[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
25 เมษายน 2567 11:17:41 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า:  1 2 [3]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ยังงงกันอยู่เหรอว่า...ทำไมนิพพานเป็นอัต  (อ่าน 34201 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #40 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2553 21:59:50 »

อ้างถึง
หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

"พระนิพพานอุปมาขนาดเท่าเส้นผม ผู้ที่จะผ่านพ้นในขั้นสุดท้ายไปได้หรอืไม่ได้อยู่เพียงนิดเดียวในการทำจิตตัดจุดนี้ได้หรือไม่เท่านั้น พระพุทธเจ้าตอนที่ท่านจะปรินิพพาน ท่านได้ปรินิพพานไประหว่างรูปฌานและอรูปฌาน เป็นการดับขันธ์ด้วยความบริสุทธิ์เหนือสมมติโดยสิ้นเชิง
/color]"

สำหรับนักวิปัสสนาคงจะไม่ชอบที่ผมพูดแบบนี้ เพราะท่านไม่เน้นฌาน ได้แค่ฌาน 1 ก็พอแล้ว  ผมจึงขอนำคำของหลวงปู่ดูลย์ อตโล มาลงดีกว่า:

หลวงปู่ดูลย์ อตโล

....พระพุทธเจ้า พระองค์ไม่ได้เข้าสู่นิพพานในฌานสมาบัติอะไรที่ไหนหรอก เมื่อพระองค์ออกจากจตุตถฌานแล้ว จิตขันธ์หรือนามขันธ์ ก็ดับพร้อม ไม่มีอะไรเหลือ นั่งคือพระองค์ดับเวทนาขันธ์ ในภาวะจิตตื่น หรือวิถีจิตอันปกติของมนุษย์ ครอบพร้อมทั้งสติ และสัมปชัญญะ ไม่ถูกภาวะอื่นใดมาครอบงำอำพรางให้หลงใหลใดๆ ทั้งสิ้น เป้นภาวะแห่งตนเองอย่างสมบูรณ์ ภาวะนันเรียกว่า มหาสุญญตา หรือจักรวาลเดิม หรือเรียกกว่า นิพพาน อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ......

สรุป

กาเข้านิพพานทำได้โดยการตายแบบมีสติ และสัมปชัญญะ แบบตื่นเต็มที่  ไม่ถูกอารมณ์ใดๆทำให้หลงไหลไปในภพภูมิแห่งภวังคจิต(จิตใต้สำนึก)  อนึ่ง  การอยู่ฌานใดฌานหนึ่งก่อนตาย จะนำไปเกิดเป็นพรหมซึ่งเป็นของสมมุติ  ถ้ามีสติ และสัมปชัญญะ ก็จะไม่หลงไหล ไปเกิดเป็นพรหมชั้นนั้น

....ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร

และเข้าปฐมฌานไปจนถึงจตุตถฌานอีก เมื่อออกจากจตุตถฌาน ยังมิได้ทันได้เข้าสู่อากาสานัญจายตนะ พระองค์ก็ปรินิพพานในระหว่างนั้น

ในคำนี้ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากจตุตถฌานในลำดับมา เสด็จปรินิพพาน คือ ในลำดับทั้ง ๒ คือ ในลำดับแห่งฌาน ในลำดับแห่งปัจจเวกขณญาณ.
               พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากฌานแล้ว หยั่งลงสู่ภวังค์ แล้วปรินิพพานในระหว่างนั้น ชื่อว่าระหว่างฌาน ในลำดับ ๒ นั้น. พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากฌานแล้ว พิจารณาองค์ฌานอีก หยั่งลงสู่ภวังค์ แล้วปรินิพพานในระหว่างนั้นนั่นแหละ ชื่อว่าระหว่างปัจจเวกขณญาณ. แม้ทั้ง ๒ นี้ก็ชื่อว่าระหว่างทั้งนั้น. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าเข้าฌานเสด็จออกจากฌาน พิจารณาองค์ฌานแล้วปรินิพพานด้วยภวังคจิต เป็นอัพยากฤตเป็นทุกขสัจจะ. สัตว์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง ไม่ว่าพระพุทธเจ้าหรือพระสาวก อย่างต่ำมดดำมดแดง ต้องกระทำกาละด้วยภวังคจิตที่เป็นอัพยากฤต เป็นทุกขสัจทั้งนั้นแล.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๐ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาปรินิพพานสูตร



บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #41 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2553 22:11:15 »

1 หลวงปู่ดู่ พรหมปัญโญ

"พระนิพพานอุปมาขนาดเท่าเส้นผม ผู้ที่จะผ่านพ้นในขั้นสุดท้ายไปได้หรอืไม่ได้อยู่เพียงนิดเดียวในการทำจิตตัดจุดนี้ได้หรือไม่เท่านั้น พระพุทธเจ้าตอนที่ท่านจะปรินิพพาน ท่านได้ปรินิพพานไประหว่างรูปฌานและอรูปฌาน เป็นการดับขันธ์ด้วยความบริสุทธิ์เหนือสมมติโดยสิ้นเชิง

2 หลวงปู่ดูลย์ อตโล

....พระพุทธเจ้า พระองค์ไม่ได้เข้าสู่นิพพานในฌานสมาบัติอะไรที่ไหนหรอก เมื่อพระองค์ออกจากจตุตถฌานแล้ว จิตขันธ์หรือนามขันธ์ ก็ดับพร้อม ไม่มีอะไรเหลือ นั่งคือพระองค์ดับเวทนาขันธ์ ในภาวะจิตตื่น หรือวิถีจิตอันปกติของมนุษย์ ครอบพร้อมทั้งสติ และสัมปชัญญะ ไม่ถูกภาวะอื่นใดมาครอบงำอำพรางให้หลงใหลใดๆ ทั้งสิ้น เป้นภาวะแห่งตนเองอย่างสมบูรณ์ ภาวะนันเรียกว่า มหาสุญญตา หรือจักรวาลเดิม หรือเรียกกว่า นิพพาน อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ......



ในคำนี้ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จออกจากจตุตถฌานในลำดับมา เสด็จปรินิพพาน คือ ในลำดับทั้ง ๒ คือ ในลำดับแห่งฌาน ในลำดับแห่งปัจจเวกขณญาณ.


