[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
24 เมษายน 2567 21:58:00 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก เวบบอร์ด ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

  แสดงกระทู้
หน้า:  1 ... 298 299 [300] 301 302 ... 1116
5981  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - 'อนุสรณ์ ธรรมใจ' เสนอรัฐไทยต้องเล่นบทนำ-การทูตเชิงรุก สร้างสันติภาพในเมียนม เมื่อ: 20 สิงหาคม 2566 00:07:27
'อนุสรณ์ ธรรมใจ' เสนอรัฐไทยต้องเล่นบทนำ-การทูตเชิงรุก สร้างสันติภาพในเมียนมา
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2023-08-19 21:00</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพปก:<span style="color:null;"> อนุสรณ์ ธรรมใจ (ที่มา:</span><span style="color:null;"> เว็บไซต์ สถาบันปรีดี พนมยงค์</span><span style="color:null;">)</span></p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><div class="summary-box">
<ul>
<li>วาระครบรอบ 78 ปี วันสันติภาพไทย สถาบันปรีดีฯ จัดเสวนา "สันติภาพเมียนมา" อนุสรณ์เสนอ รบ.ไทย ใช้การทูตเชิงสร้างสรรค์ เล่นบทบาทนำ เป็นตัวกลางเจรจาหยุดยิง ยั้งวิกฤตสงครามกลางเมืองเมียนมา</li>
<li>อนุสรณ์ เสนอบทบาทนำและแนวทางการทูตต่อรัฐไทย 8 ข้อ เพื่อเป็นแบบอย่างในการสร้างสันติธรรมและประชาธิปไตยในเมียนมา และอาเซียน รวมถึงการแก้ไข รธน.โดยยึดหลัก ปชต. การเรียกร้องให้กองทัพเมียนมา ทำตามฉันทามติอาเซียน 5 ข้อ ประสานกับ UN ให้เข้าคลี่คลายวิกฤตการเมืองพม่า</li>
</ul>
</div>
<p>เมื่อ 16 ส.ค. 2566 เพจเฟซบุ๊ก "สถาบันปรีดี พนมยงค์" ถ่ายทอดสดติดตามงานเสวนา PRIDI Talks ครั้งที่ 22 ในวาระครบรอบ 78 ปี วันสันติภาพไทย ภายใต้หัวข้อ "บทบาทอาเซียนในการเสริมสร้างสันติภาพในเมียนมา" โดยก่อนเปิดงานเสวนา อนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวหัวข้อ "บทบาทของไทยในสันติธรรมประชาธิปไตยในเมียนมา และอาเซียน" โดยเสนอแนวทางการทูตต่อรัฐไทย 8 ข้อในการสร้างสันติภาพในเมียนมา หลังจากที่กองทัพพม่าทำรัฐประหารเมื่อ 2 ปีที่แล้ว (2564)</p>
<p style="text-align: center;">
<iframe allow="autoplay; clipboard-write; encrypted-media; picture-in-picture; web-share" allowfullscreen="true" frameborder="0" height="314" scrolling="no" src="https://www.facebook.com/plugins/video.php?height=314&amp;href=https%3A%2F%2Fwww.facebook.com%2Fpridibanomyonginstitute%2Fvideos%2F1031051784736759%2F&amp;show_text=false&amp;width=560&amp;t=0" style="border:none;overflow:hidden" width="560"></iframe></p>
<div class="note-box">
<h2><span style="color:#2980b9;">รัฐประหารเมียนมาปี 2564</span></h2>
<p>สืบเนื่องจากเมื่อ 1 ก.พ. 2564 กองทัพเมียนมา นำโดย พลเอกอาวุโส มินอ่องหล่าย ผู้บัญชาการสูงสุดแห่งกองทัพเมียนมา ทำรัฐประหารยึดอำนาจจากรัฐบาลพลเรือน นำโดยพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) โดยอ้างว่าพรรค NLD ทุจริตการเลือกตั้งเมื่อปลายปี 2563 หลังพรรค NLD สามารถชนะการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปลายปี’63 อย่างถล่มทลาย โดยสามารถกวาดที่นั่งในรัฐสภาเมียนมา 396 ที่นั่ง จาก 664 ที่นั่ง </p>
<p>หลังการทำรัฐประหาร ประชาชนชาวพม่าลุกฮือประท้วงอย่างสันติในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ และมีการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์หลายรูปแบบ อาทิ การตีหม้อไล่สิ่งชั่วร้าย การใช้การแสดง Performance Arts การแต่งเพลง การประท้วงโดยใช้ผ้าถุง หรืออื่นๆ เพื่อกดดันให้กองทัพคืนประชาธิปไตยให้ประชาชน และปล่อยตัวสมาชิกพรรค NLD ที่ถูกคุมตัวทั้งหมดอย่างไม่มีเงื่อนไข </p>
<p>อย่างไรก็ตาม กองทัพพม่าเลือกจะเพิกเฉยต่อข้อเรียกร้องของประชาชน และใช้อาวุธสงครามในการปราบผู้ประท้วงจนมีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก นอกจากนี้ กองทัพพม่ายังเปิดสงครามกลางเมืองกับกองกำลังชาติพันธุ์บริเวณชายแดนฝั่งตะวันออกของเมียนมา โดยกองทัพเมียนมาใช้ยุทธวิธีอันโหดร้ายต่อฝ่ายต่อต้าน ไม่ว่าจะเป็นการเผาบ้านเรือนชาวบ้านเพื่อตัดเสบียงฝ่ายต่อต้าน หรือการโจมตีทางอากาศแบบไม่เลือกเป้าหมาย (Discrimination Attack) ซึ่งผลจากวิธีการดังกล่าวส่งผลให้มีชาวเมียนมากลายเป็นผู้พลัดถิ่นภายใน (IDPs) และผู้ลี้ภัย หลายคนเลือกหนีความตายเข้ามายังเพื่อนบ้านอย่างประเทศไทย</p>
<p>ทั้งนี้ รายงานจากสมาคมช่วยเหลือนักโทษการเมืองพม่า หรือเอเอพีพี ซึ่งเป็นองค์กรภาคประชาชนที่ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลการจับกุมนักโทษการเมืองพม่า ได้เปิดเผยสถิติบนแพลตฟอร์มทวิตเตอร์ (ชื่อใหม่คือ ‘เอ็กซ์’) เมื่อ 18 ส.ค. 2566 ตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. 2564 จนถึง 18 ส.ค. 2566 มีชาวเมียนมาเสียชีวิตจากเงื้อมมือของกองทัพเมียนมา อย่างน้อย 3,959 ราย และถูกจับกุมโดยข้อหาทางการเมือง อย่างน้อย 24,352 ราย และยังคงถูกควบคุมตัว อย่างน้อย 19,838 ราย </p>
<p style="text-align: center;"> </p>
<blockquote class="twitter-tweet"><p dir="ltr" lang="en" xml:lang="en">DAILY UPDATE 18/08/23 DAY 929</p>
<p>3,959 killed (+10)
24,352 total arrested (+5)
19,838 still detained (+5)</p>
<p>brief https://t.co/Q4bR5waSz1</p>
<p>arrested https://t.co/p0jxeNOAHS
still detained https://t.co/z2M1vad8Zx
killed https://t.co/Qp1eDlO4Se
released https://t.co/sEbb7u2aLs pic.twitter.com/6w1YeoaRY3</p>
<p>— AAPP (Burma) (@aapp_burma) August 18, 2023</p>
<script async="" src="https://platform.twitter.com/widgets.js" charset="utf-8"></script><p> </p>
<p>นอกจากนี้ รายงานจากศูนย์ตรวจตราผู้พลัดถื่นภายใน (Internal Displacement Mornitoring Centre) ระบุว่า นับตั้งแต่ปี 2564 จนถึง 2565 มีจำนวนผู้พลัดถิ่นภายในเพิ่มขึ้นถึง 1.5 ล้านคน โดยปี 2564 มีประมาณ 649,000 คน และปี 2565 เพิ่มขึ้นเป็น 1.5 ล้านคน หรือเพิ่มขึ้นจำนวน 851,000 คนทีเดียว  </p>
</div>
<h2><span style="color:#2980b9;">ไทยต้องเล่นบทบาทเชิงรุกในการสร้างสันติภาพในเมียนมา</span></h2>
<p>อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของวันสันติภาพไทย และปัญหาวิกฤตการเมืองในเมียนมา โดยประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันปรีดีฯ มองว่าแนวทางการทูตของอาเซียน ที่ไม่แทรกแซงกิจการภายในของสมาชิก (Non-Interference) และการพัวพันอย่างยืดหยุ่น (Felxible Engagement) ส่งผลให้การสร้างเงื่อนไขของการเป็นประชาธิปไตยไม่ใช่ประเด็นสำคัญในความสัมพันธ์ระหว่างไทย อาเซียน กับเมียนมา</p>
<p>อย่างไรก็ตาม รัฐบาลไทยยุค พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา สงวนท่าทีต่อการกดดันกองทัพเมียนมา ให้หยุดปราบปรามผู้ประท้วง และคืนประชาธิปไตยให้กับประชาชน อีกทั้ง เพิกเฉยต่อบทบาทการทูตเชิงรุกเพื่อให้เกิดการเจรจาสันติภาพ เพื่อช่วยเหลือประชาชนชาวเมียนมา </p>
<p>ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันปรีดีฯ มองว่า การสร้างสันติธรรมและประชาธิปไตยในอาเซียนไม่ใช่เรื่องง่ายนัก และต้องการการช่วยเหลือและสนับสนุนจากไทย อาเซียน และนานาชาติ รวมถึงองค์การสหประชาชาติ โดยอาจจะเริ่มจากการทูตพัวพันอย่างสร้างสรรค์โดยรัฐบาลไทย และอาเซียน ให้เกิดการเจรจาหยุดยิงกันก่อน ซึ่งอนุสรณ์ มองว่าบทบาทของไทยจะมีความสำคัญในการแก้ไขวิกฤตเมียนมา และไทยเคยทำสำเร็จมาแล้วในกัมพูชา ระหว่างที่สงครามอินโดจีนกำลังครุกรุ่น</p>
<div style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53126442792_f111b55cd6_b.jpg" /></div>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">อนุสรณ์ ธรรมใจ (ที่มา: เว็บไซต์ สถาบันปรีดี พนมยงค์)</span></p>
<p>อนุสรณ์ มองต่อว่า รัฐบาลไทยสามารถสร้างเงื่อนไขให้ความช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ และการพัฒนาสมรรถนะการเมืองการปกครอง เพื่อแลกกับการให้เมียนมา กลับคืนสู่ประชาธิปไตย เคารพสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการส่งเสริมให้เกิดเสถียรภาพการปกครองที่ต้องมาพร้อมกับการเมืองที่เปิดกว้าง และการยึดถือชีวิตของมนุษย์ทุกๆ คนว่ามีคุณค่า </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">8 ข้อเสนอทางการทูต เพื่อเป็นแบบอย่างสร้างสันติธรรมและประชาธิปไตยในอาเซียน</span></h2>
<p>อย่างไรก็ตาม อนุสรณ์ มองว่า สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ ไทยต้องเป็นแบบอย่างในการสร้างสันติธรรม และประชาธิปไตย พร้อมเสนอแนวทางทางการทูตต่อรัฐบาลไทยจำนวน 8 ข้อ ดังต่อไปนี้ </p>
<p>1. ไทยต้องเป็นแบบอย่างในการสร้างประชาธิปไตย และสันติธรรม โดยการแก้ไขรัฐธรรมนูญให้ยึดถือหลักการประชาธิปไตย เนื้อหาใดที่ขัดแย้งกับหลักการดังกล่าวต้องถูกตัดออก  รวมถึงต้องปลดปล่อยนักโทษทางการเมืองออกจากการจองจำ และยกเลิกกฎหมายที่ละเมิดสิทธิของประชาชนก่อน </p>
<p>2. ไทยควรมีบทบาทนำและเรียกร้องให้รัฐบาลเผด็จการทหารเมียนมา ปฏิบัติตามฉันทามติ 5 ข้อของอาเซียน (5PC) และควรมีการจัดตั้งคณะกรรมการปรึกษาหารือ เพื่อยุติสงครามกลางเมือง ฟื้นฟูประชาธิปไตย และสันติภาพในเมียนมา</p>
<p>3. ไทยควรสนับสนุนการดำเนินงานของสหประชาชาติ ให้การสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยของเมียนมา และในอาเซียน ที่ยังมีปัญหาประชาธิปไตย และละเมิดสิทธิมนุษยชนอยู่</p>
<p>4. เพิ่มความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ประชาชนที่ตกอยู่ในนอันตราย และหลบหนีจากเมียนมา เรียกร้องร่วมกับอาเซียน ให้กองทัพเมียนนมาปล่อยตัวผู้ถูกคุมขังโดยพลการ และผู้ถูกคุมขังโดยไม่เป็นธรรมทั้งหมด 
 
5. เพิ่มแรงกดดันทางทูตต่อคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ที่ประชุมสมัชชาเพื่อหยุดยั้งการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรงในเมียนมา </p>
<p>6. เรียกร้องกดดันให้กองทัพพม่าหยุดปฏิบัติการโจมตีทางอากาศต่อพลเรือน </p>
<p>7. รัฐบาลใหม่ต้องดำเนินการกวดขันตามแนวชายแดน เพื่อยุติการส่งมอบอาวุธ และทรัพยากรอื่นๆ ที่ถูกใช้เพื่อปราบปรามประชาชนและละเมิดสิทธิมนุษยชนของกองทัพเมียนมา รัฐบาลใหม่ของไทยต้องดำเนินการอย่างจริงจังในการปราบปรามขบวนการค้ายาเสพติด ค้าอาวุธที่เจ้าหน้าที่ไทยเข้าไปเกี่ยวข้อง</p>
<p>8. ต้องสร้างเครือข่ายความร่วมมือของขบวนการประชาธิปไตยในภูมิภาคอาเซียน และรักษาเอกภาพของขบวนการประชาธิปไตยภายในแต่ละประเทศ สร้างพลังเครือข่ายร่วมกันในภูมิภาค เพื่อให้ภูมิภาคนี้เป็นภูมิภาคแห่งการเคารพสิทธิมนุษยชน ยึดถือมนุษยธรรม เป็นภูมิภาคที่มีเสถียรภาพ มีความมั่นคงสงบสันติ สิทธิเสรีภาพเบ่งบาน มีความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และเป็นภูมิภาคของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน</p>
<div class="note-box">
<p>อนึ่ง จุดเริ่มต้นของวันสันติภาพไทย เริ่มขึ้นเมื่อ 78 ปีที่แล้ว หรือ 16 ส.ค. 2488 ช่วงระหว่างเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ปรีดี พนมยงค์ แกนนำคณะราษฎร และขบวนการเสรีไทย ได้ออก "ประกาศสันติภาพ" อันมีใจความสำคัญว่า การประกาศสงครามกับบริเตนใหญ่ และสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 25 ม.ค. 2585 ถือเป็น "โมฆะ" และไม่ผูกพันธ์ของประชาชนชาวไทย เนื่องจากเป็นการกระทำที่ผิดจากเจตนารมณ์ของประชาชน และขัดต่อรัฐธรรมนูญ และกฎหมายบ้านเมือง</p>
</div>
<h2> </h2>
<h2> </h2>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">/url]</div></div></div><div class="field field-name-field-promote-end field-type-text field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even">ติดตามประชาไทอัพเดท ได้ที่เฟซบุ๊ก https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/08/105531
 
5982  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - ภรรยาออกโรงเคลียร์ ตอบเอง #ชลน่านจะลาออกกี่โมง พ้อสื่อ-คนบางกลุ่มรุมปั่นกระทืบ เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 23:37:02
ภรรยาออกโรงเคลียร์ ตอบเอง #ชลน่านจะลาออกกี่โมง พ้อสื่อ-คนบางกลุ่มรุมปั่นกระทืบ
         


ภรรยาออกโรงเคลียร์ ตอบเอง #ชลน่านจะลาออกกี่โมง พ้อสื่อ-คนบางกลุ่มรุมปั่นกระทืบ" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;ภรรยาตอบเอง #ชลน่านจะลาออกกี่โมง พ้อสามีจำใจขัดผู้คน เพราะโดนบีบด้วย รธน.60 แต่สื่อ-คนบางกลุ่มยังรุมปั่นกระทืบ ยันพร้อมลาออกทุกเมื่อ ไม่เคยยึดติดหัวโขน
         

https://www.sanook.com/news/8985934/
         
5983  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - มาเป็นคลิป! เพื่อไทย เล่าเหตุการณ์ปล่อยมือ "ก้าวไกล" ฉีก MOU ย้ำทำเพื่อแก้วิกฤตใ เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 23:21:19
มาเป็นคลิป! เพื่อไทย เล่าเหตุการณ์ปล่อยมือ "ก้าวไกล" ฉีก MOU ย้ำทำเพื่อแก้วิกฤตให้ ปชช.
         


