำของเจ้าหน้าที่ตำรวจจึงมิใช่การกระทำโดยเจตนาต่อนเสรีภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของสื่อมวลชนและโจทก์ทั้งสองแต่อย่างใด จำเลยที่ 1 จึงไม่ต้องรับผิดต่อค่าสินไหมทดแทนที่โจทก์ทั้งสองเรียกมา</p>
<p>เมื่อพิจารณาจากอาการบาดเจ็บของโจทก์ที่ 1 แล้ว บาดแผลของโจทก์ที่ 1 ไม่มีกระดูกหักหรือเลือดออก แต่ในสัปดาห์แรกโจทก์ที่ 1 ไม่สามารถทำงานได้ เนื่องจากเดินลำบาก จึงเห็นสมควรกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้ให้ 10,000 บาท สำหรับโจทก์ที่ 2 ได้รับบาดเจ็บ เกิดเป็นแผลถลอก ฟกช้ำ ไม่มีกระดูกหักหรือเลือดลาออก ใบรับรองแพทย์ระบุให้หยุดพักรักษาตัว 2 วัน แต่โจทก์ที่ 2 ต้องหยุดพักรักษาตัว 1-2 วัน จึงกลับมาทำงานปกติได้ โดยยังสามารถใช้แขนได้แต่ไม่สมบูรณ์ ยังมีอาการเจ็บและปวดอยู่บ้าง ต้องรับประทานยาที่แพทย์จ่ายให้ การใช้ชีวิตมีความยากลำบาก ต้องพันผ้าพันแผล จึงเห็นสมควรกำหนดค่าเสียหายในส่วนนี้ให้ 10,000 บาท ในส่วนค่าเสียหายเพื่อส่วนที่ขาดการประกอบการงานแต่สิ้นเชิงหรือบางส่วนนั้น โจทก์ที่ 1 ไม่สามารถลงพื้นที่ทำข่าวภาคสนามได้ตามที่ได้รับมอบหมาย เป็นเวลา 4 วัน คิดค่าเสียหายเป็นวันละ 3,000 บาท เห็นว่าเป็นค่าเสียหายที่สมควรแล้ว ส่วนโจทก์ที่ 2 ได้รับผลกระทบต่อจิตใจ ไม่กล้าลงพื้นที่ทำข่าวภาคสนามนั้น เห็นสมควรกำหนดค่าเสียหายแก่จิตใจแก่โจทก์ทั้งสองเป็นเงินคนละ 20,000 บาท และดอกเบี้ยนับตั้งแต่วันฟ้องเป็นต้นไป</p>
<p>ส่วนที่โจทก์ทั้งสองขอให้จำเลยที่ 1 ประกาศขอโทษนั้น ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 447 ซึ่งศาลสามารถสั่งให้บุคคลผู้กระทำการละเมิดกระทำการตามสมควรเพื่อให้ชื่อเสียงของผู้ถูกกระทำละเมิดกลับคืนดี อันเป็นการคุ้มครองในกรณีการละเมิดต่อชื่อเสียงและเกียรติคุณ แต่การละเมิดในคดีนี้ไม่ใช่การละเมิดในชื่อเสียงและเกียรติคุณ คำขอของโจทก์ทั้งสองจึงเป็นกรณีที่บทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หมวด 2 มิได้ให้ความคุ้มครองไว้ </p>
<p>ส่วนการที่โจทก์ทั้งสองขอให้จำเลยที่ 1 ประกาศชื่อเจ้าหน้าที่ตำรวจใช้อาวุธปืนยิงกระสุนยางถูกโจทก์ทั้งสองนั้น ตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ กำหนดไว้ให้เป็นข้อมูลในที่อยู่ในข่ายที่เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานรัฐสามารถมีคำสั่งมิให้เปิดเผยได้ จึงเป็นกรณีที่ต้องดำเนินการตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารฯ ดังกล่าว ศาลไม่อาจมีคำพิพากษาบังคับให้จำเลยที่ 1 เปิดเผยข้อมูลดังกล่าวได้</p>
<p>ส่วนคำขอให้จำเลยที่ 1 มีคำสั่งบังคับให้เจ้าหน้าที่ตำรวจใต้สังกัดของตนให้ปฏิบัติตามหลักการพื้นฐานว่าด้วยการใช้กำลังและอาวุธ โดยเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายและแนวปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการใช้อาวุธที่มีความร้ายแรงต่ำในการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดนั้น เป็นเรื่องของอนาคตที่ยังไม่มีการโต้แย้งสิทธิ์ของโจทก์ทั้งสอง ศาลไม่อาจมีคำพิพากษาบังคับตามคำขอของโจทก์ทั้งสองได้</p>