 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น




บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #42 เมื่อ: 26 ธันวาคม 2553 22:18:50 »

ปัจจเวกขณญาณ คือ ปัญญาที่พิจารณาให้รู้เห็นตามสภาพธรรมที่เป็นจริงนี้ เป็นมโนทวารวิถี มีมโนทวาราวัชชนจิตเป็นจิตนำวิถี แล้วมหากุสลญาณสัมปยุตตจิต ๔ ดวง สำหรับพระเสกขบุคคล หรือ มหากิริยาญาณสัมปยุตตจิต ๔ ดวง สำหรับพระอเสกขบุคคล ดวงใดดวงหนึ่งก็เกิดทำกิจชวนะ ๗ ขณะ พิจารณาให้เกิดปัจจเวกขณญาณ

ก. ให้แจ้งในมัคคจิตที่ตนได้ประสบมาเมื่อกี้นี้อย่างหนึ่ง

ข. ให้แจ้งในผลจิตอย่างหนึ่ง

ค. ให้แจ้งในพระนิพพานอย่างหนึ่ง

ง. ให้แจ้งในกิเลสที่ละแล้วอย่างหนึ่ง

จ. ให้แจ้งในกิเลสที่ยังคงเหลืออยู่อย่างหนึ่ง

การพิจารณา มัคค ผล นิพพาน รวม ๓ ประการนี้ จะต้องมีแน่นอน ส่วนลำดับแห่งการพิจารณานั้น ไม่มีกำหนดกฏเกณฑ์ว่าจะต้องพิจารณา มัคคก่อน หรือผลก่อน หรือนิพพานก่อน จะพิจารณาอะไรก่อนก็ได้ แต่ข้อสำคัญนั้นต้อง พิจารณาครบทั้ง ๓ ประการนี้ อย่างแน่นอน

สำหรับการพิจารณากิเลสที่ละแล้ว และกิเลสที่ยังคงเหลืออยู่รวม ๒ ประการนี้ จะพิจารณาได้เฉพาะพระอริยเจ้าที่ได้ศึกษาพระปริยัติ ผู้ที่ไม่ได้ศึกษาพระปริยัติก็ไม่มีความรู้พอที่จะพิจารณาได้ ดังนั้นการพิจารณา ๒ ประการหลังนี้ จึงกล่าวว่าไม่แน่นอน บ้างก็พิจารณา บ้างก็ไม่พิจารณา

อนึ่งการพิจารณากิเลสที่ยังคงเหลือนั้นเฉพาะผู้ที่บรรลุมัคคจิตครั้งที่ ๔ สำเร็จเป็นพระอรหันต์ ก็ไม่ต้องมีการพิจารณา เพราะพระอรหันต์ไม่มีกิเลสเหลืออยู่เลย จึงคงพิจารณาเพียง ๔ ประการ คือ มัคค ผล นิพพาน และกิเลสที่ละแล้วเท่านั้น

รวมปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลังมัคควิถีนั้น ถ้าคิดจำนวนอย่างเต็มที่ ก็ได้ ๑๙ ประการ คือ

ปัจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลัง                       โสดาปัตติมัคควิถี             มี      ๕      ประการ

ปัจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลัง                       สกทาคามิมัคควิถี             มี      ๕      ประการ

ปัจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลัง                       อนาคามิมัคควิถี               มี      ๕      ประการ

ปัจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลัง                       อรหัตตมัคควิถี               มี      ๔      ประการ

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

แต่ก็มีบางที่

มีวาทะว่า.... ไม่เนื่องด้วยวิถึ..... ไม่เนื่องด้วยวิธีการ ......นิพพานอยู่แว๊วววววว

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #43 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2553 15:19:50 »

มโนทวารวิถี (กล่าวตามนัยแห่งพระอภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธาจารย์ โดยเฉพาะ) ไม่มีอตีตภวังค เพราะอารมณ์ที่ปรากฏทางมโนทวารวิถีนี้ ไม่ได้กระทบ ภวังคจิตก่อนเหมือนกับปัญจทวารวิถี หากแต่จิตเกิดขึ้นก่อนแล้วจึงรับอารมณ์นั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ทางปัญจทวารวิถีนั้น อารมณ์เป็นปัจจัยมากระทบมากระตุ้น เตือนจิต ให้จิตไหวตัวขึ้นรับอารมณ์ ส่วนทางมโนทวารวิถีนั้น จิตไหวตัวหน่วงเอา อารมณ์นั้น ๆ มาเอง

          เนื่องจากการที่จิตไหวตัว หน่วงเอาอารมณ์นั้น ๆ มาเองดังกล่าวนี้ มโนทวาร วิถีจึงมีกิจการงานที่จะต้องกระทำน้อยอย่าง วิถีจิตจึงมีน้อยเพียง ๓ อย่างเท่านั้น คือ

          ก. มโนทวาราวัชชนจิต ผู้ทำหน้าที่นำวิถี ได้หน่วงเอาอารมณ์นั้น ๆ มาเอง โดยตัดสินให้เป็นกุสล อกุสลเสร็จไปพร้อมกันในตัวเองทีเดียว อย่างที่ว่า ก่อเอง สานเอง หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า มโนทวาราวัชชนจิตได้คิดนึกเป็นกุสล อกุสล เอง ไม่มีจิตอื่นเป็นสื่อนำมาให้

          ข. แล้วชวนจิตก็เกิดขึ้น เสพอารมณ์นั้นโดยความเป็นกุสล หรืออกุสล ตามที่ มโนทวาราวัชชนจิตได้กำหนดนึกนั้น

          ค. และเพราะว่าอารมณ์ชัดแจ้งมาก มีกำลังมาก ตทาลัมพนะจึงต้องรับรู้ อารมณ์นั้นต่อจากชวนจิตอีกทอดหนึ่ง

          ส่วนทางปัญจทวารวิถี มีจิตอื่นทำกิจของเขามาก่อน คือ รับรู้อารมณ์มาก่อน เป็นหลายทอดหลายหน้าที่ แล้วจึงเสนอถึงโวฏฐัพพนะ ก็คือ มโนทวาราวัชชนะ นั่นเอง เป็นผู้ตัดสินกำหนดให้เป็นกุสล หรืออกุสล ขอให้ดูภาพวิถีจิต (หน้า ๗-๘) ประกอบด้วย จะเห็นได้ว่า ปัญจทวารวิถีมีกิจการงานต้องกระทำหลายอย่าง มีวิถีจิต มากถึง ๗ อย่าง

...