มาเป็นคลิป! เพื่อไทย เล่าเหตุการณ์ปล่อยมือ &quot;ก้าวไกล&quot; ฉีก MOU ย้ำทำเพื่อแก้วิกฤตให้ ปชช." width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;ไม่ใช่การเล่นละคร ไม่ได้ข้ามขั้ว
         

https://www.sanook.com/news/8985938/
         
5984  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - 'อนุสรณ์ ธรรมใจ' เสนอรัฐไทยต้องเล่นบทนำ-การทูตเชิงรุก สร้างสันติภาพในเมียนม เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 22:33:59
'อนุสรณ์ ธรรมใจ' เสนอรัฐไทยต้องเล่นบทนำ-การทูตเชิงรุก สร้างสันติภาพในเมียนมา
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2023-08-19 21:00</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพปก:<span style="color:null;"> อนุสรณ์ ธรรมใจ (ที่มา:</span><span style="color:null;"> เว็บไซต์ สถาบันปรีดี พนมยงค์</span><span style="color:null;">)</span></p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><div class="summary-box">
<ul>
<li>วาระครบรอบ 78 ปี วันสันติภาพไทย สถาบันปรีดีฯ จัดเสวนา "สันติภาพเมียนมา" อนุสรณ์เสนอ รบ.ไทย ใช้การทูตเชิงสร้างสรรค์ เล่นบทบาทนำ เป็นตัวกลางเจรจาหยุดยิง ยั้งวิกฤตสงครามกลางเมืองเมียนมา</li>
<li>อนุสรณ์ เสนอบทบาทนำและแนวทางการทูตต่อรัฐไทย 8 ข้อ เพื่อเป็นแบบอย่างในการสร้างสันติธรรมและประชาธิปไตยในเมียนมา และอาเซียน รวมถึงการแก้ไข รธน.โดยยึดหลัก ปชต. การเรียกร้องให้กองทัพเมียนมา ทำตามฉันทามติอาเซียน 5 ข้อ ประสานกับ UN ให้เข้าคลี่คลายวิกฤตการเมืองพม่า</li>
</ul>
</div>
<p>เมื่อ 16 ส.ค. 2566 เพจเฟซบุ๊ก "สถาบันปรีดี พนมยงค์" ถ่ายทอดสดติดตามงานเสวนา PRIDI Talks ครั้งที่ 22 ในวาระครบรอบ 78 ปี วันสันติภาพไทย ภายใต้หัวข้อ "บทบาทอาเซียนในการเสริมสร้างสันติภาพในเมียนมา" โดยก่อนเปิดงานเสวนา อนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้กล่าวหัวข้อ "บทบาทของไทยในสันติธรรมประชาธิปไตยในเมียนมา และอาเซียน" โดยเสนอแนวทางการทูตต่อรัฐไทย 8 ข้อในการสร้างสันติภาพในเมียนมา หลังจากที่กองทัพพม่าทำรัฐประหารเมื่อ 2 ปีที่แล้ว (2564)</p>
<p style="text-align: center;">
<iframe allow="autoplay; clipboard-write; encrypted-media; picture-in-picture; web-share" allowfullscreen="true" frameborder="0" height="314" scrolling="no" src="https://www.facebook.com/plugins/video.php?height=314&amp;href=https%3A%2F%2Fwww.facebook.com%2Fpridibanomyonginstitute%2Fvideos%2F1031051784736759%2F&amp;show_text=false&amp;width=560&amp;t=0" style="border:none;overflow:hidden" width="560"></iframe></p>
<div class="note-box">
<h2><span style="color:#2980b9;">รัฐประหารเมียนมาปี 2564</span></h2>
<p>สืบเนื่องจากเมื่อ 1 ก.พ. 2564 กองทัพเมียนมา นำโดย พลเอกอาวุโส มินอ่องหล่าย ผู้บัญชาการสูงสุดแห่งกองทัพเมียนมา ทำรัฐประหารยึดอำนาจจากรัฐบาลพลเรือน นำโดยพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD) โดยอ้างว่าพรรค NLD ทุจริตการเลือกตั้งเมื่อปลายปี 2563 หลังพรรค NLD สามารถชนะการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปลายปี’63 อย่างถล่มทลาย โดยสามารถกวาดที่นั่งในรัฐสภาเมียนมา 396 ที่นั่ง จาก 664 ที่นั่ง </p>
<p>หลังการทำรัฐประหาร ประชาชนชาวพม่าลุกฮือประท้วงอย่างสันติในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ และมีการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์หลายรูปแบบ อาทิ การตีหม้อไล่สิ่งชั่วร้าย การใช้การแสดง Performance Arts การแต่งเพลง การประท้วงโดยใช้ผ้าถุง หรืออื่นๆ เพื่อกดดันให้กองทัพคืนประชาธิปไตยให้ประชาชน และปล่อยตัวสมาชิกพรรค NLD ที่ถูกคุมตัวทั้งหมดอย่างไม่มีเงื่อนไข </p>
<p>อย่างไรก็ตาม กองทัพพม่าเลือกจะเพิกเฉยต่อข้อเรียกร้องของประชาชน และใช้อาวุธสงครามในการปราบผู้ประท้วงจนมีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก นอกจากนี้ กองทัพพม่ายังเปิดสงครามกลางเมืองกับกองกำลังชาติพันธุ์บริเวณชายแดนฝั่งตะวันออกของเมียนมา โดยกองทัพเมียนมาใช้ยุทธวิธีอันโหดร้ายต่อฝ่ายต่อต้าน ไม่ว่าจะเป็นการเผาบ้านเรือนชาวบ้านเพื่อตัดเสบียงฝ่ายต่อต้าน หรือการโจมตีทางอากาศแบบไม่เลือกเป้าหมาย (Discrimination Attack) ซึ่งผลจากวิธีการดังกล่าวส่งผลให้มีชาวเมียนมากลายเป็นผู้พลัดถิ่นภายใน (IDPs) และผู้ลี้ภัย หลายคนเลือกหนีความตายเข้ามายังเพื่อนบ้านอย่างประเทศไทย</p>
<p>ทั้งนี้ รายงานจากสมาคมช่วยเหลือนักโทษการเมืองพม่า หรือเอเอพีพี ซึ่งเป็นองค์กรภาคประชาชนที่ตรวจสอบและรวบรวมข้อมูลการจับกุมนักโทษการเมืองพม่า ได้เปิดเผยสถิติบนแพลตฟอร์มทวิตเตอร์ (ชื่อใหม่คือ ‘เอ็กซ์’) เมื่อ 18 ส.ค. 2566 ตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. 2564 จนถึง 18 ส.ค. 2566 มีชาวเมียนมาเสียชีวิตจากเงื้อมมือของกองทัพเมียนมา อย่างน้อย 3,959 ราย และถูกจับกุมโดยข้อหาทางการเมือง อย่างน้อย 24,352 ราย และยังคงถูกควบคุมตัว อย่างน้อย 19,838 ราย </p>
<p style="text-align: center;"> </p>
<blockquote class="twitter-tweet"><p dir="ltr" lang="en" xml:lang="en">DAILY UPDATE 18/08/23 DAY 929</p>
<p>3,959 killed (+10)
24,352 total arrested (+5)
19,838 still detained (+5)</p>
<p>brief https://t.co/Q4bR5waSz1</p>
<p>arrested https://t.co/p0jxeNOAHS
still detained https://t.co/z2M1vad8Zx
killed https://t.co/Qp1eDlO4Se
released https://t.co/sEbb7u2aLs pic.twitter.com/6w1YeoaRY3</p>
<p>— AAPP (Burma) (@aapp_burma) August 18, 2023</p>
<script async="" src="https://platform.twitter.com/widgets.js" charset="utf-8"></script><p> </p>
<p>นอกจากนี้ รายงานจากศูนย์ตรวจตราผู้พลัดถื่นภายใน (Internal Displacement Mornitoring Centre) ระบุว่า นับปี 2564 จนถึง 2565 มีจำนวนผู้พลัดถิ่นภายในเพิ่มขึ้นถึง 1.5 ล้านคน โดยปี 2564 มีประมาณ 649,000 คน และปี 2565 เพิ่มขึ้นเป็น 1.5 ล้านคน หรือเพิ่มขึ้นจำนวน 851,000 คนทีเดียว  </p>
</div>
<h2><span style="color:#2980b9;">ไทยต้องเล่นบทบาทเชิงรุกในการสร้างสันติภาพในเมียนมา</span></h2>
<p>อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของวันสันติภาพไทย และปัญหาวิกฤตการเมืองในเมียนมา โดยประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันปรีดีฯ มองว่าแนวทางการทูตของอาเซียน ที่ไม่แทรกแซงกิจการภายในของสมาชิก (Non-Interference) และการพัวพันอย่างยืดหยุ่น (Felxible Engagement) ส่งผลให้การสร้างเงื่อนไขของการเป็นประชาธิปไตยไม่ใช่ประเด็นสำคัญในความสัมพันธ์ระหว่างไทย อาเซียน กับเมียนมา</p>
<p>อย่างไรก็ตาม รัฐบาลไทยยุค พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา สงวนท่าทีต่อการกดดันกองทัพเมียนมา ให้หยุดปราบปรามผู้ประท้วง และคืนประชาธิปไตยให้กับประชาชน อีกทั้ง เพิกเฉยต่อบทบาทการทูตเชิงรุกเพื่อให้เกิดการเจรจาสันติภาพ เพื่อช่วยเหลือประชาชนชาวเมียนมา </p>
<p>ประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันปรีดีฯ มองว่า การสร้างสันติธรรมและประชาธิปไตยในอาเซียนไม่ใช่เรื่องง่ายนัก และต้องการการช่วยเหลือและสนับสนุนจากไทย อาเซียน และนานาชาติ รวมถึงองค์การสหประชาชาติ โดยอาจจะเริ่มจากการทูตพัวพันอย่างสร้างสรรค์โดยรัฐบาลไทย และอาเซียน ให้เกิดการเจรจาหยุดยิงกันก่อน ซึ่งอนุสรณ์ มองว่าบทบาทของไทยจะมีความสำคัญในการแก้ไขวิกฤตเมียนมา และไทยเคยทำสำเร็จมาแล้วในกัมพูชา ระหว่างที่สงครามอินโดจีนกำลังครุกรุ่น</p>
<div style="text-align: center;"><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53126442792_f111b55cd6_b.jpg" /></div>
<p style="text-align: center;"><span style="color:#d35400;">อนุสรณ์ ธรรมใจ (ที่มา: เว็บไซต์ สถาบันปรีดี พนมยงค์)</span></p>
<p>อนุสรณ์ มองต่อว่า รัฐบาลไทยสามารถสร้างเงื่อนไขให้ความช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ และการพัฒนาสมรรถนะการเมืองการปกครอง เพื่อแลกกับการให้เมียนมา กลับคืนสู่ประชาธิปไตย เคารพสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการส่งเสริมให้เกิดเสถียรภาพการปกครองที่ต้องมาพร้อมกับการเมืองที่เปิดกว้าง และการยึดถือชีวิตของมนุษย์ทุกๆ คนว่ามีคุณค่า </p>
<h2><span style="color:#2980b9;">8 ข้อเสนอทางการทูต เพื่อเป็นแบบอย่างสร้างสันติธรรมและประชาธิปไตยในอาเซียน</span></h2>
<p>อย่างไรก็ตาม อนุสรณ์ มองว่า สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ ไทยต้องเป็นแบบอย่างในการสร้างสันติธรรม และประชาธิปไตย พร้อมเสนอแนวทางทางการทูตต่อรัฐบาลไทยจำนวน 8 ข้อ ดังต่อไปนี้ </p>
<p>1. ไทยต้องเป็นแบบอย่างในการสร้างประชาธิปไตย และสันติธรรม โดยการแก้ไขรัฐธรรมนูญให้ยึดถือหลักการประชาธิปไตย เนื้อหาใดที่ขัดแย้งกับหลักการดังกล่าวต้องถูกตัดออก  รวมถึงต้องปลดปล่อยนักโทษทางการเมืองออกจากการจองจำ และยกเลิกกฎหมายที่ละเมิดสิทธิของประชาชนก่อน </p>
<p>2. ไทยควรมีบทบาทนำและเรียกร้องให้รัฐบาลเผด็จการทหารเมียนมา ปฏิบัติตามฉันทามติ 5 ข้อของอาเซียน (5PC) และควรมีการจัดตั้งคณะกรรมการปรึกษาหารือ เพื่อยุติสงครามกลางเมือง ฟื้นฟูประชาธิปไตย และสันติภาพในเมียนมา</p>
<p>3. ไทยควรสนับสนุนการดำเนินงานของสหประชาชาติ ให้การสนับสนุนการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยของเมียนมา และในอาเซียน ที่ยังมีปัญหาประชาธิปไตย และละเมิดสิทธิมนุษยชนอยู่</p>
<p>4. เพิ่มความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่ประชาชนที่ตกอยู่ในนอันตราย และหลบหนีจากเมียนมา เรียกร้องร่วมกับอาเซียน ให้กองทัพเมียนนมาปล่อยตัวผู้ถูกคุมขังโดยพลการ และผู้ถูกคุมขังโดยไม่เป็นธรรมทั้งหมด 
 
5. เพิ่มแรงกดดันทางทูตต่อคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ที่ประชุมสมัชชาเพื่อหยุดยั้งการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างรุนแรงในเมียนมา </p>
<p>6. เรียกร้องกดดันให้กองทัพพม่าหยุดปฏิบัติการโจมตีทางอากาศต่อพลเรือน </p>
<p>7. รัฐบาลใหม่ต้องดำเนินการกวดขันตามแนวชายแดน เพื่อยุติการส่งมอบอาวุธ และทรัพยากรอื่นๆ ที่ถูกใช้เพื่อปราบปรามประชาชนและละเมิดสิทธิมนุษยชนของกองทัพเมียนมา รัฐบาลใหม่ของไทยต้องดำเนินการอย่างจริงจังในการปราบปรามขบวนการค้ายาเสพติด ค้าอาวุธที่เจ้าหน้าที่ไทยเข้าไปเกี่ยวข้อง</p>
<p>8. ต้องสร้างเครือข่ายความร่วมมือของขบวนการประชาธิปไตยในภูมิภาคอาเซียน และรักษาเอกภาพของขบวนการประชาธิปไตยภายในแต่ละประเทศ สร้างพลังเครือข่ายร่วมกันในภูมิภาค เพื่อให้ภูมิภาคนี้เป็นภูมิภาคแห่งการเคารพสิทธิมนุษยชน ยึดถือมนุษยธรรม เป็นภูมิภาคที่มีเสถียรภาพ มีความมั่นคงสงบสันติ สิทธิเสรีภาพเบ่งบาน มีความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ และเป็นภูมิภาคของประชาชน โดยประชาชน เพื่อประชาชน</p>
<div class="note-box">
<p>อนึ่ง จุดเริ่มต้นของวันสันติภาพไทย เริ่มขึ้นเมื่อ 78 ปีที่แล้ว หรือ 16 ส.ค. 2488 ช่วงระหว่างเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ปรีดี พนมยงค์ แกนนำคณะราษฎร และขบวนการเสรีไทย ได้ออก "ประกาศสันติภาพ" อันมีใจความสำคัญว่า การประกาศสงครามกับบริเตนใหญ่ และสหรัฐฯ เมื่อวันที่ 25 ม.ค. 2585 ถือเป็น "โมฆะ" และไม่ผูกพันธ์ของประชาชนชาวไทย เนื่องจากเป็นการกระทำที่ผิดจากเจตนารมณ์ของประชาชน และขัดต่อรัฐธรรมนูญ และกฎหมายบ้านเมือง</p>
</div>
<h2> </h2>
<h2> </h2>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">/url]</div></div></div><div class="field field-name-field-promote-end field-type-text field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even">ติดตามประชาไทอัพเดท ได้ที่เฟซบุ๊ก https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/08/105531
 