<p>ส่วนที่จำเลยที่ 1 ต่อสู้กล่าวอ้างว่า โจทก์ทั้งสองมีความผิดเสี่ยงภัยในการทำข่าวในจุดที่มีการปะทะกันโดยไม่นำพาต่อคำเตือนของเจ้าหน้าที่และคู่มือการปฏิบัติงานของสื่อมวลชนในภาวะวิกฤต ถือว่าโจทก์ทั้งสองมีส่วนผิดก่อให้เกิดความเสียหายด้วยนั้น เห็นว่า คู่มือการปฏิบัติงานของสื่อมวลชนในภาวะวิกฤต เป็นหนึ่งในแนวการปฏิบัติหน้าที่ของสภาการสื่อมวลชนแห่งชาติ และเป็นส่วนหนึ่งของคู่มือการปฏิบัติงานของสื่อมวลชนและการสื่อสารในภาวะวิกฤต โดยได้ความจากพยานโจทก์ว่า ปัจจุบันยังไม่มีแนวทางคู่มือการปฏิบัติงานของสื่อมวลชนในที่ชุมนุมโดยเฉพาะ ซึ่งอยู่ระหว่างจัดทำ จึงมีเพียงคู่มือการปฏิบัติงานของสื่อมวลชนในภาวะวิกฤต หมวดจลาจล เป็นคู่มือการปฏิบัติที่ใกล้เคียงที่สุด และพยานโจทก์ยังชี้ให้เห็นว่า สื่อมวลชนที่ลงทำข่าวจะมีการประเมินสถานการณ์เกี่ยวกับความปลอดภัยโดยตลอดเวลา โดยการชั่งน้ำหนักกับความสามารถในการทำข่าว ผ่าน 3 ปัจจัย ได้แก่ ความปลอดภัย การไม่กีดขวางเจ้าหน้าที่ และการทำข่าวได้ประกอบกัน ซึ่งสอดคล้องกับคู่มือการปฏิบัติงานของสื่อมวลชนในภาวะวิกฤต หมวดจลาจล ซึ่งกำหนดให้การปฏิบัติงานในสภาวะจลาจล สื่อมวลชนต้องประเมินความเสี่ยงและความปลอดภัยที่จะยังเข้าไปในพื้นที่และสามารถรายงานได้ และออกจากพื้นที่ได้ ไม่ควรเข้าไปยืนอยู่ในจุดระหว่างผู้ชุมนุมที่ก่อการจลาจลกับเจ้าหน้าที่รัฐ ควรเลือกอยู่ฝั่งเจ้าหน้าที่รัฐและควรหลีกเลี่ยงพื้นที่ปะทะปราบปราม สำหรับโจทก์ที่ 1 ขณะถูกยิงด้วยกระสุนยาง โจทก์ที่ 1 ยืนอยู่บริเวณทางเท้านด้านข้าง ห่างจากผู้ชุมนุมไม่น้อยกว่า 5 เมตร และเป็นพื้นที่ของผู้สื่อข่าว ไม่มีผู้ชุมนุมปะปนอยู่ด้วย ทั้งไม่ได้อยู่คั่นกลางระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจและผู้ชุมนุม และโจทก์ที่ 1 ไม่มีท่าทีคุกคามบุคคลหรือก่อความรุนแรงอันตรายแต่ประการใดอันจะเป็นเหตุให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถใช้กระสุนยางกับโจทก์ที่ 1 ได้ ถือว่าโจทก์ที่ 1 ได้ใช้ความระมัดระวังในการปฏิบัติหน้าที่ตามสมควรแล้ว โจทก์ที่ 1 ไม่มีส่วนผิดในการก่อให้เกิดความเสียหาย ส่วนโจทก์ที่ 2 ขณะที่ถูกกระสุนยาง อยู่ห่างจากแนวป้องกันของเจ้าหน้าที่ตำรวจกว่า 60 เมตร ซึ่งไม่ได้อยู่ในระยะที่เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถมองเห็นหรือระบุตัวตนได้ชัดเจนว่าใครเป็นใคร และไม่อยู่ในระยะที่เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถใช้กระสุนยางยิงหวังผลได้ จะถือว่าโจทก์ที่ 2 มีส่วนก่อให้เกิดความเสียหายก็หาได้ไม่</p>
<p>พิพากษาลงให้จำเลยที่ 1 ชำระเงินแก่โจทก์ที่ 1 เป็นเงิน 42,000 บาท และชำระเงินแก่โจทก์ที่ 2 เป็นเงิน 30,000 บาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 5 ปี ของต้นเงินนับตั้งแต่วันฟ้องเป็นต้นไป ให้จำเลยที่ 1 ชำระค่าฤชาธรรมเนียมและค่าทนายความ 10,000 บาท เฉพาะค่าขึ้นศาล ให้ชำระตามค่าธรรมเนียมตามทุนทรัพย์ที่โจทก์ทั้งสองชนะคดี</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/09/106082
 