ก่อนที่ฌานวิถีจิตจะเกิดขึ้น     ต้องมีมหากุศลญาณสัมปยุตตจิตเกิด

ก่อนทุกครั้ง

 

มหากุศลชวนะขณะที่ ๑  เป็นบริกัมม์ คือ เป็นบริกัมม์ของอัปปนาสมาธิ เพราะ

                                       ปรุงแต่งอัปปนา   คือ  ถ้ามหากุศลซึ่งเป็นบริกัมม์ไม่

                                       เกิด  จิตขณะต่อไปและอัปปนาสมาธิ คือ ฌานจิตก็

                                       เกิดไม่ได้

มหากุศลชวนะขณะที่ ๒  เป็นอุปจาร เพราะเข้าไปใกล้อัปปนาสมาธิ

มหากุศลชวนะขณะที่ ๓  เป็นอนุโลม เพราะอนุกูลแก่อัปปนาสมาธิ

มหากุศลชวนะขณะที่ ๔  เป็นโคตรภู   เพราะข้ามพ้นกามาวจรภูมิ    เพื่อขึ้นสู่

                                       รูปาวจรภูมิ

 

                เมื่อมหากุศลชวนะขณะที่ ๔ ดับแล้ว   ชวนวิถีจิตขณะต่อไป  จึงเป็น

" รูปาวจรปฐมฌานกุศลจิต "

http://www.abhidhamonline.org/aphi/p4/034.htm

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #44 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2553 15:34:16 »

รูปาวจรปฐมฌานกุศลจิต เป็นอัปปนาสมาธิที่แนบแน่นในอารมณ์

ด้วยองค์ฌาน  ๕   ฉะนั้น ถึงแม้ว่ารูปาวจรฌานกุศลจะเกิดขึ้นครั้งแรกเพียงขณะ

เดียว    - เมื่อภวังคจิตเกิดคั่นหลายขณะดับไปแล้ว

           - มโนทวารวิถีจิตก็เกิดสืบต่อ  โดยมโนทวาราวัชชนจิตเกิดขึ้น รำพึงถึง

             องค์ของฌาน ๑ ขณะ  แล้วดับไป

- แล้วมหากุศลญาณสัมปปยุตตจิตก็พิจารณาองค์ฌานนั้น ๗ ขณะ

- แล้วภวังคจิตก็เกิดคั่น

- มโนทวารวิถีจิตเกิดขึ้นพิจารณาองค์ของฌานทีละองค์ ทีละวาระ  ขณะ

  ที่มโนทวารวิถีจิตเกิดขึ้น  พิจารณาองค์ฌาน แต่ละองค์  แต่ละวาระนั้น

  เป็นปัจจเวกขณวิถี ซึ่งต้องเกิดต่อจากฌานวิถีทุกครั้ง

 

               ปัญญาของผู้บรรลุรูปาวจรฌานกุศลจิต     จึงรู้ความต่างกันขององค์

ฌานทั้ง ๕ คือ รู้ความต่างกันของวิตกเจตสิกและวิจารเจตสิก    รู้ความแตกต่าง

กันของปีติเจตสิกและสุข (โสมนัสเวทนาเจตสิก)   และรู้ลักษณะของเอกัคคตา

เจตสิกที่เป็นอัปปนาสมาธิ

http://www.dhammahome.com/front/webboard/show.php?id=11041&PHPSESSID=e309f091763e5ccfa11c4ed6c548b5e7
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #45 เมื่อ: 27 ธันวาคม 2553 23:29:01 »



 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

นิพพานเป็นอัตตาตรงไหน ....

หนาย...ลองอธิบายในแง่พระอภิธรรมหน่อยสิ คุณเดียรถีย์พลศักดิ์

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #46 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 00:49:07 »

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

มาดูพระอภิธรรมกันให้ชัดๆ
จะได้หาย งง ในสภาพพระนิพพาน

ลองดูกันครับ  ว่าจะเชื่อคุณแถพลศักดิ์  หรือจะเชื่อพระอภิธรรมดี
ความน่าเชื่อถือได้ ควรจะเชื่ออันไหนมากกว่ากัน ?
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น



สภาพของนิพพาน

พระอภิธรรม
ปริจเฉทที่ ๖ รูปสังคหวิภาค    หน้าที่ : 84

เมื่อกล่าวโดยสามัญญลักษณะสภาพของนิพพานมีเพียง ๑ คือ อนัตตลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า ปราศจากตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่มีการเกิดแก่ เจ็บ ตาย ใด ๆ ทั้งสิ้น

      แต่นิพพาน ไม่มีอนิจจลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่เที่ยง มั่นคง ยั่งยืน ไม่แปรผัน และนิพพาน ไม่มีทุกขลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ทนอยู่ได้ ด้วยว่า ไม่มีการเกิด ไม่มีการดับ และด้วยเหตุที่นิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า จึงมีสภาพที่ทน อยู่ หรือดำรงคงอยู่ในสภาพที่ว่างเปล่านั้นตลอดไป ไม่มีอะไรที่จะมาปรุงแต่งให้ กลายเป็นไม่ว่างได้

       วิเสสลักษณะ ของนิพพาน มีเพียง ๓ ประการ คือ ลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน เท่านั้น ไม่มีปทัฏฐาน

       สนฺติ ลกฺขณา                มีความสุขสงบจากเพลิงทุกข์ เป็นลักษณะ

       อจฺจุต รสา                         มีความไม่แตกดับ เป็นกิจ (สัมปัตติรส)

       อนิมิตฺต ปจฺจุปฎฺฐานา           ไม่มีนิมิตเครื่องหมาย เป็นอาการปรากฏ

     นิสฺสรณ ปจฺจุปฏฺฐานา         มีความออกไปจากภพ เป็นผล

       ปทฏฺฐานํ น ลพฺภติ          ไม่มีเหตุใกล้ให้เกิด (เพราะนิพพานเป็นธรรม  ที่พ้นจากเหตุ จากปัจจัยทั้งปวง)

       สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงคุณอันยิ่งใหญ่ พ้นแล้วจากตัณหาเครื่อง ร้อยรัด ตรัสรู้  ธรรมส่วนหนึ่ง ธรรมที่ไม่ตาย ธรรมที่เที่ยง  ธรรมที่ปัจจัยอะไร ๆ ปรุงแต่งไม่ได้ ธรรมที่ไม่มีสิ่งใดจะประเสริฐยิ่งกว่า ธรรมนั้น คือ นิพพาน

      สภาพของนิพพาน ๕ ประการ ที่กล่าวข้างต้น มีความหมายดังนี้ คือ

๑. ปทํ แปลว่า นิพพานเป็นส่วนหนึ่ง เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่งที่เข้าถึงได้ และมีอยู่โดยเฉพาะ ไม่คลุกเคล้าด้วยโลกียธรรม

๒. อจฺจุตํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ไม่ตาย ไม่มีความเกิด และไม่มี ความตาย ไม่มีแตกดับ

๓. อจฺจนฺตํ แปลว่า ธรรมที่เที่ยง คือก้าวล่วงขันธ์ ๕ ที่เป็นอดีต และ อนาคต หมายความว่า เป็นธรรมที่พ้นจากกาลทั้ง ๓ ได้แก่ นิพพาน

๔. อสงฺขตํ แปลว่า นิพพาน ไม่ได้ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย หมายความว่า นิพพานนี้ไม่ใช่ จิต เจตสิก รูป เพราะ จิต เจตสิก รูป นั้นเป็น ธรรมที่เกิดขึ้นโดยมีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ปราศจากการปรุงแต่ง ชื่อว่า อสังขตะ ได้แก่ นิพพาน

          บัญญัติ ก็เป็นอสังขตธรรมเหมือนกัน แต่ในที่นี้กล่าวเฉพาะ ธรรมที่เป็นปรมัตถ บัญญัติไม่ใช่ปรมัตถธรรม ฉะนั้นอสังขตธรรม ในที่นี้จึงหมายถึง นิพพาน แต่อย่างเดียว

๕. อนุตฺตรํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ประเสริฐอย่างที่ไม่มีธรรมใด ๆ จะเทียมเท่า

 
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

ขอโหวตหน่อย .....
ถ้าเชื่อพลศักด์  กด * 1
ถ้าเชื่อพระอภิธรรม  กด *2

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า
phonsak
นักโพสท์ระดับ 8
***

คะแนนความดี: +1/-2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 306


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #47 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 01:54:53 »

หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

มาดูพระอภิธรรมกันให้ชัดๆ
จะได้หาย งง ในสภาพพระนิพพาน

ลองดูกันครับ  ว่าจะเชื่อคุณแถพลศักดิ์  หรือจะเชื่อพระอภิธรรมดี
ความน่าเชื่อถือได้ ควรจะเชื่ออันไหนมากกว่ากัน ?
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น



สภาพของนิพพาน

พระอภิธรรม
ปริจเฉทที่ ๖ รูปสังคหวิภาค    หน้าที่ : 84

เมื่อกล่าวโดยสามัญญลักษณะสภาพของนิพพานมีเพียง ๑ คือ อนัตตลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า ปราศจากตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่มีการเกิดแก่ เจ็บ ตาย ใด ๆ ทั้งสิ้น

      แต่นิพพาน ไม่มีอนิจจลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่เที่ยง มั่นคง ยั่งยืน ไม่แปรผัน และนิพพาน ไม่มีทุกขลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ทนอยู่ได้ ด้วยว่า ไม่มีการเกิด ไม่มีการดับ และด้วยเหตุที่นิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า จึงมีสภาพที่ทน อยู่ หรือดำรงคงอยู่ในสภาพที่ว่างเปล่านั้นตลอดไป ไม่มีอะไรที่จะมาปรุงแต่งให้ กลายเป็นไม่ว่างได้

       วิเสสลักษณะ ของนิพพาน มีเพียง ๓ ประการ คือ ลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน เท่านั้น ไม่มีปทัฏฐาน

       สนฺติ ลกฺขณา                มีความสุขสงบจากเพลิงทุกข์ เป็นลักษณะ

       อจฺจุต รสา                         มีความไม่แตกดับ เป็นกิจ (สัมปัตติรส)

       อนิมิตฺต ปจฺจุปฎฺฐานา           ไม่มีนิมิตเครื่องหมาย เป็นอาการปรากฏ

     นิสฺสรณ ปจฺจุปฏฺฐานา         มีความออกไปจากภพ เป็นผล

       ปทฏฺฐานํ น ลพฺภติ          ไม่มีเหตุใกล้ให้เกิด (เพราะนิพพานเป็นธรรม  ที่พ้นจากเหตุ จากปัจจัยทั้งปวง)

       สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงคุณอันยิ่งใหญ่ พ้นแล้วจากตัณหาเครื่อง ร้อยรัด ตรัสรู้  ธรรมส่วนหนึ่ง ธรรมที่ไม่ตาย ธรรมที่เที่ยง  ธรรมที่ปัจจัยอะไร ๆ ปรุงแต่งไม่ได้ ธรรมที่ไม่มีสิ่งใดจะประเสริฐยิ่งกว่า ธรรมนั้น คือ นิพพาน

      สภาพของนิพพาน ๕ ประการ ที่กล่าวข้างต้น มีความหมายดังนี้ คือ

๑. ปทํ แปลว่า นิพพานเป็นส่วนหนึ่ง เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่งที่เข้าถึงได้ และมีอยู่โดยเฉพาะ ไม่คลุกเคล้าด้วยโลกียธรรม

๒. อจฺจุตํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ไม่ตาย ไม่มีความเกิด และไม่มี ความตาย ไม่มีแตกดับ

๓. อจฺจนฺตํ แปลว่า ธรรมที่เที่ยง คือก้าวล่วงขันธ์ ๕ ที่เป็นอดีต และ อนาคต หมายความว่า เป็นธรรมที่พ้นจากกาลทั้ง ๓ ได้แก่ นิพพาน