5985  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - 'ไทยภักดี' ขอให้พรรคร่วมรัฐบาลเดิมทบทวนจุดยืนร่วมรัฐบาลเพื่อไทย เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 21:01:16
'ไทยภักดี' ขอให้พรรคร่วมรัฐบาลเดิมทบทวนจุดยืนร่วมรัฐบาลเพื่อไทย
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2023-08-19 13:58</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>พรรคไทยภักดีออกแถลงการณ์ขอให้พรรคร่วมรัฐบาลเดิมทบทวนจุดยืนร่วมรัฐบาลเพื่อไทยอย่างไม่มีเงื่อนไข ชี้อาจเปิดช่องให้เกิดการแก้รัฐธรรมนูญใหม่ทุกหมวด ทุกมาตรา โดย สสร. ที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งจะนำไปสู่ความขัดแย้งที่รุนแรงยิ่งกว่าการแก้ ม.112 ของพรรคก้าวไกลด้วยซ้ำ</p>
<p style="text-align: center;">
<iframe allow="autoplay; clipboard-write; encrypted-media; picture-in-picture; web-share" allowfullscreen="true" frameborder="0" height="793" scrolling="no" src="https://www.facebook.com/plugins/post.php?href=https%3A%2F%2Fwww.facebook.com%2FThaipakdeeParty%2Fposts%2Fpfbid02uZ9cCCGdoGTr4gKRZWXJVsJrLQxYPqx6SUqAwRW6jbJ8x6Fp35fYLGseaqfyev75l&amp;show_text=true&amp;width=500" style="border:none;overflow:hidden" width="500"></iframe></p>
<p>เมื่อวันที่ 19 ส.ค. 2566 เพจพรรคไทยภักดี เผยแพร่แถลงการณ์ 'ขอให้พรรคร่วมรัฐบาลเดิมทบทวนจุดยืนร่วมรัฐบาลเพื่อไทยอย่างไม่มีเงื่อนไข' ความว่าดังปรากฏต่อสาธารณะดังคำชี้แจงของพรรครวมไทยสร้างชาติว่าจะเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทย โดยปราศจากเงื่อนไข และแนวทางดังกล่าวก็คงเป็นแนวทางเดียวกันกับพรรคร่วมรัฐบาลเดิมที่จะเข้าร่วมรัฐบาลเพื่อไทย เช่น พรรคภูมิใจไทย พรรคพลังประชารัฐ พรรคชาติไทยพัฒนา นั้น</p>
<p>พรรคไทยภักดี ขอให้พรรคร่วมรัฐบาลเดิมทบทวนจุดยืนดังกล่าวอย่างเร่งด่วน เพราะการเข้าร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทยโดยปราศจากเงื่อนไข อาจเปิดช่องให้เกิดการแก้รัฐธรรมนูญใหม่ทุกหมวด ทุกมาตรา โดย สสร. ที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งจะนำไปสู่ความขัดแย้งที่รุนแรง ในสังคมไทยยิ่งกว่าการแก้กฎหมายมาตรา 112 ของพรรคก้าวไกลด้วยซ้ำ</p>
<p>ทั้งนี้พรรคเพื่อไทยได้แถลงในวันที่ 2 ส.ค. 2566 ว่า</p>
<p>1. การแก้รัฐธรรมนูญเป็นวาระแห่งชาติ</p>
<p>2. การแก้รัฐธรรมนูญเป็นเรื่องเร่งด่วนจะนำเข้าครม. ในการประชุมครม. ครั้งแรก</p>
<p>3. การแก้รัฐธรรมนูญดำเนินการโดย สสร.</p>
<p>4. การแก้รัฐธรรมนูญจะให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเลือก สสร.</p>
<p>5. แก้รัฐธรรมนูญเสร็จ ยุบสภา คืนอำนาจให้ประชาชนทันที</p>
<p>ขณะเดียวกัน “ไอลอร์” องค์กร NGO ที่รับเงินต่างชาติกับพรรคก้าวไกล คณะก้าวหน้า ได้เริ่มเคลื่อนไหวทั้งในและนอกสภาเพื่อขอทำประชามติ แก้รัฐธรรมนูญโดยสสร. ที่มาจากการเลือกตั้ง 100 % และแก้รัฐธรรมนูญทุกหมวด ทุกมาตรา</p>
<p>ดังนั้น การแก้รัฐธรรมนูญของพรรคเพื่อไทยกับการรณรงค์เพื่อแก้รัฐธรรมนูญของ พรรคก้าวไกลและเครือข่าย NGO ที่มีต่างชาติหนุนหลัง แม้จะเป็นการกระทำต่างกรรมต่างวาระกันแต่สามารถจะบรรจบกันและนำไปสู่เป้าหมายอันเป็นอันตรายได้นั่นคือการแก้ไขหมวด 1 และหมวด 2 ซึ่งเป็นเรื่องที่จะนำไปสู่ความแตกแยกของสังคมมากกว่าการเสนอแก้กฎหมายมาตรา 112 และหากทำสำเร็จก็จะอ้างว่าเป็น “มติ” ของประชาชนต้องการให้เป็นเช่นนั้น</p>
<p>พรรคร่วมรัฐบาลเดิมทุกพรรคเคยประกาศจะปกป้องสถาบันหลักของชาติ ทั้งชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์ โดยไม่ร่วมงานกับพรรคที่จะแก้มาตรา 112 มาแล้วนั้น ย่อมมิอาจร่วมรัฐบาลพรรคเพื่อไทยโดยปราศจากเงื่อนไขใดๆได้ เพราะจะเป็นการร่วมสมยอมให้พรรคเพื่อไทยแก้รัฐธรรมนูญโดย สสร. และเปิดช่องให้พรรคก้าวไกล สามารถแก้รัฐธรรมนูญได้ทุกหมวด ทุกมาตรา นำไปสู่การล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์ และแบ่งแยกประเทศไทย</p>
<p>แต่ต้องกำหนดเงื่อนไขที่ชัดเจนว่า การแก้รัฐธรรมนูญของพรรคเพื่อไทยต้องไม่แตะต้องหมวด 1 หมวด 2 โดยเด็ดขาด และควรเป็นการแก้ไขรายมาตราที่เห็นว่าเป็นปัญหา เพื่อไม่ให้กลุ่มการเมืองที่ไม่หวังดีและคิดเปลี่ยนแปลง ประกาศล้มล้างสถาบันหลักของชาติ สามารถใช้เป็นช่องทางในการเคลื่อนไหวใดๆ ของตนได้</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ข่https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/08/105526
 
5986  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - "น้องณดา" ลูกแม่กบ โพสท่าชิลๆ สูงและหุ่นดีมาก แต่แอบพีคที่รูปเกาะเสา เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 21:01:16
"น้องณดา" ลูกแม่กบ โพสท่าชิลๆ สูงและหุ่นดีมาก แต่แอบพีคที่รูปเกาะเสา
         


&quot;น้องณดา&quot; ลูกแม่กบ โพสท่าชิลๆ สูงและหุ่นดีมาก แต่แอบพีคที่รูปเกาะเสา" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;น้องณดา ลูกแม่กบ โตเป็นสาวแล้ว สวยและหุ่นดีมากๆ
         

https://www.sanook.com/news/8985914/
         
5987  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - นิธิ เอียวศรีวงศ์ กับเสียงสะท้อนจากชายแดนใต้ เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 19:29:09
นิธิ เอียวศรีวงศ์ กับเสียงสะท้อนจากชายแดนใต้
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2023-08-19 18:34</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>อุสตาซอับดุชชะกูรฺ บินชาฟิอีย์ (อับดุลสุโก ดินอะ)
ศิษย์จากชายแดนใต้</p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>ด้วยพระนามของอัลลอฮฺผู้ทรงเมตตาปรานีเสมอ มวลการสรรเสริญมอบแด่อัลลอฮฺผู้ทรงอภิบาลแห่งสากลโลก ขอความสันติสุขจงมีแด่ศาสนฑูตมุฮัมมัดและสุขสวัสดีผู้อ่านทุกท่าน</p>
<p>วันที่ 7 สิงหาคม 2566 อ.นิธิ เอียวศรีวงศ์"  หรือศาสตราจารย์ ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์ นักวิชาการชื่อดังของไทยได้เสียชีวิตลงในวัย 83 ปี ท่านไม่เพียงเป็นนักวิชาการที่ได้ยอมในระดับประเทศเท่านั้นแต่สำหรับคนชายแดนใต้แล้วท่านเป็นอีกหนึ่งนักวิชาการที่คนชายแดนฝากความหวังในการช่วยชี้แนะการดำเนินนโยบายของรัฐอไม่ว่าภายใต้รัฐบาลประชาธิปไตยหรือภายใต้รัฐบาลทหารโดยเฉพาะหลังวิกฤตไฟใต้ตลอด 20 ปี</p>
<p>"สุชาติ สวัสดิ์ศรี" นักเขียนรางวัลช่อการะเกด โพสต์ข้อความว่า "นิธิ เอียวศรีวงศ์ ลาลับจากไปแล้ว ด้วยรักและอาลัยในมิตรภาพ ที่ยาวนานมาตั้งแต่ครั้ง สังคมศาสตร์ปริทัศน์"</p>
<p>สำหรับ ศาสตราจารย์ ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์ เป็นอาจารย์ที่คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เกิดที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2483 </p>
<p>จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและโท สาขาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และจบปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยอาจารย์มีชื่อเสียงจากผลงานวิชาการด้านประวัติศาสตร์ รวมทั้งมีงานเขียนตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์มติชนรายวัน และนิตยสารศิลปวัฒนธรรม </p>
<p>ในปี 2556 เกิดขึ้นหลังจาก ที่ ผมได้จัดโครงการ โรงเรียนประชาธิปไตย ผ่านการสนับสนุนจาก โครงการสะพาน ได้มีการ ไปดูงาน ที่ เชียงใหม่ จึงมีโอกาส พบกับ อ.นิธิ ที่ ร้านหนังสือ อ.สนใจ ประเด็นชายแดนใต้ และ ให้ เกียรติกลุ่มคนเล็กๆ ที่ขึ้นไป เชียงใหม่ ในครั้งนั้น </p>
<p>ผมจึงบอกอาจารย์ว่า ถ้าพวกเราจะเชิญอาจารย์ไปบรรยายที่ปัตตานีอาจารย์จะไปไหมครับ อาจารย์ตอบว่ายินดียิ่ง</p>
<p>กระทั่งหลังจากพวกเรากลับมาไม่นาน ได้เชิญอาจารย์มาบรรยายเรื่องประวัติศาสตร์การเมืองไทยให้กับเยาวชนนอกระบบการศึกษาที่ปัตตานี จำได้ว่าสิ่งหนึ่งที่ผมมักจะต้องอธิบายให้ เพื่อนๆ หรืออาจารย์ และผู้คนต่างถิ่น คือ กระบวนยุติธรรมและวิถีปฎิบัติที่ใช้อยู่ในพื้นที่ชายแดนใต้ กฎอัยการศึก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ทหาร ชรบ. ให้เข้าใจ มันยากมาก ในเวลานั้นการมีโอกาสได้รวมสร้างสัมพันธมิตรกับคณาจารย์ ผมถือว่าเป็นภารกิจหนึ่งที่จะสื่อสารเรื่องราว สร้างความเข้าใจในบริบทของพื้นที่ในลักษณะนี้ ให้ทุกคนเข้าใจ วันนี้ สถานการณ์ที่ปาตานีหรือชายแดนใต้ คนส่วนกลางเข้าใจถึงชะตากรรมของคนชายแดนใต้ อย่างลึกซึ้งมาก</p>
<p>"นิธิ เอียวศรีวงศ์"เป็นนักวิชาการใหญ่ ที่มีผลงาน การเขียนและบรรยาย “ปัญหาปาตานี/ชายแดนใต้” มากที่สุดคนหนึ่ง เช่น ความแปลกหน้าของมุสลิม (อ่านเพิ่มเติมใน https://www.matichonweekly.com/column/article_58920 “ประวัติศาสตร์ลังกาสุกะและปาตานี” https://mgronline.com/south/detail/9490000062800 3. ปอเนาะ (https://prachatai.com/journal/2022/01/96776) และมองสถานการณ์ภาคใต้ผ่านสายตาของนิธิ ซึ่งท่านสามารถอ่านรวบรวมผลงานท่านใน</p>
<p>https://midnightuniv.tumrai.com/midnight2545/document9782.html</p>
<p>สำหรับผู้เขียนเคยเรียนกับท่านในระดับปริญญาเอกสาขา วัฒนธรรมศึกษาของมหาวิทยาลัยทักษิณ เมื่อ ปี 50 (ถ้าจำไม่ผิด)และอีกอีกประการเคยนำทัศนะท่านในบทความผู้เขียน “ปอเนาะการศึกษาทางเลือก :จิตวิญญาณปาตานี” ปัญหาและทางออก”ในช่วงที่รัฐและสังคมนอกมองว่า การศึกษาในระบบปอเนาะซึ่งมีเฉพาะชายแดนใต้ว่าเป็นแหล่งบ่มเพาะการก่อการร้ายโดยท่าน (ศ.นิธิ เอียวศรีวงศ์) สะท้อนว่า “ความสัมพันธ์ ปอเนาะ โต๊ะครู (บาบอ) และชุมชนกับรัฐโดยให้ทัศนะว่า “เมื่อพิจารณาบทบาทโต๊ะครูที่มีต่อชาวบ้านและชุมชน จะพบว่ามันสอดคล้องกับความเชื่อเรื่องกระบวนการผู้มีบุญที่มีอิทธิพลต่อความคิดความเชื่อของชาวเขาทางภาคเหนือของไทย ซึ่งใช้ทฤษฎี (Revitalization Theory)เมื่อถูกกดดันจากภาครัฐ ทำให้โต๊ะครูและชาวบ้านมีทางเลือกสองทางคือ การไม่ยอมรับการจดทะเบียนปอเนาะ เพราะกลัวว่ารัฐจะเข้ามาควบคุม ซึ่งเป็นส่วนน้อย เมื่อพิจารณาจากส่วนใหญ่ของปอเนาะที่ยอมจดทะเบียนเพื่อฟื้นฟูพลังการดำรงอยู่ และพลังที่พวกเขานำมาใช้เพื่อการคงอยู่ ก็มีบริบทภายในวัฒนธรรมตนเองและปัจจัยทางการเมืองภายนอก และขณะเดียวกันมีการใช้กระบวนการต่อรอง (Negotiation) ตามแนวคิดของกรัมชี ระหว่างโต๊ะครู ชุมชน กับรัฐ โดยการยอมรับของชุมชนและโต๊ะครูนั้น รัฐต้องมาสนับสนุนหนุนเสริมพัฒนา ไม่ใช่มาควบคุม “ (อ้างอิง https://www.thaingo.org/content/detail/5168)</p>
<p>กล่าวโดยสรุปผลงานของท่านมีผลต่อนักวิชาการและวิชาการอันเป็นฐานสำคัญในการต่อยอดการแก้ปัญหาและพัฒนาชายแดนใต้ ทุกมิติไม่ว่ามิติการเมือง สังคม ศาสนา วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ ทีเชื่อมโยงเกี่ยวกับโครงสร้างและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของ จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมทั้งการบริหารจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น เพื่อนําไปสู่การแก้ไขปัญหาและสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ด้านสวัสดิภาพหรือคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ รวมถึงกลุ่มแรงงานที่ไปทํางานในต่างแดน เช่น ประเทศมาเลเซีย การบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ โดยเน้นการมีส่วนร่วมภาคประชาชนมิติสังคม ได้แก่ </p>
<p>1. แนวทางของการกระจายอํานาจชุมชนและแนวทางการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้</p>
<p>2. ปัญหาเชิงโครงสร้างความเหลื่อมล้ำในพื้นที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อนําไปสู่การหาทางออกและการแก้ไขปัญหา</p>
<p>3. ด้านความมั่นคงของมนุษย์มากกว่าความมั่นคงด้านทหาร</p>
<p>4. ระบบราชการและการบริหารจัดการของภาครัฐที่เหมาะสมกับบริบทของ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อยกระดับประสิทธิภาพของภาครัฐและการทําให้ประชาชนเข้าถึงบริการของรัฐ อย่างเท่าเทียม และเหมาะสม โดยเฉพาะประเด็นกระบวนการพูดคุยสันติภาพ มุสลิมกับชาวพุทธ คนเห็นต่างและกระบวนการยุติธรรม</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">บทคhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/08/105530
 