5018  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "บิ๊กโจ๊ก" เปิดเส้นทางการเงิน ยันไม่เกี่ยวเว็บพนัน แต่มรดกก็มีเป็นพันล้านแล เมื่อ: 27 กันยายน 2566 05:10:27
"บิ๊กโจ๊ก" เปิดเส้นทางการเงิน ยันไม่เกี่ยวเว็บพนัน แต่มรดกก็มีเป็นพันล้านแล้ว
         


&quot;บิ๊กโจ๊ก&quot; เปิดเส้นทางการเงิน ยันไม่เกี่ยวเว็บพนัน แต่มรดกก็มีเป็นพันล้านแล้ว" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;"บิ๊กโจ๊ก" ลั่นไม่ได้ใช้เงินจากเว็บพนัน นอกจากเงินราชการลับจาก ผบ. แถมยังควักเงินส่วนตัวมาจ่าย เผยมีมรดกพันล้าน
         

https://www.sanook.com/news/9048442/
         
5019  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - 'โรม’ ชงปฏิรูปตำรวจ ให้แคนดิเดต ผบ.ตร. แสดงวิสัยทัศน์ ตำรวจทั่วประเทศลงทะเบียน เมื่อ: 27 กันยายน 2566 04:35:53
'โรม’ ชงปฏิรูปตำรวจ ให้แคนดิเดต ผบ.ตร. แสดงวิสัยทัศน์ ตำรวจทั่วประเทศลงทะเบียนโหวต
 