๔. อสงฺขตํ แปลว่า นิพพาน ไม่ได้ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย หมายความว่า นิพพานนี้ไม่ใช่ จิต เจตสิก รูป เพราะ จิต เจตสิก รูป นั้นเป็น ธรรมที่เกิดขึ้นโดยมีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ปราศจากการปรุงแต่ง ชื่อว่า อสังขตะ ได้แก่ นิพพาน

          บัญญัติ ก็เป็นอสังขตธรรมเหมือนกัน แต่ในที่นี้กล่าวเฉพาะ ธรรมที่เป็นปรมัตถ บัญญัติไม่ใช่ปรมัตถธรรม ฉะนั้นอสังขตธรรม ในที่นี้จึงหมายถึง นิพพาน แต่อย่างเดียว

๕. อนุตฺตรํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ประเสริฐอย่างที่ไม่มีธรรมใด ๆ จะเทียมเท่า

 
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

ขอโหวตหน่อย .....
ถ้าเชื่อพลศักด์  กด * 1
ถ้าเชื่อพระอภิธรรม  กด *2

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


ข้อสงสัยข้อนี้ผมยินดีตอบ  ทั้งๆที่ตอบออกไป  คงจะมีคนเข้าใจน้อยมาก  แต่เมื่อเขาฝึกปฏิบัติไปเรื่อยๆ เขาจะเขาใจเอง

พึงระลึกว่า  ผมตอบ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของคุณนะครับ  เพราะคุณมีทิฏฐิมานะ  ไม่ยอมรับแม้แต่เรื่องเดียว  ทั้งๆที่จนมุมในทุกเรื่อง  ผมตอบเพราะมันเป็นประโยชน์กับผู้อื่นนะครับ

คุณกำลังงงเรื่องจิตและขันธ์   จิตสังขารของคุณ กับขันธ์ 5 ของคุณ มันคนละเรื่องกัน  จิตสังขาร และแม้แต่นิพพานซึ่งเป็นจิตบริสุทธิ์หรือจิตปภัสสร ล้วนเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า  จิตไม่เคยตาย  ใครก็ฆ่าไม่ได้  ฆ่าได้แต่ขันธ์หรืออายตนะที่จิตไปอาศัยอยู่

อนัตตา = สิ่งที่เป็นขันธ์ 5 (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)
ไม่มีอะไรที่เกี่ยวกับจิต(สังขาร) ซึ่งเป็นอาทิสมานกายหรือกายทิพย์
อัตตา = สิ่งที่เป็นธรรมขันธ์ ไม่ใช่นิพพานจิต

1. นิพพานเป็นจิต นิพพานจิตชี้ไม่ได้ ชี้ได้แต่ธรรมกาย ซึ่งเป็นอายตนะนิพพาน หรือขันธ์ที่จิตปภัสสรสร้างขึ้น

2. พระพุทธเจ้าตรัสกับพระมหากัสสปะว่า  “...กัสสปะ ตถาคตมีธรรมจักษุครรภ์อันถูกต้อง และนิพพานจิต ลักษณะที่แท้จริง ย่อมไม่มีลักษณะ"

2. พระนาคเสน มหาเถระ พระอรหันต์สมัยพุทธปรินิพพานไป ๕๐๐ ปี ผู้ตอบปัญหาพระเจ้ามิลินทราชา กล่าวว่า:

..... พระพุทธเจ้ามีจริง แต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานดับขันธ์แล้ว ไม่อาจชี้ได้ว่าอยู่ที่ไหน เหมือนเปลวไฟที่ดับแล้วก็ไม่อาจชี้ได้ว่าอยู่ที่ไหน อาจชี้ได้เพียงพระธรรมกาย ของพระพุทธเจ้าเท่านั้น........(ตัวที่ชี้ให้ดูไม่ได้คือ จิต  ตัวที่ชี้ให้ดูได้ คือ ธรรมกาย ซึ่งเป็นอายตนนพพาน)

..... นิพพานมีอยู่จริง แต่ว่าไม่มีใครอาจแสดงให้เห็นได้ว่า นิพพานมีสี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น อย่างไร

 เปรียบเหมือน ลม ที่มีอยู่จริง แต่ก็ไม่มีใครสามารถ แสดงลมให้เห็นด้วย สี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น ได้

...... นิพพานเป็นของไม่ควรกล่าวว่าเกิดขึ้นแล้ว หรือยังไม่เกิด จักต้องเกิด ไม่ควรกล่าวว่าเป็นอดีต อนาคต หรือปัจจุบัน

 ไม่ควรกล่าวว่า เป็นของต้องเห็นด้วยตา ได้ยินด้วยหู รู้ด้วยจมูก ลิ้นกาย อย่างใดเลย.........

......นิพพานเป็นของต้องรู้ด้วยใจ พระอริยสาวกผู้ปฏิบัติชอบแล้วย่อมได้เห็นนิพพาน ด้วยใจอันบริสุทธิ์ อันสงบประณีต อันเที่ยงตรง ไม่มีเครื่องกั้นกาง อันไม่มีอามิส ....

...... นิพพานไม่มีของเปรียบ ไม่อาจชี้รูป หรือสัณฐาน วัย ประมาณ แห่งนิพพานได้ด้วยอุปมา หรือด้วยเหตุ หรือด้วยปัจจัย หรือด้วยนัย .....

...... นิพพานธาตุ อันสงบ อันเป็นสุข อันประณีตนั้นมีอยู่ ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อพิจารณาสังขารตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็กระทำให้แจ้งนิพพานธาตุด้วยปัญญา.....