5988  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - เอ๊า! สาวไรเดอร์โดนขโมยรถ คนเห็นใจวอน ตร.จับโจร เจอเฉลยช็อตฟิล "มันเป็นการแสดง&qu เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 18:29:06
เอ๊า! สาวไรเดอร์โดนขโมยรถ คนเห็นใจวอน ตร.จับโจร เจอเฉลยช็อตฟิล "มันเป็นการแสดง"
         


เอ๊า! สาวไรเดอร์โดนขโมยรถ คนเห็นใจวอน ตร.จับโจร เจอเฉลยช็อตฟิล &quot;มันเป็นการแสดง&quot;" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;ร้องเอ๊าหนักมาก ไวรัลไรเดอร์สาวร้องไห้ริมถนน พ้อถูกขโมยรถหากิน รู้ชีวิตคนยิ่งเห็นใจ แต่ล่าสุด ตร.ช็อตฟิล บอก "จัดฉาก"


         

https://www.sanook.com/news/8985902/
         
5989  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - ตำรวจดอนเมืองเตรียมกำลัง รับ “ทักษิณ” กลับไทย ช่วง 20-22 ส.ค.นี้ เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 18:29:06
ตำรวจดอนเมืองเตรียมกำลัง รับ “ทักษิณ” กลับไทย ช่วง 20-22 ส.ค.นี้
         


ตำรวจดอนเมืองเตรียมกำลัง รับ “ทักษิณ” กลับไทย ช่วง 20-22 ส.ค.นี้" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;
         

https://www.sanook.com/news/8985910/
         
5990  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - คู่ต่อสู้ไม่ใช่ศัตรู: พหุนิยมเพื่อแก้อาการประชาธิปไตยไทยหลากหลายต่ำ เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 17:58:51
คู่ต่อสู้ไม่ใช่ศัตรู: พหุนิยมเพื่อแก้อาการประชาธิปไตยไทยหลากหลายต่ำ  
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2023-08-19 16:37</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ธนัชชนม์ ธนาธิปปริพัฒน์</p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>วาทะอย่างน้อยตั้งแต่ปี 2012 : <strong>แช่แข็งประเทศไทย </strong><a href="#1">[1] [/url]สะท้อนให้เห็นถึงอำนาจที่ ยับยั้ง กีดกัน และกดทับความหลากหลาย มีประชาชนอาจเป็นนับพันชีวิตที่ได้รับผลกระทบจากปฏิบัติการกดปราบนี้ หลายคนเสียชีวิต พิการ บาดเจ็บ เป็นผู้ต้องขัง สิ้นเนื้อประดาตัว และไม่ได้รับความยุติธรรม เช่นเดียวกับที่กระบวนการแช่แข็งเพื่อยับยั้งการเติบโตของจุลินทรีย์เป็น แต่ปัจจุบัน ปี พ.ศ.2566 หรือกว่า 10 ปีต่อมา <strong>“การเมืองหลากหลายต่ำ” </strong>เป็นปรากฏการณ์จริงที่เป็นผลตามมาเนื่องด้วยอุปมานั้น ในเมื่อความหลากหลายไม่หวนคืนกลับสู่ความเป็นพหุนิยม (pluralism) ซึ่งเป็นดัชนีทางการที่ใช้ชี้วัดประชาธิปไตย เช่น การตัดสินยุบพรรคอนาคตใหม่ <a href="#2">[2][/url] การผลิตซ้ำของสื่อแบบขั้วตรงข้าม <a href="#3">[3] [/url]หรือกระทั่งวังวนของความขัดแย้งแบบผีไม่เผาเงาไม่เหยียบ (antagonism) สิ่งเหล่านี้เป็นมรดกโดยเขลาของรัฐประหาร การชุมนุมแบบรับใช้นาย และวิกฤตการณ์รัฐสภา 20 กว่าปีของประเทศไทย</p>
<p style="margin: 0cm 0cm 8pt;">การเลือกตั้ง ปี พ.ศ.2566 ปรากฏผลการเลือกตั้งที่เชื่อได้ว่า ฉันทมติของประชาชนแทงทะลุกำแพงอำนาจที่แช่แข็งประเทศไทย ปรากฏการณ์ที่พรรคก้าวไกล และพรรคเพื่อไทยในฐานะ 2 ตัวแสดง ที่ถูกกระทำย่ำยีจากขั้วตรงข้ามได้รับฉันทมติอันดับที่ 1 และ 2 ตามลำดับ ยืนยันโอกาสที่สังคมไทยจะปลดปล่อยกระบวนการทางรัฐสภาให้พ้นจากการครอบงำแบบเบ็ดเสร็จ แต่ที่กำลังวิวาทะกันอยู่คือ ขนาดของการปลดปล่อย และระดับของการหลุดพ้นจากการครอบงำ ต้องไม่ลืมว่า สภาพจริงของการเมืองไทยยังเสื่อผืนหมอนใบ ความหลากหลายทางการเมืองต่ำ หรืออาจถึงขั้นต่ำมาก ระบบและกลไกที่ออกแบบไว้ต้านทานความหลากหลายยังทำงานอยู่เข้มข้น เห็นจากคำร้องให้ยุบพรรคก้าวไกลพ่วงการวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ และอีกหลายคดีที่รอคอย พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ และพรรคก้าวไกลอยู่ แม้กระทั่งการใช้ทฤษฎีตัวประกันกับแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคเพื่อไทยด้วย ล้วนเป็นหนึ่งในขบวนการเดียวกัน <a href="#4">[4][/url]</p>
<p>การเมืองไทยไม่เคยมีปัญหาในการฉายภาพผลลัพธ์ชวนฝัน (the ends) แม้สักครั้ง เพราะแต่ละรอบในประวัติศาสตร์การเมืองไทยจะให้กำเนิด ดาวเด่น นักฝัน ไอดอล หรือแกนนำปราศรัยที่เต็มเปี่ยมวาทศิลป์ สม่ำเสมอเรื่อยมา และก็เช่นกันที่การเมืองไทยมีปัญหาทุกครั้งเกี่ยวกับวิธีการ (the means) ต่างฝ่ายก็ต่างผิดหลักการ หรือวิธีการไม่มากก็น้อย ผู้ที่ผิดต่อความเชื่อของอีกฝ่ายจะถูกขยายแผล ตีตราเป็นยักษ์มาร
เป็นผี เป็นคนชั่วหยาบของอีกฝ่าย เรื่องเหล่านี้เป็นเพียง the return of history ภายใต้สนามการเมืองหลากหลายต่ำ สะท้อนให้เห็นถึงความด้อยพัฒนาของการเมืองไทยจากต้นเหตุที่ได้กล่าวไปแล้ว โลกทัศน์ที่นักการเมืองออกท่าแบบผีไม่เผาเงาไม่เหยียบ (antagonism) แต่ก็พร้อมจะลอยนวลพ้นผิด (impunity) เป็นความด่างพร้อยสำคัญของธรรมาภิบาล (good governace) ว่าด้วยความรับผิดรับชอบ (accountability)</p>
<p>ขบวนการทางการเมืองของคนรุ่นใหม่ที่ตื่นขึ้น (woke) ภายใต้ละครการเมืองที่แสร้งว่ารบกัน (ซึ่งในปี พ.ศ.2566 เปิดเปลือยให้เห็นได้ชัดแล้วว่ามิได้เป็นเช่นนั้น) ท่ามกลางการแช่แข็งด้วยอำนาจกดปราบจนความหลากหลายต่ำ การแพร่ความเกลียดชัง (hate spreaders) ท่าทีผีไม่เผาเงาไม่เหยียบ (antagonism) ทำให้เกิดขบวนการสุดโต่งที่ไม่เสแสร้ง แต่เป็นอันตรายต่อตนเองและหลักการ เป็นต้น การกำราบอธรรมด้วยอธรรมอีกรูปแบบหนึ่ง หรือการชูแนวคิดแบบ the end justify the means เช่น ถ้าความต่ำช้าและป่าเถื่อนจำเป็นเพื่อบรรลุเป้าหมายก็ไม่ควรลังเลให้ลงมือกระทำได้ทันที ในหลายพฤติกรรมเหล่านี้ก้ำกึ่งระหว่างการผลักดันให้สังคมไทยไร้ขื่อแปกับการใช้ความรุนแรงเท่าที่จำเป็นเพื่อทวงถามหลักการประชาธิปไตยที่สูญหายในทัศนะของ Zizek อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีของทุกนักคิดไม่ใช่สัจธรรมสากล แต่สุขภาพจิตและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินต่างหากที่เป็นเรื่องจริง</p>
<p><strong>คำถามคือ ภายใต้วิธีคิดแบบเดิมๆ จะแน่ใจได้อย่างไรว่า เราจะไม่ปลดปล่อยสังคมจากปีศาจร้ายตัวเก่าไปสู่ปีศาจร้ายตัวใหม่ ซึ่งเป็นเรื่องล้าหลังมากแล้วในสังคมประชาธิปไตยแบบพหุนิยม</strong></p>
<p>ในสภาพหลากหลายต่ำเพียง 2 ขั้ว (bipolarity) สิ่งที่รัฐบาลอายุสั้นในสภาวะเปลี่ยนผ่านควรรับประกัน ได้แก่ การดำรงขันติธรรม (tolerance) และหนุนเสริมสภาพหลายขั้ว (multipolarity) เพื่อเติมเต็มพหุนิยมทางประชาธิปไตย (pluralist democracy) ตัวอย่างในปัจจุบัน เช่น พรรคไทยสร้างไทย ที่มีจุดยืนสนับสนุนประชาธิปไตยอย่างเปิดเผยแต่ไม่แก้ไข ม.112 พรรคประชาชาติที่มีแนวคิดทางการเมืองและวัฒนธรรมอีกเฉดหนึ่ง พรรคเป็นธรรมที่พยายามแสดงจุดยืนและอุดมการณ์ พรรคเพื่อไทรวมพลังที่น่าจับตาเรื่องพัฒนาการ แม้แต่ พรรคไทยภักดีที่ rebranding <a href="#5">[5][/url] หรือพรรคเล็กอื่นๆ ที่มีจังหวะและท่วงทำนองของตนเองด้วย อาทิเช่น พรรคสามัญชน พรรคเส้นด้าย พรรคเปลี่ยน พรรคเสรีรวมไทย เหล่านี้ จะเกิดขึ้นไม่ได้
ถ้ากระแสผีไม่เผาเงาไม่เหยียบ (antagonism) ยังคงรุนแรง</p>
<p><strong>เป็นหน้าที่ของทุกพรรคการเมือง และทุกตัวแสดงทางการเมือง ที่จะส่งเสริมพหุนิยมทางประชาธิปไตย เพื่อฟื้นฟูเสรีภาพทางวิชาการและความคิดเห็นทางการเมือง ที่ถูกกดปราบอย่างยาวนานกว่าสองทศวรรษ</strong></p>
<p>ฉันทมติ (consensus) หากพิจารณาจากทฤษฎีเก่า ย่อมไม่ใช่เรื่องของการตอบสนองทุกเสียงที่เสนอ แต่เป็นเรื่องของการตัดบางเสียงออก และในเมื่อมีการตัด กีดกัน ไม่สามารถประสานรวมได้จึงต้องแยกกันย่อมทำให้เกิดภาพทำนองมิตรแท้ศัตรูถาวร (friend-enemies distinction) (ดู Carl Schmitt <a href="#6">[6][/url]) และอาจพัฒนาไปถึงท่าทีผีไม่เผาเงาไม่เหยียบ (antagonism) Schmitt ตั้งแต่ปี พ.ศ.2475 ผลิตคำอธิบายนี้ ในบริบทการเรืองอำนาจของการเมืองแบบขั้วตรงข้าม และพร้อมจะละเมิดความมั่นคงร่วมกัน (collective security) ดูเหมือนว่า คำอธิบายนี้ไม่เก่าเลยสำหรับการอ่านปรากฏการณ์การเมืองไทยแม้มีคนรุ่นใหม่มาร่วมด้วยแล้ว</p>
<p>การเมืองอย่างสร้างสรรค์ในความหมายของพรรคเพื่อไทย <a href="#7">[7][/url] หรือการเมืองใหม่ในความหมายของพรรคก้าวไกล (ทั้งจาก เรื่อง identity politics หรือวิธีการสื่อสารทางการเมืองแบบใหม่ก็ตาม) ยังเดินตามความคิดเรื่อง friend-enemies distinction ของ Schmitt ตั้งแต่ปี พ.ศ.2475 ซึ่งมีผีความขัดแย้งขั้วตรงข้าม
ผีคอมมิวนิสต์ ผีอะไรจากอดีตมาหลอกหลอนหรือไม่ ปฏิเสธไม่ได้ว่าความหลากหลายทางการเมืองต่ำย่อมถีบทึ้งให้พัฒนาการทางการเมืองถดถอย แต่ถ้าตั้งต้นจะ set zero เพื่อฟื้นฟูพหุนิยมทางประชาธิปไตยหลังจากถดถอยมากว่า 20 ปี แนวคิดใหม่ๆ ที่ควรเข้ามาแทนที่ ท่าทีผีไม่เผาเงาไม่เหยียบ (antagonism)</p>
<p>อาจเป็นข้อเสนอที่น่าสนใจของ Chantal Mouffe ในงานเขียนหลายชิ้นตั้งแต่ ปี พ.ศ.2543 (ค.ศ.2000) เช่น บทความชื่อ Why the left needs a political adversary not a moral enemy (Mouffe, 2001) <a href="#8">[8][/url] หรือแปลไทยว่า ทำไมฝ่ายซ้าย (ควร) ปรารถนาคู่ต่อสู้ทางการเมืองที่ไม่ใช่ศัตรูทางศีลธรรม</p>
<p><strong>Mouffe ชี้ว่า พหุนิยมทางประชาธิปไตยควรเป็นการมองแบบ agonism หรือคู่ขัดแย้ง (struggle) มากกว่า anta-agonism ที่มีนัยยะของการต่อต้าน (anti, against) ดังนั้น ศัตรูทางการเมือง ควรเหลือเพียงคู่ต่อสู้ทางการเมือง การต่อสู้ก็ทำได้เต็มที่ หลากหลาย เสรี ตราบเท่าที่ไม่เบี่ยงเบนองศาไปสู่วิธีคิดแบบสุดโต่ง</strong></p>
<p>ดังนั้น คู่ขัดแย้ง หรือความขัดแย้ง เป็นสิ่งที่จำเป็นต้องมีเพื่อแสดงคุณลักษณะของพหุนิยม แต่ไม่ใช่ข้อความที่ว่า ความขัดแย้งเป็นปรากฏการณ์เดียวสำหรับพหุนิยม หรือทุกเรื่องกลายเป็นความขัดแย้งทั้งสิ้น เพราะจะย้อนแย้งกับพหุนิยมเอง สำหรับประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (deliberate democracy) ที่ถูกกังขาว่า จะไปด้วยกันได้กับการดำรงอยู่ของความขัดแย้งหรือไม่ สามารถยืนยันความเป็นไปได้ผ่านรัฐที่อนุญาตให้ต่อสู้กันทางความคิดอย่างหลากหลายของกลุ่มขบวนการ และได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกันในการผลัดกันครองอำนาจนำ (แบบเฉพาะส่วน) จนสามารถดำเนินนโยบายที่เป็นวาทกรรมของตนได้ ตราบเท่าที่ไม่ทำลายประโยชน์สาธารณะซึ่งประชาชนต่างเห็นพ้องต้องกันแบบสัมพัทธ์ ณ ขณะนั้น</p>
<p>ท้ายนี้ กว่า 20 ปีที่ประชาธิปไตยไทย ถดถอยสู่ความไม่หลากหลายจากที่ไม่ค่อยหลากหลายอยู่แล้ว บัดนี้ หดแคบเหลือเพียงศัตรูคู่อาฆาต แยกมิตรแยกศัตรูไม่ได้ รัฐหลุดประพฤติตนเถื่อนถ่อย ชนชั้นนำย่ามใจแสดงความไร้ขื่อแป เสรีภาพทางวิชาการถูกกดปราบ ขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองเป็นหุ่นเชิดที่ทยอยรอวันจับโกหกได้ ถ้าจะปลดปล่อยประเทศไทยสู่พหุนิยมทางประชาธิปไตย แรกสุด คือ “คู่ต่อสู้ไม่ใช่ศัตรู”</p>
<p style="margin:0cm 0cm 8pt"><strong>ตื่น (woke) จากมนต์สะกดที่เสกเป่าให้ประชาชนเห็นกันและกันเป็นศัตรู
พหุนิยม ไม่ได้ มีแต่เรื่องดีๆ ยังรวมถึง เรื่องแย่ๆ รวมถึง คนน่ารังเกียจแต่ก็ยังเป็นคน ถึงที่สุดแล้ว การยืนยันว่าคนควรถูกปฏิบัติตามหลักการขั้นต่ำ ต้องยืนยันกันเข้มข้น ความรุนแรง ความขัดแย้ง ความสุดโต่ง  เพียงอย่างเดียวไม่ใช่ พหุนิยม ไม่ใช่ประชาธิปไตย เช่นเดียวกับที่อำนาจนิยมทั้งหลายไม่ใช่ประชาธิปไตย </strong></p>
<p> </p>
<p><strong>อ้างอิง</strong></p>
<p><a id="1" name="1">[1] [/url]https://prachatai.com/journal/2012/11/43670</p>
<p><a name="2" id="2">[2][/url] https://thestandard.co/ministry-of-foreign-affairs-spokesman-dissolving-party-is-a-step-back-in-politic/</p>
<p><a name="3" id="3">[3][/url] โปรดดูใน ปกาสิต วัฒนา, ทิพรัตน์ บุบผะศิริ, พัน ฉัตรไชยยันต์ และวุฒิพล วุฒิวรพงศ์. (2563). “การเมืองยุคแบ่งขั้วกับการปฏิบัติการข่าวสารบนสื่อโซเชียลมีเดีย ในช่วง พ.ศ.2557-2562”. วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์, ปีที่ 3, ฉบับที่ 3, หน้า 68-106.</p>
<p><a name="4" id="4">[4][/url] https://www.dailynews.co.th/news/2620102/</p>
<p><a name="5" id="5">[5][/url] https://thestandard.co/thai-pakdee-party-rebranding/</p>
<p><a name="6" id="6">[6][/url] ดูแนวคิดของ Schmitt ในหนังสือ The Concept of the Political (ปี 1932 : 2475)</p>
<p><a name="7" id="7">[7][/url] แถลงการณ์พรรคเพื่อไทย วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ.2566</p>
<p><a name="8" id="8">[8][/url] https://transversal.at/transversal/0401/mouffe/en</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">บทควhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/08/105529
 