<span class="submitted-by">Submitted on Wed, 2023-09-27 01:49</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>‘รังสิมันต์ โรม’ ชงปฏิรูปตำรวจ ให้แคนดิเดต ผบ.ตร. แสดงวิสัยทัศน์ ตำรวจทั่วประเทศลงทะเบียนโหวต เชื่อเป็นกระดุมเม็ดแรก ยกระดับการทำงานและคุณภาพชีวิตตำรวจ</p>
<p>26 ก.ย. 2566 ทีมสื่อพรรคก้าวไกล รายงานต่อสื่อมวลชนว่า รังสิมันต์ โรม สส.บัญชีรายชื่อ พรรคก้าวไกล กล่าวถึงข้อเสนอการปฏิรูปตำรวจ ซึ่งกำลังเป็นประเด็นที่สังคมให้ความสนใจในขณะนี้ว่า การสังคายนาตำรวจมีความจำเป็นมากๆ ไม่ใช่แค่เพราะมีตำรวจเกี่ยวโยงกับเว็บพนันในครั้งนี้เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงอีกหลายกรณีที่ตำรวจไปเกี่ยวโยงกับธุรกิจผิดกฎหมาย ไม่ว่าจะตู้ห่าว กำนันนก และแก๊งคอลเซ็นเตอร์ </p>
<p>การสังคายนาตำรวจ จึงไม่ใช่การลดเกียรติตำรวจ แต่เป็นการทำให้ตำรวจที่ทำหน้าที่อย่างตรงไปตรงมา สามารถทำหน้าที่อย่างมีศักดิ์ศรีได้ มีที่อยู่ที่ยืนในองค์กรตำรวจได้ ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อองค์กรตำรวจ การปล่อยสถานการณ์ไว้เป็นแบบนี้ มีแต่ทำให้องค์กรตำรวจถูกกลืนกินด้วยอำนาจมืด ผู้ที่เป็นนายกฯ จะไม่สามารถปฏิเสธความรับผิดชอบใดๆ ต่อความล้มเหลวในการปฏิรูปตำรวจได้เลย </p>
<p>รังสิมันต์กล่าวว่า ตนขอเรียกร้องต่อนายกรัฐมนตรีเศรษฐา ให้เร่งปฏิรูปตำรวจอย่างจริงจัง และในอนาคตเมื่อมีการเลือก ผบ.ตร. อีกครั้ง ก็ควรใช้วิธีดังต่อไปนี้ โดยอาศัย พ.ร.บ. ตำรวจปัจจุบันเพื่อประกอบการใช้ดุลพินิจของนายกฯ ในการเลือก ผบ.ตร. </p>
<p>(1) รอง ผบ.ตร. ที่ประสงค์จะเป็น ผบ.ตร. ให้ยื่นความจำนงต่อกรรมการที่นายกฯ ตั้งขึ้น พร้อมพอร์ตโฟลิโอผลงานต่างๆ (2) ให้มีการแสดงวิสัยทัศน์สาธารณะ ให้ประชาชนได้เห็นว่าคุณมีวิสัยทัศน์อะไร ต้องตอบคำถามให้ได้ว่า ที่จะเป็น ผบ.ตร. มีแผนพัฒนาตำรวจอย่างไร โดยเฉพาะภายใต้กรอบระยะเวลาที่ตนเองเหลืออยู่ (3) ทำแพลตฟอร์มออนไลน์ให้พี่น้องตำรวจสามารถลงทะเบียนเพื่อโหวตเลือก ผบ.ตร. ได้ เพื่อให้นายกฯ ทราบว่าตำรวจส่วนใหญ่อยากให้ใครเป็น ผบ.ตร. โดยแพลตฟอร์มจะไม่สามารถระบุตัวตนตำรวจที่โหวต รู้แค่ว่าเป็นตำรวจ ซึ่งสามารถทำได้ในปัจจุบัน </p>
<p>รังสิมันต์กล่าวว่า ทั้ง 3 ข้อนี้จะนำไปสู่การติดกระดุมเม็ดแรกให้ถูกต้อง ให้ ผบ.ตร. ไม่ได้มาจากเส้นสาย ไม่ได้มาจากตั๋ว ไม่ได้มาจากการซื้อ เพื่อปูทางสู่การสร้างตำรวจที่จะต่อสู้กับอำนาจมืดทุกรูปแบบ</p>
<p>ทั้งนี้ ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรวันที่ 28 กันยายน ตนจะตั้งกระทู้สดต่อนายกฯถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวงการตำรวจ หวังว่านายกฯ เศรษฐา ซึ่งเป็นนายกฯ ที่มาจากพลเรือนจะมาตอบกระทู้ด้วยตัวเอง และในอนาคตอันใกล้ พรรคก้าวไกลเตรียมเสนอร่างแก้ไข พ.ร.บ.ตำรวจ เพื่อทำให้การได้มาซึ่งตำแหน่งของนายตำรวจระดับสูงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตอบคำถามของสังคมได้ ป้องกันระบบตั๋วเส้นสาย</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ข่https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/09/106089
 
5020  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - ด่วน! ทนายอานนท์ นำภา ถูกพิพากษาจำคุก 4 ปี ไม่รอลงอาญา เมื่อ: 27 กันยายน 2566 04:14:35
ด่วน! ทนายอานนท์ นำภา ถูกพิพากษาจำคุก 4 ปี ไม่รอลงอาญา
         


ด่วน! ทนายอานนท์ นำภา ถูกพิพากษาจำคุก 4 ปี ไม่รอลงอาญา" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;
         

https://www.sanook.com/news/9047698/
         
หน้า:  1 ... 249 250 [251] 252 253 ... 1119
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 1.525 วินาที กับ 26 คำสั่ง

Google visited last this page 21 กันยายน 2566 08:25:14