...... ที่ตั้งของนิพพานไม่มี นิพพานไม่ได้ตั้งอยู่ในทิศใด แต่นิพพานมี ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อเห็นความตั้งขึ้นและเสื่อมไปของสังขารทั้งหลายด้วยโยนิโสมนสิการแล้ว ก็กระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน 
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #48 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 09:06:32 »

หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

มาดูพระอภิธรรมกันให้ชัดๆ
จะได้หาย งง ในสภาพพระนิพพาน

ลองดูกันครับ  ว่าจะเชื่อคุณแถพลศักดิ์  หรือจะเชื่อพระอภิธรรมดี
ความน่าเชื่อถือได้ ควรจะเชื่ออันไหนมากกว่ากัน ?
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น



สภาพของนิพพาน

พระอภิธรรม
ปริจเฉทที่ ๖ รูปสังคหวิภาค    หน้าที่ : 84

เมื่อกล่าวโดยสามัญญลักษณะสภาพของนิพพานมีเพียง ๑ คือ อนัตตลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า ปราศจากตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่มีการเกิดแก่ เจ็บ ตาย ใด ๆ ทั้งสิ้น

      แต่นิพพาน ไม่มีอนิจจลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่เที่ยง มั่นคง ยั่งยืน ไม่แปรผัน และนิพพาน ไม่มีทุกขลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ทนอยู่ได้ ด้วยว่า ไม่มีการเกิด ไม่มีการดับ และด้วยเหตุที่นิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า จึงมีสภาพที่ทน อยู่ หรือดำรงคงอยู่ในสภาพที่ว่างเปล่านั้นตลอดไป ไม่มีอะไรที่จะมาปรุงแต่งให้ กลายเป็นไม่ว่างได้

       วิเสสลักษณะ ของนิพพาน มีเพียง ๓ ประการ คือ ลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน เท่านั้น ไม่มีปทัฏฐาน

       สนฺติ ลกฺขณา                มีความสุขสงบจากเพลิงทุกข์ เป็นลักษณะ

       อจฺจุต รสา                         มีความไม่แตกดับ เป็นกิจ (สัมปัตติรส)

       อนิมิตฺต ปจฺจุปฎฺฐานา           ไม่มีนิมิตเครื่องหมาย เป็นอาการปรากฏ

     นิสฺสรณ ปจฺจุปฏฺฐานา         มีความออกไปจากภพ เป็นผล

       ปทฏฺฐานํ น ลพฺภติ          ไม่มีเหตุใกล้ให้เกิด (เพราะนิพพานเป็นธรรม  ที่พ้นจากเหตุ จากปัจจัยทั้งปวง)

       สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงคุณอันยิ่งใหญ่ พ้นแล้วจากตัณหาเครื่อง ร้อยรัด ตรัสรู้  ธรรมส่วนหนึ่ง ธรรมที่ไม่ตาย ธรรมที่เที่ยง  ธรรมที่ปัจจัยอะไร ๆ ปรุงแต่งไม่ได้ ธรรมที่ไม่มีสิ่งใดจะประเสริฐยิ่งกว่า ธรรมนั้น คือ นิพพาน

      สภาพของนิพพาน ๕ ประการ ที่กล่าวข้างต้น มีความหมายดังนี้ คือ

๑. ปทํ แปลว่า นิพพานเป็นส่วนหนึ่ง เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่งที่เข้าถึงได้ และมีอยู่โดยเฉพาะ ไม่คลุกเคล้าด้วยโลกียธรรม

๒. อจฺจุตํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ไม่ตาย ไม่มีความเกิด และไม่มี ความตาย ไม่มีแตกดับ

๓. อจฺจนฺตํ แปลว่า ธรรมที่เที่ยง คือก้าวล่วงขันธ์ ๕ ที่เป็นอดีต และ อนาคต หมายความว่า เป็นธรรมที่พ้นจากกาลทั้ง ๓ ได้แก่ นิพพาน

๔. อสงฺขตํ แปลว่า นิพพาน ไม่ได้ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย หมายความว่า นิพพานนี้ไม่ใช่ จิต เจตสิก รูป เพราะ จิต เจตสิก รูป นั้นเป็น ธรรมที่เกิดขึ้นโดยมีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ปราศจากการปรุงแต่ง ชื่อว่า อสังขตะ ได้แก่ นิพพาน

          บัญญัติ ก็เป็นอสังขตธรรมเหมือนกัน แต่ในที่นี้กล่าวเฉพาะ ธรรมที่เป็นปรมัตถ บัญญัติไม่ใช่ปรมัตถธรรม ฉะนั้นอสังขตธรรม ในที่นี้จึงหมายถึง นิพพาน แต่อย่างเดียว

๕. อนุตฺตรํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ประเสริฐอย่างที่ไม่มีธรรมใด ๆ จะเทียมเท่า

 
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

ขอโหวตหน่อย .....
ถ้าเชื่อพลศักด์  กด * 1
ถ้าเชื่อพระอภิธรรม  กด *2

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


ข้อสงสัยข้อนี้ผมยินดีตอบ  ทั้งๆที่ตอบออกไป  คงจะมีคนเข้าใจน้อยมาก  แต่เมื่อเขาฝึกปฏิบัติไปเรื่อยๆ เขาจะเขาใจเอง

พึงระลึกว่า  ผมตอบ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของคุณนะครับ  เพราะคุณมีทิฏฐิมานะ  ไม่ยอมรับแม้แต่เรื่องเดียว  ทั้งๆที่จนมุมในทุกเรื่อง  ผมตอบเพราะมันเป็นประโยชน์กับผู้อื่นนะครับ

คุณกำลังงงเรื่องจิตและขันธ์   จิตสังขารของคุณ กับขันธ์ 5 ของคุณ มันคนละเรื่องกัน  จิตสังขาร และแม้แต่นิพพานซึ่งเป็นจิตบริสุทธิ์หรือจิตปภัสสร ล้วนเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า  จิตไม่เคยตาย  ใครก็ฆ่าไม่ได้  ฆ่าได้แต่ขันธ์หรืออายตนะที่จิตไปอาศัยอยู่

อนัตตา = สิ่งที่เป็นขันธ์ 5 (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)
ไม่มีอะไรที่เกี่ยวกับจิต(สังขาร) ซึ่งเป็นอาทิสมานกายหรือกายทิพย์
อัตตา = สิ่งที่เป็นธรรมขันธ์ ไม่ใช่นิพพานจิต

1. นิพพานเป็นจิต นิพพานจิตชี้ไม่ได้ ชี้ได้แต่ธรรมกาย ซึ่งเป็นอายตนะนิพพาน หรือขันธ์ที่จิตปภัสสรสร้างขึ้น

2. พระพุทธเจ้าตรัสกับพระมหากัสสปะว่า  “...กัสสปะ ตถาคตมีธรรมจักษุครรภ์อันถูกต้อง และนิพพานจิต ลักษณะที่แท้จริง ย่อมไม่มีลักษณะ"