5991  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - “จตุพร” ไม่เชื่อ “ทักษิณ” กลับไทย 22 ส.ค. คาดเป็นเกมหวังผลโหวตนายกฯ สุดท้ายตำแหน่ง เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 17:19:36
“จตุพร” ไม่เชื่อ “ทักษิณ” กลับไทย 22 ส.ค. คาดเป็นเกมหวังผลโหวตนายกฯ สุดท้ายตำแหน่งเป็นของ “บิ้กป้อม”
         


“จตุพร” ไม่เชื่อ “ทักษิณ” กลับไทย 22 ส.ค. คาดเป็นเกมหวังผลโหวตนายกฯ สุดท้ายตำแหน่งเป็นของ “บิ้กป้อม”" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;
         

https://www.sanook.com/news/8985886/
         
5992  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - 'ชาติไทยพัฒนา' พร้อมโหวตนายกเพื่อไทย - 'เพื่อไทย' เชื่อพรรคร่วมรัฐบาลเยอะ เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 16:27:31
'ชาติไทยพัฒนา' พร้อมโหวตนายกเพื่อไทย - 'เพื่อไทย' เชื่อพรรคร่วมรัฐบาลเยอะไม่เป็นปัญหา
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2023-08-19 16:07</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>พรรคชาติไทยพัฒนา ลั่นลงเรือลำเดียวกันแล้ว 22 ส.ค.นี้ พร้อมโหวตเลือกนายกแคนดิเดตจากเพื่อไทย เลขาธิการพรรคเพื่อไทย ระบุไม่เกิน 21 ส.ค.นี้ ชัดรูปร่าง ครม. ก่อนแถลงร่วมกัน เชื่อพรรคร่วมรัฐบาลเยอะไม่เป็นปัญหา - เลขาธิการ รทสช. โพสต์เหตุผลร่วมรัฐบาลเพื่อไทย พยายามตัดสินใจบนทุกความเป็นไปได้แล้ว ขอโอกาสถอยความรู้สึกขัดแย้งส่วนตัว ยุติสงครามสีเสื้อ ให้ประเทศเดินหน้าต่อได้</p>
<p>19 ส.ค. 2566 ที่วัดปราสาททอง อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หัวหน้าพรรคชาติไทยพัฒนา เป็นประธานพิธีบำเพ็ญกุศล 91 ปี ชาตกาลนายบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 โดยมี น.ส.กัญจนา ศิลปอาชา ประธานที่ปรึกษาหัวหน้าพรรค นายประภัตร โพธสุธน สส.สุพรรณบุรี และเลขาธิการพรรค นายอนุชา สะสมทรัพย์ สส.นครปฐม นายธีระ วงศ์สมุทร ที่ปรึกษาพรรค นายอนุรักษ์ จุรีมาศ สส.ร้อยเอ็ด นายนิกร จำนง ผอ.พรรค นายสรชัด สุจิตต์ สส.สุพรรณบุรี นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ สส.สุพรรณบุรี นายเสมอกัน เที่ยงธรรม สส.สุพรรณบุรี และโฆษกพรรค นายกนก วงษ์ตระหง่าน นายสันติ กีระนันทน์ นายยุทธพล อังกินันทน์ นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ รองหัวหน้าพรรค นายอุดม โปร่งฟ้า กรรมการบริหารพรรค น.ส.อรุณี ปริศนานันทกุล กรรมการด้านวิชาการ พรรค ชทพ. และนายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล อดีต รมว.ศึกษาธิการ นายภราดร ปริศนานันทกุล สส.อ่างทอง พรรคภูมิใจไทย</p>
<p>น.ส.กัญจนา กล่าวว่า หากวันนี้นายบรรหารยังอยู่มีอายุครบ 91 ปี เราได้มาสืบสานงานนายบรรหารด้วยการมอบทุนการศึกษาให้กับเด็กๆ หลายโรงเรียนใน จ.สุพรรณบุรี</p>
<p>นายวราวุธ กล่าวว่า คนที่เคยทำงานกับนายบรรหารมาปีหนึ่งจะมาทำบุญเพื่อรำลึกถึงนายบรรหาร นึกถึงสิ่งดีๆ ที่นายบรรหารได้ฝากไว้กับแผ่นดินไทยและชาว จ.สุพรรณบุรี โดยเฉพาะเรื่องรัฐธรรมนูญปี 40 ถือเป็นมรดกชิ้นสำคัญที่นายบรรหารได้ให้ไว้กับการเมืองไทย และเชื่อว่าแบบอย่างหนึ่งในแกนที่จะร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นมา โดยรับฟังเสียงของประชาชน เพื่อให้เป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนอย่างแท้จริง</p>
<p>เมื่อถามว่าได้คุยกับพรรคเพื่อไทยแล้วใช่หรือไม่ว่าเมื่อตั้งคณะรัฐมนตรีได้ให้เริ่มแก้รัฐธรรมนูญ นายวราวุธ กล่าวว่า ให้เกียรติทางพรรคเพื่อไทยในการดำเนินการว่าจะทำในลักษณะอย่างไร เมื่อครั้งหาเสียงเลือกตั้งทุกพรรคการเมืองได้พูดทำนองเดียวกันในแนวทางที่จะดำเนินการแก้ไข</p>
<p>ผู้สื่อข่าวถามถึงท่าทีของพรรคชาติไทยพัฒนาในการโหวตเลือกนายกรัฐมนตรี นายวราวุธ กล่าวว่า การโหวตถือเป็นเอกสิทธิ์ของ สส. ไม่สามารถเป็นมติพรรคได้ จากการที่ได้พูดคุยกับพรรคเพื่อไทยในช่วงหลายสัปดาห์ที่ผ่านมาที่เราเห็นพ้องต้องกันว่าทำงานร่วมกัน พรรคชาติไทยพัฒนา 10 เสียง จะสนับสนุนแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีจากพรรคเพื่อไทย ขณะนี้มีความมั่นใจว่าเสียงสนับสนุนจากพรรคร่วมรัฐบาลหลายพรรคนั้นเพียงพอตามที่พรรคเพื่อไทยได้ให้ข่าวไว้ จับมือกันแล้ว ลงเรือลำเดียวกันแล้ว ต้องไปในทางที่เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติและประชาชน</p>
<p>เมื่อถามถึงกรณีที่นายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี จะเดินทางกลับประเทศไทยในวันที่ 22 สิงหาคมนี้ ซึ่งตรงกับวันโหวตเลือกนายกรัฐมนตรีพอดี มองอย่างไร นายวราวุธ กล่าวว่า ถือเป็นเรื่องส่วนตัวของนายทักษิณ อย่างไรก็ตาม ในวันที่ 22 สิงหาคมนั้น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรก็มีภารกิจที่สำคัญ</p>
<p>ผู้สื่อข่าวถามว่าจนถึงขณะนี้หลายฝ่ายยังติดใจในคุณสมบัติของนายเศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคเพื่อไทย ในส่วนของพรรคชาติไทยพัฒนาเห็นอย่างไร นายวราวุธ กล่าวว่า แน่นอนว่าคนเราทุกคนมีด้านบวกและด้านด้อย แต่คิดว่าพรรคเพื่อไทยเป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ มีบุคลากรที่มีศักยภาพมากมาย กว่าจะได้แคนดิเดตมานั้นเชื่อว่าพรรคเพื่อไทยคัดสรร คัดเลือกมาแล้ว ดังนั้น พรรคร่วมให้เกียรติพรรคใหญ่ในการที่เสนอชื่อ และเราจะสนับสนุน</p>
<p>ผู้สื่อข่าวถามว่าสำหรับโผ ครม. ล่าสุด ดูเหมือนชาติไทยพัฒนาได้ดูแลกระทรวงเดิม นายวราวุธ กล่าวว่า นั่นก็เป็นโผ แต่เรายังไม่ได้มีการพูดคุยกันในเรื่องนี้</p>
<h2><span style="color:#3498db;">'เพื่อไทย' เชื่อพรรคร่วมรัฐบาลเยอะไม่เป็นปัญหา</span></h2>
<p>นายประเสริฐ จันทรรวงทอง เลขาธิการพรรคเพื่อไทย กล่าวถึงความคืบหน้าในการจัดตั้งรัฐบาลและการหารือตำแหน่งคณะรัฐมนตรีว่า ขณะนี้ยังไม่ได้กำหนดวันที่แน่นอนว่าจะมีการพูดคุยกันเมื่อไร แต่อย่างช้าไม่เกินวันจันทร์ที่ 21 ส.ค. นี้ และจะต้องมีการแถลงข่าวร่วมกัน ซึ่งสัดส่วนจะอยู่ที่จำนวน สส. 9 คนต่อ 1 เก้าอี้รัฐมนตรี การพูดคุยกันในรายละเอียดโดยรวมการตกลงเป็นไปได้ด้วยดี เชื่อว่าไม่เกิดแรงกระเพื่อม</p>
<p>ส่วนที่หลายคนมองว่ารัฐบาลพรรคเพื่อไทยมีพรรคร่วมรัฐบาลจำนวนมากจะก่อให้เกิดปัญหาหรือไม่ นายประเสริฐ มั่นใจว่าไม่เป็นปัญหา เพราะเป็นไปตามสัดส่วนจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร</p>
<h2><span style="color:#3498db;">'ภูมิธรรม' ยังมั่นใจ 'เพื่อไทย' ได้ 375 เสียง โหวตนายกฯ ไม่มีปัญหา</span></h2>
<p>นายภูมิธรรม เวชยชัย รองหัวหน้าพรรคเพื่อไทย ให้สัมภาษณ์ถึงความชัดเจนกรณี น.ส.แพทองธาร ชินวัตร แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีพรรคเพื่อไทย โพสต์ข้อความระบุว่าจะเดินทางไปรับนายทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี ที่สนามบินดอนเมือง ในวันที่ 22 สิงหาคม เวลา 09.00 น. ว่าเป็นเรื่องของครอบครัว ให้ครอบครัวเขาตัดสินใจ ไม่เกี่ยวกับพรรคเพื่อไทยเลย เรื่องนี้ควรไปถาม น.ส.แพทองธาร</p>
<p>ผู้สื่อข่าวถามถึงความคืบหน้าในการจัดตั้งรัฐบาล นายภูมิธรรม กล่าวว่า ขณะนี้กำลังดำเนินการ ไม่น่ามีปัญหาอะไร ยังมั่นใจมาตลอดว่าจะได้เสียงโหวตถึง 375 เสียง ไม่มีอะไรไขว้เขว</p>
<p>เมื่อถามถึงกระแสข่าวโผเก้าอี้รัฐมนตรีที่ปรากฏบนโซเชียลมีเดีย นายภูมิธรรม กล่าวว่า ไม่ทราบเลย เป็นข่าวโคมลอย ไม่มีอะไรหลุด ตอนนี้ยังไม่มีอะไรคืบหน้า</p>
<p>เมื่อถามว่ามีการเทียบเชิญพรรคพลังประชารัฐ ร่วมรัฐบาลแล้วหรือยัง นายภูมิธรรม กล่าวว่า คุยกันมาต่อเนื่องอย่างที่ตนได้เคยรายงานไป</p>
<h2><span style="color:#3498db;">'นพดล' มั่นใจโหวต 'เศรษฐา' ราบรื่น ไร้ข้อกังขาเรื่องจริยธรรม</span></h2>
<p>นายนพดล ปัทมะ สส.บัญชีรายชื่อ พรรคเพื่อไทย กล่าวถึงการโหวตนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 22 ส.ค. นี้ ว่าเชื่อและหวังว่านายเศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคเพื่อไทย จะได้เสียงสนับสนุนเกิน 375 เสียง เนื่องจากการรวบรวมเสียงของ สส. ได้จำนวนเกิน 300 เสียง และเชื่อว่าจะมีเสียงจาก สว. เติมให้จนถึงเกณท์ที่กำหนดโดยรัฐธรรมนูญ เนื่องจากประชาชนต้องการให้มีรัฐบาลใหม่เข้าทำงานแก้ปัญหาและขับเคลื่อนประเทศโดยเร็ว</p>
<p>ส่วนข้อกล่าวหาของนายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์ ที่กล่าวหานายเศรษฐา เรื่องที่ดิน 2 แปลง คือ ที่ดินแปลงถนนสารสิน และที่ดินแปลงซอยทองหล่อ จะกระทบการโหวตในสภาฯ หรือไม่ นายนพดล กล่าวว่า คำชี้แจงของแสนสิริและนายเศรษฐา ประกอบกับข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์ แสดงให้เห็นว่าข้อกล่าวหาของนายชูวิทย์ไม่มีมูล เลื่อนลอย และสามารถชี้แจงได้ทุกประเด็น คนกล่าวหาเสนอเรื่องให้ดูซับซ้อน เหมือนมีอะไรไม่ชอบมาพากล แต่จริงๆ แล้วไม่มีอะไรในกอไผ่ ที่ดินแปลงถนนสารสินเป็นเรื่องการวางแผนภาษีตามกฎหมายของฝ่ายผู้ขายที่เกิดขึ้นหลายเดือน ก่อนโอนที่ดินให้แสนสิริซึ่งเป็นฝ่ายผู้ซื้อ และแสนสิริไม่ได้เกี่ยวข้องในการดำเนินการได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ที่ดินของฝ่ายผู้ขาย แล้วจะมาเกี่ยวกับนายเศรษฐาตรงไหน ส่วนที่ดินแปลงซอยทองหล่อนั้น แสนสิริซื้อที่ดินมาทำคอนโดฯ ในราคาตลาดที่เหมาะสม จากบริษัทผู้ขาย ส่วนผู้ถือหุ้นในบริษัทผู้ขายจะเป็นใคร มีอาชีพอะไร ไม่ใช่เรื่องของแสนสิริ และบุคคลเหล่านั้นไม่ใช่นอมินีของแสนสิริซึ่งเป็นฝ่ายผู้ซื้อ จะเป็นไปได้อย่างไรที่ผู้ถือหุ้นในบริษัทผู้ขายจะเป็นนอมินีของแสนสิริซึ่งเป็นผู้ซื้อ ขัดสามัญสำนึกโดยแท้</p>
<p>“เชื่อว่าสมาชิกรัฐสภาที่จะเป็นผู้โหวตนายกฯ ในวันที่ 22 ส.ค. มีวุฒิภาวะและสามารถแยกแยะข้อกล่าวหาที่ไม่มีมูลและเลื่อนลอย กับความจริงได้ ตนเชื่อในวิจารณญาณของทุกท่าน และการลงมติในสภาฯ จะดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย เนื่องจากนายเศรษฐาไร้ข้อกังขาเรื่องจริยธรรม” นายนพดล ระบุ</p>
<h2><span style="color:#3498db;">เลขาธิการ รทสช. โพสต์เหตุผลร่วมรัฐบาลเพื่อไทย พยายามตัดสินใจบนทุกความเป็นไปได้แล้ว</span></h2>
<p>เอกนัฏ พร้อมพันธุ์ เลขาธิการพรรครวมไทยสร้างชาติ โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว เอกนัฏ พร้อมพันธุ์ (ขิง) ระบุ "รวมไทยสร้างชาติ" ตัดสินใจไม่ง่าย เข้าร่วม "รัฐบาลเพื่อไทย" รับไม่สามารถลบอดีตที่เคยบาดหมางกับสมาชิกพรรคเพื่อไทยได้ แต่เมื่อประเทศมาถึงจุดเปลี่ยน จึงจำเป็นต้องจับมือร่วมกัน </p>
<p>ถึงสมาชิกและผู้สนับสนุนพรรครวมไทยสร้างชาติทุกท่านครับ</p>
<p>ก่อนอื่น ผมขอขอบคุณทุกๆกำลังใจ ขอบคุณทุกๆความคิดเห็น ทุกเสียงสะท้อน ทั้งที่เข้าใจ คาใจ หรือกังวลใจ ผมขอน้อมรับฟัง ทุกคำติชม คำแนะนำ หรือแม้แต่การระบายออก จากใจของทุกท่านครับ</p>
<p>ยอมรับว่าการตัดสินใจที่จะร่วมทำงานเป็นรัฐบาล เป็นการตัดสินใจที่ไม่ง่ายเลยครับ</p>
<p>ด้วยผลเลือกตั้งที่ออกมา พรรคฯมีจำนวน ส.ส.ในสภา 36 ที่นั่ง ต้องคิดไตร่ตรองช่างน้ำหนักผลลัพธ์ของทางเลือกต่างๆ อย่างละเอียด เพื่อตัดสินใจเลือกทางที่ดีที่สุด "บนความเป็นไปได้"</p>
<p>วันนี้ประเทศไทยเดินมาถึงจุดเปลี่ยนสำคัญ ความพยายามที่จะเคลื่อนไหวแก้กฏหมายอาญามาตรา 112 ถึงขั้นนำมาบรรจุเป็นวาระสำคัญของพรรคการเมืองใหญ่ในสภา ถือเป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นในการเมืองไทย หากไม่ระงับยับยั้ง จะบานปลายเป็นชนวนไปสู้ความขัดแย้งระลอกใหม่ในสังคมไทย</p>
<p>การแก้ไขปัญหาของประชาชนนั้นรอไม่ได้ และการเดินหน้าทำงานร่วมกันเป็นรัฐบาล ก็มีเงื่อนไขอยู่บนหลักการที่พรรคฯ ยึดมั่น เป็นไปตามแนวทางที่เคยได้ประกาศไว้</p>
<p>จุดยืนเรื่อง ม.112 ถือเป็นเงื่อนไขสำคัญ และเมื่อพรรคเพื่อไทยได้ประกาศชัดว่าจะไม่แก้ ม.112 และจะไม่ร่วมกับพรรคที่ประกาศแก้ ม.112 เป็นอันขาด ก็ต้องนับว่าพรรคเพื่อไทยเป็นแนวร่วมสำคัญ ที่จะต้องรวมกันปักหลัก สู้กันต่อไปในเรื่องนี้</p>
<p>ส่วนเรื่องการแก้รัฐธรรมนูญ สำหรับพรรครวมไทยสร้างชาติ จะต้องไม่แตะ หมวด 1 หมวด 2 ส่วนการแก้ไขในประเด็นอื่นๆนั้น ไม่ได้มีข้อตกลงที่ผูกมัดว่าเราจะต้องร่วมด้วย การแก้ไขรายมาตรายังเป็นเอกสิทธิของเรา ซึ่งจะร่วมมือแก้ก็เฉพาะส่วนที่ไม่สร้างปัญหาและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมเท่านั้น</p>
<p>และหากมีการผลักดันการแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ ยังไงก็หนีไม่พ้นการทำประชามติ ที่จะต้องถามความเห็นคนไทยทั้งประเทศ ไม่เกี่ยวกับการร่วมหรือไม่ร่วมรัฐบาล</p>
<p>ส่วนเรื่องตำแหน่งหรือโควต้ารัฐมนตรีนั้น ไม่มีความสำคัญเท่ากับหลักการที่ระบุไว้ก่อนหน้านี้ครับ</p>
<p>โดยเฉพาะตัวผมเอง ที่ได้ประกาศชัดเจนไปแล้วว่า ติดคดี ซึ่งอาจจะทำให้ขาดคุณสมบัติการเป็นรัฐมนตรี ถึงแม้ไม่มีบรรทัดฐานในเรื่องนี้ แต่ก็ขอไม่รับตำแหน่งเพื่อให้ไม่ต้องมีปัญหาในการตีความ ให้รัฐบาลใหม่ได้เดินหน้าทันที</p>
<p>มองอีกมุม รทสช.จะเป็นหลักประกันให้รัฐบาลเดินหน้าทำงานเพื่อส่วนรวมอย่างสุจริตโปร่งใส ไม่แก้กฏหมายอาญามาตรา 112 ไม่แก้รัฐธรรมนูญในหมวด 1 หมวด 2 และในส่วนที่ดีอยู่แล้ว</p>
<p>ทั้งหมดนี้ คงหนีไม่พ้นประเด็นปัญหาระหว่างคนในพรรคเพื่อไทยและตัวผมเองในอดีต ซึ่งผมไม่สามารถไปลบอดีต หรือลืมประวัติศาสตร์ได้ แต่ก็มีสิทธิที่จะ "เลือก"</p>
<p>ผมขอเลือกที่จะให้โอกาส เลือกที่จะถอยความรู้สึกขัดแย้งส่วนตัว เพื่อให้การรวมกันถือเป็นสัญญาณการยุติสงครามระหว่างสีเสื้อ เพื่อให้ประเทศเดินไปข้างหน้าด้วยความปรองดองสมานฉันท์ ตามปณิธานของพรรค “รวมไทย”สร้างชาติครับ
#พรรครวมไทยสร้างชาติ #รวมไทยสร้างชาติ #เลขาขิง #จัดตั้งรัฐบาล</p>
<p> </p>
<p><span style="color:#3498db;">ที่มาเรียบเรียงจาก: สำนักข่าวไทย </span><span style="color:#3498db;">[1]</span><span style="color:#3498db;"> </span><span style="color:#3498db;">[2]</span><span style="color:#3498db;"> </span><span style="color:#3498db;">[3]</span><span style="color:#3498db;"> | </span><span style="color:#3498db;">Thai PBS</span></p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ข่
5993  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - รักเราไม่เก่าเลย 5 คู่รักรุ่นใหญ่ จับมือเคียงข้าง หวานเสมอต้นเสมอปลาย เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 15:58:40
รักเราไม่เก่าเลย 5 คู่รักรุ่นใหญ่ จับมือเคียงข้าง หวานเสมอต้นเสมอปลาย
         


รักเราไม่เก่าเลย 5 คู่รักรุ่นใหญ่ จับมือเคียงข้าง หวานเสมอต้นเสมอปลาย" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;หวานมาก 5 คู่รักรุ่นใหญ่ จับมือเคียงข้าง ครองคู่ยาวนาน... รักแท้มีอยู่จริง
         

https://www.sanook.com/news/8785874/
         
5994  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - 'ปดิพัทธ์' แจงใช้งบตำแหน่งรองประธานสภาฯ เลี้ยงหมูกะทะแม่บ้านสภา 370 คน เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 14:57:24
'ปดิพัทธ์' แจงใช้งบตำแหน่งรองประธานสภาฯ เลี้ยงหมูกะทะแม่บ้านสภา 370 คน
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2023-08-19 14:20</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>'ปดิพัทธ์' แจงใช้งบในตำแหน่งรองประธานสภาฯ ปีละ 2 ล้านเลี้ยงบุฟเฟ่ต์หมูกระทะ แม่บ้านสภา 370 คน บอกอยากขอบคุณคนที่ทำงานให้ ปัดหาพวกในสภา 'ศรีสุวรรณ' ถามถือเป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือไม่ เตรียมยื่นคำร้องต่อ ปปช. ขอให้ไต่สวน</p>
<p>19 ส.ค. 2566 Thai PBS รายงานว่ากรณีนายปดิพัทธ์ สันติภาดา รองประธานประธานสภาคนที่ 1 จัดเลี้ยงหมูกระทะแม่บ้านสภา 370 คนในราคาหัวละ269 บาท ที่ร้านหมูกระทะแห่งหนึ่งย่านบางโพ จนเกิดกระแสดรามาในโลกออนไลน์ #หมออ๋อง ในทวิตเตอร์</p>
<p>เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นเมื่อเย็นวานนี้ (18 ส.ค.2566) โดยแม่บ้านทุกคน จะได้รับคูปอง เขียนว่า Gift Voucher และมีชื่อของ นายปดิพัทธ์ พิมพ์กำกับไว้ในคูปองด้วย เพื่อนำมาแสดงก่อนเข้าร้านด้วย จากการสอบถามแม่บ้านสภาที่มาได้ระบุว่าได้รับแจกคูปองเมื่อช่วงเย็นก่อนจะเดินทางมา </p>
<p>นายปดิพัทธ์ กล่าวว่า หลังจากที่มีการตั้งคณะอนุกรรมาธิการเกี่ยวข้องกับการดูแลสวัสดิการเจ้าหน้าที่ ประชาชน และสื่อมวลชน เห็นว่ากลุ่มคนที่ถูกลืมมากที่สุดคือแม่บ้าน ซึ่งมีแม่บ้านเฉพาะฝั่งสส. 370 คน มีทั้งแบบจ้างเหมา ประจำ และอัตราจ้าง พูดคุยกันและแทนที่จะนั่งประชุมพูดคุยกันเครียดๆ ก็เปลี่ยนมานั่งกินหมูกระทะดีกว่า รวมถึงหลายคนที่หมดสัญญาจ้างด้วย จะได้มาพูดคุยหารือ</p>
<p>เมื่อถามว่าประเด็นที่จะหารือแลกเปลี่ยนกับกลุ่มแม่บ้านในวันนี้ นายปดิพัทธ์ กล่าวว่า คงจะเป็นบรรยากาศที่สบายๆ เขาอยากเล่าอะไรก็เล่า และเราจะได้รู้จักด้วยว่ากลุ่มแม่บ้านในสภามีกี่กลุ่ม</p>
<p>ส่วนจะเป็นการเลี้ยงแม่บ้านนอกสถานที่ครั้งแรกหรือไม่นั้น ไม่แน่ใจ เพราะไม่ได้คิดอะไรเยอะ และไม่ได้มีการหารือกับใครก่อน เพราะเป็นงานของรองประธานสภาอยู่แล้ว และงบประมาณที่ใช้ก็เป็นงบรับรองที่เขาจัดสัดส่วนให้รองประธานสภา ซึ่งส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ใช้อะไรนอกจากใช้รับรองแขก ในการพาไปกินข้าวหรือที่ต่างๆ โดยกลุ่มแม่บ้านชุดนี้ก็เป็นแขกของตนเช่นกัน</p>
<p>ผู้สื่อข่าวถามว่ามีการตั้งคำถามว่า เป็นเหมือนการหาพวกในสภาหรือไม่ นายปดิพัทธ์ หัวเราะ พร้อมกล่าวว่า</p>
<p>"อย่าคิดเยอะ ไม่อย่างนั้นทำไมนักการเมือง ไปกินข้าวกับคนนั้นคนนี้ ไม่ใช่การหาพวกหรือเขาก็คือประชาชน หากจะบอกว่าสภาเป็นของประชาชน"</p>
<p>พร้อมระบุว่า ประชาชนที่เราต้องไม่ลืมก็คือประชาชนที่ทำงานให้กับเรา ให้สภามันสะอาด ใหญ่ขนาดนี้ใครถูพื้น น้ำท่วมแล้วใครถู เพราะฉะนั้นคนบริการเรา เราต้องมีโอกาสที่จะขอบคุณเขา และฟังเสียงพวกเขาด้วย</p>
<p>เมื่อถามย้ำเรื่องของการนำงบประมาณที่นำมาใช้ในการเลี้ยงหมูกระทะแม่บ้าน นายปดิพัทธ์ ยืนยันว่า ไม่มีงบส่วนตัว เป็นงบของรองประธานสภาคนที่ 1  ซึ่งในหนึ่งปี คาดว่ามีงบ 2 ล้านบาท คงใช้ไม่หมด และไม่ทราบว่าในสมัยที่ผ่านมามีการใช้งบส่วนนี้เลี้ยงรับรองใครอย่างไร</p>
<p>เมื่อถามอีกว่า เป็นการใช้ดุลยพินิจของรองประธานสภาคนที่ 1 ใช่หรือไม่ นายปดิพัทธ์ ตอบว่า ใช่ งบรับรองไม่ได้มีแค่ตำแหน่งของตน เพราะตำแหน่งข้าราชการส่วนใหญ่ก็มี ศาลก็คงมี แต่พวกเราอาจจะไม่เคยรู้ ซึ่งหากอยากรู้ ก็เตรียมตัวพบกับงบประมาณโปร่งใสที่จะสามารถไปเปิดดูงบประมาณในการรับรองของข้าราชการระดับสูงใช้ไปเพื่ออะไรบ้าง</p>
<p>สำหรับแม่บ้านของสภาที่เดินทางมาในสันนี้ เป็นเพียงแม่บ้านที่ทำงานเฉพาะฝั่งของ สส.เท่านั้น ซึ่งภายในร้าน นายปดิพัทธ์ ก็ได้เดินทักทาย แม่บ้านสภาที่มารับประทานหมูกระทะอย่างเป็นกันเอง</p>
<h2><span style="color:#3498db;">'ศรีสุวรรณ' ถามถือเป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือไม่</span></h2>
<p style="text-align: center;">
<iframe allow="autoplay; clipboard-write; encrypted-media; picture-in-picture; web-share" allowfullscreen="true" frameborder="0" height="534" scrolling="no" src="https://www.facebook.com/plugins/post.php?href=https%3A%2F%2Fwww.facebook.com%2Fpermalink.php%3Fstory_fbid%3Dpfbid02Uh91eAkTbyqfrxuNvRoJtBwJwYPL9PHUcN7ce8UExKAh1XMaAgzMqynTygJTUTT1l%26id%3D100044326334588&amp;show_text=true&amp;width=500" style="border:none;overflow:hidden" width="500"></iframe></p>
<p>ด้านนายศรีสุวรรณ จรรยา โพสต์เฟซบุ๊ก ระบุว่าใช้งบรับรองแขก เลี้ยงหมูกระทะแม่บ้านสภา จากเงินภาษีของประชาชน เพื่อหน้าตาของตนเอง ถือเป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์หรือไม่</p>
<p>โดยในวันที่ 21 ส.ค. 2566 เวลา 10.00 น. องค์กรรักชาติ รักแผ่นดิน จะไปยื่นคำร้องต่อ ปปช. ขอให้ไต่สวน ตรวจสอบ วินิจฉัยว่าเข้าข่ายฝ่าฝืนจริยธรรมอย่างร้ายแรง ตามที่รัฐธรรมนูญ 2560 บัญญัติห้ามไว้ หรือไม่ เพราะกระทำการที่อาจขัด รธน.เกี่ยวกับผลประโยชน์ขัดกัน ประกอบมาตรฐานจริยธรรมฯ</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ข่https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/08/105527
 
5995  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - ส่องชีวิตสุดปัง ซุปตาร์กับหวานใจ อภิมหารวย เห็นแล้วยังต้องแอบอิจฉา เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 13:27:40
ส่องชีวิตสุดปัง ซุปตาร์กับหวานใจ อภิมหารวย เห็นแล้วยังต้องแอบอิจฉา
         