2. พระนาคเสน มหาเถระ พระอรหันต์สมัยพุทธปรินิพพานไป ๕๐๐ ปี ผู้ตอบปัญหาพระเจ้ามิลินทราชา กล่าวว่า:

..... พระพุทธเจ้ามีจริง แต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานดับขันธ์แล้ว ไม่อาจชี้ได้ว่าอยู่ที่ไหน เหมือนเปลวไฟที่ดับแล้วก็ไม่อาจชี้ได้ว่าอยู่ที่ไหน อาจชี้ได้เพียงพระธรรมกาย ของพระพุทธเจ้าเท่านั้น........(ตัวที่ชี้ให้ดูไม่ได้คือ จิต  ตัวที่ชี้ให้ดูได้ คือ ธรรมกาย ซึ่งเป็นอายตนนพพาน)

..... นิพพานมีอยู่จริง แต่ว่าไม่มีใครอาจแสดงให้เห็นได้ว่า นิพพานมีสี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น อย่างไร

 เปรียบเหมือน ลม ที่มีอยู่จริง แต่ก็ไม่มีใครสามารถ แสดงลมให้เห็นด้วย สี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น ได้

...... นิพพานเป็นของไม่ควรกล่าวว่าเกิดขึ้นแล้ว หรือยังไม่เกิด จักต้องเกิด ไม่ควรกล่าวว่าเป็นอดีต อนาคต หรือปัจจุบัน

 ไม่ควรกล่าวว่า เป็นของต้องเห็นด้วยตา ได้ยินด้วยหู รู้ด้วยจมูก ลิ้นกาย อย่างใดเลย.........

......นิพพานเป็นของต้องรู้ด้วยใจ พระอริยสาวกผู้ปฏิบัติชอบแล้วย่อมได้เห็นนิพพาน ด้วยใจอันบริสุทธิ์ อันสงบประณีต อันเที่ยงตรง ไม่มีเครื่องกั้นกาง อันไม่มีอามิส ....

...... นิพพานไม่มีของเปรียบ ไม่อาจชี้รูป หรือสัณฐาน วัย ประมาณ แห่งนิพพานได้ด้วยอุปมา หรือด้วยเหตุ หรือด้วยปัจจัย หรือด้วยนัย .....

...... นิพพานธาตุ อันสงบ อันเป็นสุข อันประณีตนั้นมีอยู่ ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อพิจารณาสังขารตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็กระทำให้แจ้งนิพพานธาตุด้วยปัญญา.....

...... ที่ตั้งของนิพพานไม่มี นิพพานไม่ได้ตั้งอยู่ในทิศใด แต่นิพพานมี ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อเห็นความตั้งขึ้นและเสื่อมไปของสังขารทั้งหลายด้วยโยนิโสมนสิการแล้ว ก็กระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน 

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

จิตประภัสสร

  [๔๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่
เปลี่ยนแปลงได้เร็ว เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตเปลี่ยนแปลงได้เร็วเท่าใด
นั้น แม้จะอุปมาก็กระทำได้มิใช่ง่าย ฯ

       [๕๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง แต่ว่าจิตนั้นแล เศร้าหมอง
ด้วยอุปกิเลสที่จรมา ฯ

       [๕๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง และจิตนั้นแล พ้นวิเศษแล้ว
จากอุปกิเลสที่จรมา ฯ

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต

ที่มา  http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=20&A=161&Z=209


 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

พูดมาได้ ไม่อายปากเลยนะ 
อ่านข้อสี่สิบเก้าให้ดีๆ
ว่าจิตประภัสสร เปลี่ยนแปลงได้เร็วขนาดไหน
ตราบใดไม่สิ้นกิเลส 

ความเปลี่ยนแปลงได้เร็ว เช่นนี้แหละ เรียกว่า เป็นอนัตตา

อย่ามามั่ว กับนิพพาน
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น







บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #49 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 09:16:43 »

อ้างอิงคำพูดคุณเดียรถีย์พลศักดิ์

..... นิพพานมีอยู่จริง แต่ว่าไม่มีใครอาจแสดงให้เห็นได้ว่า นิพพานมีสี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น อย่างไร

 เปรียบเหมือน ลม ที่มีอยู่จริง แต่ก็ไม่มีใครสามารถ แสดงลมให้เห็นด้วย สี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น ได้

...... นิพพานเป็นของไม่ควรกล่าวว่าเกิดขึ้นแล้ว หรือยังไม่เกิด จักต้องเกิด ไม่ควรกล่าวว่าเป็นอดีต อนาคต หรือปัจจุบัน

 ไม่ควรกล่าวว่า เป็นของต้องเห็นด้วยตา ได้ยินด้วยหู รู้ด้วยจมูก ลิ้นกาย อย่างใดเลย.........

......นิพพานเป็นของต้องรู้ด้วยใจ พระอริยสาวกผู้ปฏิบัติชอบแล้วย่อมได้เห็นนิพพาน ด้วยใจอันบริสุทธิ์ อันสงบประณีต อันเที่ยงตรง ไม่มีเครื่องกั้นกาง อันไม่มีอามิส ....

...... นิพพานไม่มีของเปรียบ ไม่อาจชี้รูป หรือสัณฐาน วัย ประมาณ แห่งนิพพานได้ด้วยอุปมา หรือด้วยเหตุ หรือด้วยปัจจัย หรือด้วยนัย .....

...... นิพพานธาตุ อันสงบ อันเป็นสุข อันประณีตนั้นมีอยู่ ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อพิจารณาสังขารตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็กระทำให้แจ้งนิพพานธาตุด้วยปัญญา.....