ส่องชีวิตสุดปัง ซุปตาร์กับหวานใจ อภิมหารวย เห็นแล้วยังต้องแอบอิจฉา" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;ซุปตาร์กับหวานใจ ส่องชีวิตดี๊ดี เห็นแล้วยังแอบอิจฉาเลย
         

https://www.sanook.com/news/8808314/
         
5996  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - ประกาศผลรางวัลชนะเลิศวรรณกรรมพานแว่นฟ้า 2566 เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 13:25:57
ประกาศผลรางวัลชนะเลิศวรรณกรรมพานแว่นฟ้า 2566
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2023-08-19 12:19</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>เรื่องสั้น "การปรากฎตัวของเงาดำข้างศาลเจ้า" และ บทกวี "เฮือกสุดท้ายของบทผญา" คว้ารางวัลชนะเลิศ วรรณกรรมพานแว่นฟ้าประจำปี 2566 เตรียมจัดพิธีมอบรางวัล ก.ย. นี้ </p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53126829983_b7ff7f2d17_o_d.jpg" /></p>
<p>เว็บไซต์สถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์รัฐสภา รายงานเมื่อวันที่ 16 ส.ค. 2566 ที่ผ่านมาว่านางพรพิศ เพชรเจริญ เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และประธานกรรมการรางวัลพานแว่นฟ้า ปี 2566 พร้อมด้วย นางสาวโสมอุษา บูรณะเหตุ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานกรรมการรางวัลพานแว่นฟ้า ปี 2566 นายสกุล บุณยทัต อดีตนายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย นางชมัยภร บางคมบาง ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ปี 2557 และกรรมการรางวัลพานแว่นฟ้า ปี 2566 ร่วมแถลงข่าวผลการตัดสินวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี 2566 ว่า สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร โดยคณะกรรมการรางวัลพานแว่นฟ้า ปี 2566 ได้ดำเนินการจัดประกวดวรรณกรรมรางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี 2566 ประเภทเรื่องสั้นและบทกวี เพื่อส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย โดยเปิดรับผลงานเข้าประกวดฯ ตั้งแต่เมื่อวันที่ 1 ก.พ. ถึง 9 เม.ย. 2566 ซึ่งปีนี้มีผลงานส่งเข้าประกวดทั้งสิ้น จำนวน 821 ผลงาน แบ่งเป็นประเภทเรื่องสั้น จำนวน 320 ผลงาน และบทกวี จำนวน 501 ผลงาน การพิจารณาแบ่งเป็น 3 รอบ ได้แก่ รอบแรก โดยอนุกรรมการกลั่นกรอง รอบที่ 2 โดยคณะอนุกรรมการคัดเลือก และตัดสินรอบสุดท้าย โดยคณะกรรมการรางวัลพานแว่นฟ้า</p>
<p>โดยผลการตัดสิน ประเภทเรื่องสั้น รางวัลชนะเลิศ คือผลงานเรื่อง การปรากฎตัวของเงาดำข้างศาลเจ้า โดย คิรากร คัมคุณ ได้รับโล่รางวัลพานแว่นฟ้า เกียรติบัตรของประธานรัฐสภา และเงินรางวัล 60,000 บาท ส่วนรางวัลรองชนะเลิศ มี 2 รางวัล ได้แก่ ผลงานเรื่อง ฝนพฤษภา โดย รตี รติธรณ และผลงานเรื่อง พัง พัง โดย ฮีม พารา พิพัฒน์ ได้รับโล่รางวัลพานแว่นฟ้า เกียรติบัตรของประธานรัฐสภา และเงินรางวัล รางวัลละ 40,000 บาท ด้านรางวัลชมเชย มี 10 รางวัล ได้รับเกียรติบัตรของประธานรัฐสภา และเงินรางวัล รางวัลละ 20,000 บาท </p>
<p>ขณะที่ผลการตัดสิน ประเภทบทกวี รางวัลชนะเลิศ คือ ผลงานเรื่อง เฮือกสุดท้ายของบทผญา โดย องอาจ สิงห์สุวรรณ ได้รับโล่รางวัลพานแว่นฟ้า เกียรติบัตรของประธานรัฐสภา และเงินรางวัล 60,000 บาท ส่วนรางวัลรองชนะเลิศ มี 2 รางวัล ได้แก่ ผลงานเรื่อง ไม้แขวนเสื้อ และผลงานเรื่อง อัตตาอวตาร โดย สงกาสังข์ ได้รับโล่รางวัลพานแว่นฟ้า เกียรติบัตรของประธานรัฐสภา และเงินรางวัล รางวัลละ 40,000 บาท ด้านรางวัลชมเชย มี 10 รางวัล ได้รับเกียรติบัตรของประธานรัฐสภา และเงินรางวัล รางวัลละ 20,000 บาท </p>
<p>ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ จะจัดพิธีมอบรางวัลพานแว่นฟ้า ประจำปี 2566 ในช่วงเดือน ก.ย. 2566 จึงขอเชิญชวนผู้สนใจติตตามข่าวสารการจัดงานพิธีมอบรางวัลทางเพจ Facebook รางวัลพานแว่นฟ้า หรือติดต่อสอบถามได้ที่กลุ่มงานเผยแพร่ประชาธิปไตยฯ สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร โทร. 02-242- 5900 ต่อ 5491-2 ในวันและเวลาราชการ</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ขhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/08/105524
 
5997  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - อะไรที่ทำให้หลายประเทศแบนภาพยนตร์ที่เป็นกระแสอย่าง 'บาร์บี้' เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 11:55:19
อะไรที่ทำให้หลายประเทศแบนภาพยนตร์ที่เป็นกระแสอย่าง 'บาร์บี้'
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sat, 2023-08-19 11:53</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>ปฏิเสธไม่ได้ว่า 'บาร์บี' เป็นภาพยนตร์ที่ครองใจคนดูและกวาดรายได้อย่างมโหฬาร 1,000 ล้านดอลลาร์ฯ ภายในไม่กี่สัปดาห์ กลายเป็นการเย้ยกลุ่มฝ่ายขวาอเมริกันที่ตีอกชกหัวไม่ชอบใจว่าเรื่องบาร์บีเป็นพวก "อุดมการณ์แบบ woke" ที่สนับสนุนคนข้ามเพศ แต่ทว่าในประเทศอื่นๆ นอกจากสหรัฐฯ ดูเหมือนจะมีกระแสต่อต้านบาร์บีมาจากภาครัฐเอง ด้วยหลายสาเหตุ</p>
<p><img alt="" src="https://live.staticflickr.com/65535/53125721972_ae815a425a_o_d.png" /></p>
<p>คูเวต และ เลบานอน เป็นสองประเทศล่าสุดที่ประกาศแบนภาพยนตร์เรื่อง "บาร์บี" ภาพยนตร์ทำเงินของผู้กำกับหญิง เกรตา เกอร์วิก ที่กวาดรายได้ 1,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ (ราว 35,000 ล้านบาท) ภายในเวลาเพียง 17 วัน อีกทั้งสื่อซีบีเอสนิวส์ยังจัดให้เกอร์วิกเป็นผู้กำกับหญิงคนแรกที่สามารถกวาดรายได้จากภาพยนตร์ในสัปดาห์แรกมากเป็นประวัติการณ์</p>
<p>แต่ คูเวต ก็ออกคำสั่งแบนภาพยนตร์บาร์บีตามหลังเลบานอน หลังจากที่กระทรวงวัฒนธรรมของเลบานอนขอให้หน่วยงานที่รับผิดชอบทำการเซนเซอร์ภาพยนตร์นี้ โดยอ้างว่าภาพยนตร์บาร์บี "ส่งเสริมการรักเพศเดียวกันและการข้ามเพศ"</p>
<p>กระทรวงสารสนเทศของคูเวตแถลงเมื่อวันที่ 9 ส.ค. ที่ผ่านมาว่า ภาพยนตร์เรื่องบาร์บีนั้น "เผยแพร่แนวคิดและความเชื่อที่แปลกแยกจากสังคมคูเวตและความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง" พวกเขาอ้างว่าที่ต้องแบนบาร์บีเพื่อเป็นการปกป้อง "ศีลธรรมอันดีของประชาชนและประเพณีในสังคม"</p>
<p>โดยที่กระทรวงสารสนเทศของคูเวตยังเคยแบนภาพยนตร์สยองขวัญออสเตรเลีย "จับ มือ ผี" (Talk To Me) ด้วยข้ออ้างเดียวกันด้วย</p>
<p>สำหรับเลบานอนนั้น รัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรม โมฮัมหมัด มอร์ทาดา ประกาศในวันที่ 9 ส.ค. ที่ผ่านมา ขอให้กระทรวงกิจการภายในของเลบานอน "ใช้มาตรการทุกอย่างที่จำเป็นในการแบนการฉายภาพยนตร์" บาร์บีในประเทศของพวกเขา</p>
<p>มอร์ทาดากล่าวหาว่าภาพยนตร์เรื่องนี้ "ส่งเสริมการรักเพศเดียวกัน และการข้ามเพศ ... ส่งเสริมให้มีการปฏิเสธสถานะผู้คุ้มครองของคนเป็นพ่อ (ซึ่งหมายถึงการที่ผู้ชายในบ้านต้องคอยใช้อำนาจควบคุมผู้หญิง มักจะเกิดในประเทศที่ศาสนาอิสลามมีอิทธิพล-ผู้แปล) มีการลดทอนและล้อเลียนบทบาทของแม่ และมีการตั้งคำถามต่อความจำเป็นของการแต่งงานและการมีครอบครัว"</p>
<p>หลังจากที่มอร์ทาดาร้องขอในเรื่องนี้ รัฐมนตรีกระทรวงกิจการภายในของเลบานอน บัสซัม มาวลาวี ก็ขอให้คณะกรรมการเซนเซอร์ของเลบานอนที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงทำการพิจารณาเรื่องบาร์บีและให้คำแนะนำในเรื่องนี้ โดยที่บาร์บีมีกำหนดเข้าฉายในเลบานอนในวันที่ 31 ส.ค. ที่จะถึงนี้</p>
<p>การเรียกร้องให้แบนบาร์บี เกิดขึ้นท่ามกลางกระแสการต่อต้านความหลากหลายทางเพศในเลบานอนที่มีหัวหอกนำการเคลื่อนไหวเป็นกลุ่มติดอาวุธฮิชบอลเลาะห์</p>
<p>ในคำปราศรัยเมื่อเดือน ก.ค. ฮัสซัน นัสรัลเลาะห์ ผู้นำฮิชบอลเลาะห์เรียกร้องให้ทางการเลบานอนมีปฏิบัติการต่อต้านสิ่งที่เขามองว่าเป็นการส่งเสริมการรักเพศเดียวกัน รวมถึงมีการสั่งแบนสิ่งเหล่านั้นด้วย นัสรัลเลาะห์บอกว่าการรักเพศเดียวกันเป็น "ภัยคุกคาม" ที่เลบานอนจะต้อง "เผชิญหน้า" นัสรัลเลาะห์ยังเสนอว่าคนที่มีความสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน "ควรจะถูกฆ่าตั้งแต่ครั้งแรกแม้ว่าจะไม่ได้แต่งงานกัน"</p>
<p>ไอมาน มฮันนา ผู้อำนวยการบริหารขององค์กรภาคประชาชนไม่แสวงหาผลกำไร มูลนิธิ ซามีร์ แคสซีร์ กล่าวว่าการสั่งแบนบาร์บี้ในเลบานอนเกิดขึ้นท่ามกลาง "กระแสความใจแคบหัวรั้น"</p>
<p>มฮันนา บอกว่าการสั่งแบนเป็นส่วนหนึ่งของการเคลื่อนไหวของกลุ่มหัวรั้นที่ชักพาให้กลุ่มติดอาวุธอิสลามสุดโต่งอย่างฮิชบอลเลาะห์มาเจอกับพวกขวาจัดชาวคริสต์ และพวกผู้นำศาสนาอื่นๆ ที่เน้นเคลื่อนไหวต่อต้านผู้มีความหลากหลายทางเพศ</p>
<p>บาร์บี นำแสดงโดย มาร์ก็อต ร็อบบี ในบทของบาร์บี และ ไรอัน กอสลิง ในบทของเคน เป็นภาพยนตร์ที่ผู้มีความหลากหลายทางเพศจำนวนมากในทั่วทุกมุมโลกให้ความสนใจ ถึงแม้ว่าภาพยนตร์เรื่องนี้จะไม่ได้มีการสื่อถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนรักเพศเดียวกันอย่างตรงไปตรงมาหรือมีแก่นของเรื่องเกี่ยวกับความหลากหลายทางเพศก็ตาม</p>
<h2><span style="color:#3498db;">ฝ่ายอนุรักษ์นิยมสหรัฐฯ โวย 'บาร์บี' Woke เกินไป</span></h2>
<p>ไม่เพียงแค่กลุ่มประเทศมุสลิมเท่านั้นที่กล่าวหาภาพยนตร์บาร์บีว่าส่งเสริมเรื่องความหลากหลายทางเพศ พวกฝ่ายขวาอนุรักษ์นิยมในสหรัฐฯ ก็แสดงความไม่พอใจต่อบาร์บีด้วยสาเหตุคล้ายๆ กัน รวมถึงนักวิจารณ์การเมืองที่เป็นฝ่ายขวาอย่าง เบน ชาปิโร ผู้ที่แสดงจุดยืนต่อต้านคนข้ามเพศมาโดยตลอดก็ถึงขั้นทุ่มเททำวิดีโอยาว 43 นาที เพื่อแสดงความเกลียดชังต่อภาพยนตร์เกี่ยวกับตุ๊กตาเด็กเล่นโดยเฉพาะ</p>
<p>ชาปิโร วิพากษ์วิจารณ์ภาพยนตร์ "บาร์บี" ซึ่งได้คะแนนสูงมากในเว็บไซต์รวบรวมคำวิจารณ์จากสื่อต่างๆ โดยเปรียบเทียบว่าเป็นสิ่งอุจาด บอกว่าเป็นภาพยนตร์ที่แย่ที่สุด 10 อันดับรั้งท้ายสำหรับเขา นอกจากนี้ยังถึงขั้นนำตุ๊กตาบาร์บีของเล่นมาจุดไฟเผาโชว์</p>
<p>ปฏิกิริยาแบบล้นเกินของชาปิโรส่งผลให้ชาวเน็ตพากันล้อเลียนท่าทีเช่นนี้ เช่นเรื่องที่เขาบ่นเกี่ยวกับภาพยนตร์บาร์บีถึง 43 นาที หรือความคิดเห็นว่า "ดูเหมือนว่าเรื่องบาร์บีจะทำลายเบนไปแล้วล่ะ"</p>
<p>ผู้ใช้งานเว็บไซต์ทวิตเตอร์/เอ็กซ์ ที่ชื่อ @WajahatAli ระบุว่า "ถ้าหากการงานของคุณขึ้นอยู่กับการคอยปั้นความโกรธแค้นเพื่อหล่อเลี้ยงพวกหัวรุนแรงที่เป็นฐานสนับสนุนของคุณอยู่ตลอดเวลา คุณก็จะกลายเป็นแบบ เบน ชาปิโร พ่อค้าความเกลียดชังที่ใช้เวลาตลอด 2 วันก่อนหน้านี้ไปกับการด่าว่าภาพยนตร์บาร์บีแทนที่จะสนุกและผ่อนคลายไปกับครอบครัวของเขา"</p>
<p>ไม่เพียงแค่ เบน ชาปิโร คนเดียว พวกขวาจัดกลุ่มอื่นในสหรัญฯ อย่างเช่น สื่อขวาจัดฟ็อกซ์นิวส์ก็กล่าวหาว่าภาพยนตร์บาร์บีนั้นมีอุดมการแบบตาสว่างในเรื่องการเมืองเชิงอัตลักษณ์ หรือที่เรียกว่า Woke เกินไป และอ้างอิงเว็บวิจารณ์ภาพยนตร์ของคริสเตียนที่อระบุว่าบาร์บีละทิ้ง "ผู้ชมหลักของตัวเองที่เป็นครอบครัวและเด็กผู้หญิงแล้วหันไปเน้นเรื่องราวของ LGBTQ+" ถึงแม้ว่าเรื่องนี้จะไม่ได้พูดถึงประเด็น LGBTQ+ โดยตรงเลยก็ตาม</p>
<p>อย่างไรก็ตามเรื่องบาร์บี มีนักแสดงหลายคนที่เป็นคนที่เปิดตัวว่าเป็นบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศ หนึ่งในนั้นคือหญิงข้ามเพศ ฮารี เนฟ ผู้ที่แสดงเป็นเวอร์ชั่นหนึ่งของบาร์บี และได้ปรากฏตัวในการโฆษณาภาพยนตร์เรื่องนี้ในทุกแบบ อีกทั้งตัวละครที่เธอแสดงก็ไม่ใช่ตัวละครคนข้ามเพศแต่อย่างใด</p>
<h2><span style="color:#3498db;">ประเทศอื่นๆ ที่แบน "บาร์บี"</span></h2>
<p>อย่างไรก็ตาม มีประเทศอื่นๆ ที่แบนหรือเซนเซอร์เนื้อหาบางส่วนของบาร์บี โดยที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับเรื่องความหลากหลายทางเพศแต่อย่างใด</p>
<p>เช่นประเทศเวียดนามที่แบนบาร์บีเพราะมีฉากหนึ่งที่แสดงให้เห็นแผนที่โลกซึ่งถูกวิจารณ์ว่าเป็นการแสดงให้เห็นถึงแผนที่ในแบบที่จีนอ้างสิทธิเหนือพื้นที่ทะเลจีนใต้ โดยที่พื้นที่น่านน้ำที่ว่านี้ยังคงเป็นพื้นที่ๆ มีข้อพิพาทกันอยู่ระหว่างเวียดนาม กัมพูชา และจีน</p>
<p>ฉากดังกล่าวเป็นแผนที่ที่วาดขึ้นมาด้วยสีเทียนแบบเด็กๆ ที่แสดงให้เห็นถึงจินตนาการส่วนตัวของบาร์บีในการเดินทางจากดินแดนบาร์บีไปสู่ "โลกจริง" ซึ่งทางโฆษกของวอร์เนอร์บราเธอร์บอกว่า "ไม่ได้มีเจตนาจะแสดงจุดยืนอะไร"</p>
<p>แต่เวียดนามก็วิจารณ์ว่าแผนที่ในเรื่องนี้แสดงให้เห็น "เส้นประ 9 เส้น" แบบที่จีนขีดไว้เพื่อย้ำถึงพื้นที่อาณาเขตน่านน้ำของตัวเอง (อย่างไรก็ตามในภาพยนตร์เรื่องบาร์บีมีเส้นแค่ 8 เส้น และไม่ได้สื่อถึงแผนที่โลกในแบบของโลกที่เราอาศัยอยู่แต่อย่างใด) ซึ่งในเรื่องนี้ เวียดนามกำลังพิพาทกับจีนว่าการขีดเส้นเขตน่านน้ำของพวกเขาถือเป็นการรุกล้ำอาณาเขตของเวียดนาม</p>
<p>อีกประเทศหนึ่งที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับข้อพิพาทนี้คือฟิลิปปินส์อนุญาตให้ฉายภาพยนตร์เรื่องบาร์บีต่อไปได้ แต่ก็ขอให้มีการเบลอภาพแผนที่ที่พวกเขามองว่าเป็นภาพของแผนที่ทะเลจีนใต้</p>
<p>ในแคว้นปัญจาบของปากีสถานก็มีการเลื่อนฉายบาร์บีออกไปเช่นเดียวกัน โดยที่เจ้าหน้าที่ทางการแคว้นปัญจาบอ้างว่าบาร์บีมี "เนื้อหาที่น่ารังเกียจ" แต่ก็ไม่ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่าทำไมถึง "น่ารังเกียจ"</p>
<p><strong>เรียบเรียงจาก</strong>
Kuwait bans Barbie movie as Lebanese minister calls for action, Aljazeera, 10-08-2023
‘Barbie’ Map Controversy: Warner Bros. Explains the Drawing That Got the Film Banned in Vietnam (EXCLUSIVE), Variety, 06-07-2023
Ben Shapiro Ridiculed for 43-Minute Anti-‘Barbie’ Tirade: ‘Went to Harvard Law School and Spends His Time Like This’, The Wrap, 23-07-2023
‘Barbie’ Makes History, Becoming First Billion-Dollar Movie Directed Solely by a Woman, Smithsonian Magazine, 09-08-2023
Conservatives Are Mad That the Barbie Movie Is 'Woke' &amp; 'Promotes Trans Agenda', Out, 19-07-2023</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A9" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">รายงานพิhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/08/105523
 
5998  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [การเมือง] - อุ๊งอิ๊ง แจ้งกำหนดการใหม่ ทักษิณกลับไทย 22 ส.ค. รอรับที่ดอนเมือง ลั่นไม่เพ้อเจ้อนะ เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 11:19:23
อุ๊งอิ๊ง แจ้งกำหนดการใหม่ ทักษิณกลับไทย 22 ส.ค. รอรับที่ดอนเมือง ลั่นไม่เพ้อเจ้อนะจ๊ะ
         


อุ๊งอิ๊ง แจ้งกำหนดการใหม่ ทักษิณกลับไทย 22 ส.ค. รอรับที่ดอนเมือง ลั่นไม่เพ้อเจ้อนะจ๊ะ" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;อุ๊งอิ๊ง แจ้งกำหนดการใหม่ ทักษิณกลับไทย 22 ส.ค. ตรงกับวันนัดประชุมร่วมรัฐสภา ที่เพื่อไทยจะเสนอชื่อเศรษฐา เป็นนายกฯ
         

https://www.sanook.com/news/8985682/
         
5999  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวเด่น] - ปกป้อง ชานันท์ สส.บัญชีรายชื่อ ลาออกจากเพื่อไทย เหตุผลเพราะแนวทางที่พรรคเลือก เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 10:56:40
ปกป้อง ชานันท์ สส.บัญชีรายชื่อ ลาออกจากเพื่อไทย เหตุผลเพราะแนวทางที่พรรคเลือก
         


ปกป้อง ชานันท์ สส.บัญชีรายชื่อ ลาออกจากเพื่อไทย เหตุผลเพราะแนวทางที่พรรคเลือก" width="75" height="75
&nbsp;&nbsp;ปกป้อง ชานันท์ สส.บัญชีรายชื่อ ลาออกจากเพื่อไทย เผยแนวทางที่พรรคเพื่อไทยเลือก เป็นแนวทางที่ตนเองไม่สามารถร่วมช่วยเหลือหรือผลักดันอะไรได้
         

https://www.sanook.com/news/8985698/
         
6000  นั่งเล่นหลังสวน / สุขใจ ร้านน้ำชา / [ข่าวมาแรง] - จำคุก 2 ทะลุแก๊ส กว่า 10 ปี คดีปาระเบิดปิงปองหน้า สน.พญาไท-วางเพลิงป้อมจราจร หลัง #ม เมื่อ: 19 สิงหาคม 2566 08:53:29
จำคุก 2 ทะลุแก๊ส กว่า 10 ปี คดีปาระเบิดปิงปองหน้า สน.พญาไท-วางเพลิงป้อมจราจร หลัง #ม็อบ30กันยา64
 


<span class="submitted-by">Submitted on Fri, 2023-08-18 14:03</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>ภาพปก:#ม็อบ29กันยา64 ที่ดินแดง กทม. </p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>ศาลสั่งจำคุก ‘คเชนทร์-ขจรศักดิ์’ 2 สมาชิกทะลุแก๊ส รวมกว่า 10 ปี จากคดีปาระเบิดปิงปอง สน.พญาไท และวางเพลิงป้อมจราจร หลัง #ม็อบ30กันยา64 </p>
<p> </p>
<p>18 ส.ค. 2566 เว็บไซต์ ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน รายงานวานนี้ (17 ส.ค.) โดยเมื่อ 15 ส.ค.ที่ผ่านมา เวลา 9.00 น. ที่ศาลอาญา รัชดาฯ ศาลนัดฟังคำพิพากษาคดีของ 'คเชนทร์' (สงวนนามสกุล) อายุ 21 ปี และ 'ขจรศักดิ์' (สงวนนามสกุล) อายุ 20 ปี สมาชิกกลุ่มทะลุแก๊ส ในข้อหาหลักคือฝ่าฝืนข้อกำหนดเรื่องเคอร์ฟิวของ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และร่วมกันมี/ใช้วัตถุระเบิดในครอบครอง ซึ่งสามารถทำอันตรายต่อชีวิตและวัตถุได้ฯ ตาม พ.ร.บ.อาวุธปืนฯ จากกรณีเข้าร่วมชุมนุม #ม็อบ30กันยา64 และถูกกล่าวหาว่าปาระเบิดปิงปองและระเบิดขวดเข้าใส่อาคาร สน.พญาไท และวางเพลิงป้อมจราจรที่แยกพญาไท ในช่วงหลังเที่ยงคืน ล่วงเข้าสู่วันที่ 1 ต.ค. 2564</p>
<p>ภายหลังเหตุการณ์ดังกล่าว พล.ต.ต.จิรสันต์ แก้วแสงเอก โฆษกกองบัญชาการตำรวจนครบาล และ พ.ต.อ.กฤษณะ พัฒนเจริญ รองโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ แถลงข่าวตอนหนึ่งว่า "…ในเวลาประมาณ 2.00 น. ได้มีกลุ่มของผู้ชุมนุมรวมตัวกันและใช้วัตถุเพลิงขว้างปาบริเวณหน้า สน.พญาไท ซึ่งเจ้าหน้าที่ สน.พญาไท ได้แสดงกำลัง กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบก็ได้แยกย้ายกันบริเวณแยกพญาไท และใช้ระเบิดขวดปาไปที่ป้อมจราจรพญาไท แต่เจ้าหน้าที่ก็สามารถควบคุมเพลิงและดับไว้ทัน ไม่ได้เกิดความเสียหายต่อป้อมจราจรบริเวณแยกพญาไทแต่อย่างใด"</p>
<p>อย่างไรก็ตาม เช้าวันที่ 8 ต.ค. 2564  เจ้าหน้าที่ตำรวจได้เข้าจับกุมวัยรุ่นทั้ง 2 คน ที่บ้านพัก ตามหมายจับของศาลอาญา ลงวันที่ 7 ต.ค. 2564 พร้อมทั้งเข้าตรวจค้นที่พัก โดยไม่พบสิ่งผิดกฎหมายในห้องพักของคเชนทร์ ส่วนในห้องพักของขจรศักดิ์ ตำรวจพบระเบิดควัน (CS Smoke) 1 ลูก</p>
<p>นอกจากนี้ บันทึกการจับกุมยังระบุว่า คเชนทร์ได้ให้การเพิ่มเติมว่า เมื่อวันที่ 1 ต.ค. 2564 เวลาประมาณ 2.00 น. ขณะตนกําลังชุมนุมกับพวกอยู่ที่บริเวณสามเหลี่ยมดินแดง ได้มีผู้ชักชวนไปหน้า สน.พญาไท จากนั้นได้รวมกลุ่มจักรยานยนต์ประมาณ 20 คัน มีเยาวชนไม่ทราบชื่อ นามสกุลจริง ซ้อนท้าย เมื่อไปถึง หน้า สน.พญาไท ตนได้เร่งคันเร่งรถ และบีบแตรเพื่อให้เกิดเสียงดัง และเยาวชนที่ซ้อนท้ายได้ลงจากรถไปดูเหตุการณ์ จากนั้นได้ใช้เส้นทางเดิมกลับไปที่สามเหลี่ยมดินแดง</p>
<p>พนักงานสอบสวนได้แจ้งข้อกล่าวหาทั้งสองตามหมายจับ ได้แก่ ร่วมกันมีวัตถุระเบิดไว้ในครอบครอง, ร่วมกันวางเพลิงเผาทรัพย์ของผู้อื่น, ร่วมกันทำให้เกิดเพลิงไหม้แก่วัตถุใดๆ จนน่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลอื่น, ร่วมกันกระทำให้เกิดระเบิดจนน่าจะเป็นอันตราย, ร่วมกันมั่วสุมกันตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป, ร่วมกันพาอาวุธไปในทางสาธารณะโดยไม่มีเหตุอันควร และออกนอกเคหสถานในเวลาห้าม (22.00-4.00 น.) และได้แจ้งข้อหาขจรศักดิ์ เพิ่มเติมว่า มียุทธภัณฑ์ไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาต</p>
<p>ชั้นสอบสวนทั้งให้การปฏิเสธตลอดข้อกล่าวหา ภายหลังการสอบปากคำทั้งสองถูกขังอยู่ที่ สน.พญาไท โดยพนักงานสอบสวนจะนำตัวฝากขังต่อศาลอาญาในวันรุ่งขึ้น (9 ต.ค. 2564) และไม่ได้รับการประกันตัวในชั้นสอบสวน โดยถูกคุมขังนาน 84 วัน ก่อนได้รับการประกันตัวใน 31 ธ.ค. 2564</p>
<p>ซึ่งใน 30 ธ.ค. 2564 พนักงานอัยการ สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีอาญา 3 ได้ยื่นฟ้อง คเชนทร์ ในฐานะจำเลยที่ 1 และ ขจรศักดิ์ ในฐานะจำเลยที่ 2 ต่อศาลอาญา ในฐานความผิด ดังนี้</p>
<p>จำเลยที่ 1 ถูกกล่าวหาในข้อหาร่วมกันมี / ใช้วัตถุระเบิดในครอบครอง ซึ่งสามารถทำอันตรายต่อชีวิตและวัตถุได้ฯ, ร่วมกันมี / ใช้วัตถุระเบิดโดยไม่ได้รับอนุญาตฯ, ร่วมกันวางเพลิงเผาทรัพย์ฯ, ร่วมกันกระทำให้เกิดเพลิงไหม้ฯ, ร่วมกันทำให้เกิดระเบิดจนน่าจะเป็นอันตรายฯ, ร่วมกันมั่วสุมตั้งแต่ 10 คน ขึ้นไป โดยผู้กระทำมีอาวุธฯ, ร่วมกันพกอาวุธไปในเมืองฯ, และฝ่าฝืนข้อกำหนดเรื่องเคอร์ฟิวของ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ</p>
<p>ในกรณีของจำเลยที่ 2 เขายังถูกกล่าวหาว่ากระทำความผิดเพิ่มจากจำเลยที่ 1 อีก 2 ข้อหา ได้แก่ มีวัตถุระเบิดที่ออกใบอนุญาตให้ไม่ได้ในครอบครองฯ และมียุทธภัณฑ์ไว้ในครอบครองโดยไม่ได้รับอนุญาตฯ เนื่องจากในขณะที่จับกุม ทางเจ้าหน้าที่อ้างว่าเจอวัตถุระเบิดและแก๊สน้ำตาที่จำเลยที่ 2</p>
<div class="more-stoory">
<div class="more-story">
<p>ย้อนอ่านคำฟ้องคดี https://tlhr2014.com/archives/39937</p>
</div>
</div>
<p>ต่อมา ศาลได้นัดสืบพยานรวม 7 นัด โดยสืบพยานโจทก์ในวันที่ 31 ม.ค.-3 ก.พ. 2566 และวันที่ 7 ก.พ. 2566 และสืบพยานจำเลยวันที่ 7 ก.พ., 11-12 พ.ค. 2566 จนเสร็จสิ้น ก่อนนัดฟังคำพิพากษาในวันที่ 15 ส.ค. 2566</p>
<p>15 ส.ค. 2566 ศาลอาญาได้มีคำพิพากษาโดยสรุปว่าจำเลยทั้งสองคนมีความผิดตามฟ้อง ลงโทษคเชนทร์ จำเลยที่ 1 จำคุก 10 ปี 6 เดือน และปรับ 1,000 บาท, ขจรศักดิ์ จำเลยที่ 2 จำคุก 11 ปี 6 เดือน ปรับ 1,000 บาท </p>
<p>หลังศาลมีคำพิพากษา ทนายความได้ยื่นคำร้องขอประกันทั้งสองในชั้นอุทธรณ์ต่อทันที แต่ศาลชั้นต้นมีคำสั่งให้ส่งคำร้องให้ศาลอุทธรณ์เป็นผู้พิจารณา ทำให้ในเย็นวันดังกล่าวคเชนทร์และขจรศักดิ์ถูกส่งตัวไปขังที่เรือนจำพิเศษกรุงเทพฯ ระหว่างที่รอฟังผลประกันซึ่งคาดว่าศาลอุทธรณ์จะมีคำสั่งใน 2-3 วัน</p>
<p>การคุมขังคเชนทร์ และขจรศักดิ์ ทำให้จนถึงวันที่ 17 ส.ค. 2566 มีจำนวนผู้ต้องขังคดีทางการเมืองที่อยู่ในระหว่างต่อสู้คดีโดยไม่ได้รับสิทธิประกันตัวแล้วอย่างน้อย 11 คน
 </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/08/105511
 
หน้า:  1 ... 298 299 [300] 301 302 ... 1116
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 1.322 วินาที กับ 26 คำสั่ง

Google visited last this page 01 พฤษภาคม 2566 15:48:10