...... ที่ตั้งของนิพพานไม่มี นิพพานไม่ได้ตั้งอยู่ในทิศใด แต่นิพพานมี ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อเห็นความตั้งขึ้นและเสื่อมไปของสังขารทั้งหลายด้วยโยนิโสมนสิการแล้ว ก็กระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน 



 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

แล้วทีนี้ ก็เอานิพพานจิต  ที่คุณโพสต์เองนี่แหละ
ไปดูจิตประภัสสร ที่พระพุทธเจ้าตรัส

ก้างชิ้นใหญ่ ก็จะติดคอ ตำคอ คุณเอง

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า
phonsak
นักโพสท์ระดับ 8
***

คะแนนความดี: +1/-2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 306


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #50 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 12:41:16 »

หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

มาดูพระอภิธรรมกันให้ชัดๆ
จะได้หาย งง ในสภาพพระนิพพาน

ลองดูกันครับ  ว่าจะเชื่อคุณแถพลศักดิ์  หรือจะเชื่อพระอภิธรรมดี
ความน่าเชื่อถือได้ ควรจะเชื่ออันไหนมากกว่ากัน ?
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น



สภาพของนิพพาน

พระอภิธรรม
ปริจเฉทที่ ๖ รูปสังคหวิภาค    หน้าที่ : 84

เมื่อกล่าวโดยสามัญญลักษณะสภาพของนิพพานมีเพียง ๑ คือ อนัตตลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า ปราศจากตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่มีการเกิดแก่ เจ็บ ตาย ใด ๆ ทั้งสิ้น

      แต่นิพพาน ไม่มีอนิจจลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่เที่ยง มั่นคง ยั่งยืน ไม่แปรผัน และนิพพาน ไม่มีทุกขลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ทนอยู่ได้ ด้วยว่า ไม่มีการเกิด ไม่มีการดับ และด้วยเหตุที่นิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า จึงมีสภาพที่ทน อยู่ หรือดำรงคงอยู่ในสภาพที่ว่างเปล่านั้นตลอดไป ไม่มีอะไรที่จะมาปรุงแต่งให้ กลายเป็นไม่ว่างได้

       วิเสสลักษณะ ของนิพพาน มีเพียง ๓ ประการ คือ ลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน เท่านั้น ไม่มีปทัฏฐาน

       สนฺติ ลกฺขณา                มีความสุขสงบจากเพลิงทุกข์ เป็นลักษณะ

       อจฺจุต รสา                         มีความไม่แตกดับ เป็นกิจ (สัมปัตติรส)

       อนิมิตฺต ปจฺจุปฎฺฐานา           ไม่มีนิมิตเครื่องหมาย เป็นอาการปรากฏ

     นิสฺสรณ ปจฺจุปฏฺฐานา         มีความออกไปจากภพ เป็นผล

       ปทฏฺฐานํ น ลพฺภติ          ไม่มีเหตุใกล้ให้เกิด (เพราะนิพพานเป็นธรรม  ที่พ้นจากเหตุ จากปัจจัยทั้งปวง)

       สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงคุณอันยิ่งใหญ่ พ้นแล้วจากตัณหาเครื่อง ร้อยรัด ตรัสรู้  ธรรมส่วนหนึ่ง ธรรมที่ไม่ตาย ธรรมที่เที่ยง  ธรรมที่ปัจจัยอะไร ๆ ปรุงแต่งไม่ได้ ธรรมที่ไม่มีสิ่งใดจะประเสริฐยิ่งกว่า ธรรมนั้น คือ นิพพาน

      สภาพของนิพพาน ๕ ประการ ที่กล่าวข้างต้น มีความหมายดังนี้ คือ

๑. ปทํ แปลว่า นิพพานเป็นส่วนหนึ่ง เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่งที่เข้าถึงได้ และมีอยู่โดยเฉพาะ ไม่คลุกเคล้าด้วยโลกียธรรม

๒. อจฺจุตํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ไม่ตาย ไม่มีความเกิด และไม่มี ความตาย ไม่มีแตกดับ

๓. อจฺจนฺตํ แปลว่า ธรรมที่เที่ยง คือก้าวล่วงขันธ์ ๕ ที่เป็นอดีต และ อนาคต หมายความว่า เป็นธรรมที่พ้นจากกาลทั้ง ๓ ได้แก่ นิพพาน

๔. อสงฺขตํ แปลว่า นิพพาน ไม่ได้ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย หมายความว่า นิพพานนี้ไม่ใช่ จิต เจตสิก รูป เพราะ จิต เจตสิก รูป นั้นเป็น ธรรมที่เกิดขึ้นโดยมีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ปราศจากการปรุงแต่ง ชื่อว่า อสังขตะ ได้แก่ นิพพาน

          บัญญัติ ก็เป็นอสังขตธรรมเหมือนกัน แต่ในที่นี้กล่าวเฉพาะ ธรรมที่เป็นปรมัตถ บัญญัติไม่ใช่ปรมัตถธรรม ฉะนั้นอสังขตธรรม ในที่นี้จึงหมายถึง นิพพาน แต่อย่างเดียว

๕. อนุตฺตรํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ประเสริฐอย่างที่ไม่มีธรรมใด ๆ จะเทียมเท่า

 
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

ขอโหวตหน่อย .....
ถ้าเชื่อพลศักด์  กด * 1
ถ้าเชื่อพระอภิธรรม  กด *2

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


ข้อสงสัยข้อนี้ผมยินดีตอบ  ทั้งๆที่ตอบออกไป  คงจะมีคนเข้าใจน้อยมาก  แต่เมื่อเขาฝึกปฏิบัติไปเรื่อยๆ เขาจะเขาใจเอง

พึงระลึกว่า  ผมตอบ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของคุณนะครับ  เพราะคุณมีทิฏฐิมานะ  ไม่ยอมรับแม้แต่เรื่องเดียว  ทั้งๆที่จนมุมในทุกเรื่อง  ผมตอบเพราะมันเป็นประโยชน์กับผู้อื่นนะครับ

คุณกำลังงงเรื่องจิตและขันธ์   จิตสังขารของคุณ กับขันธ์ 5 ของคุณ มันคนละเรื่องกัน  จิตสังขาร และแม้แต่นิพพานซึ่งเป็นจิตบริสุทธิ์หรือจิตปภัสสร ล้วนเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า  จิตไม่เคยตาย  ใครก็ฆ่าไม่ได้  ฆ่าได้แต่ขันธ์หรืออายตนะที่จิตไปอาศัยอยู่

อนัตตา = สิ่งที่เป็นขันธ์ 5 (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)
ไม่มีอะไรที่เกี่ยวกับจิต(สังขาร) ซึ่งเป็นอาทิสมานกายหรือกายทิพย์
อัตตา = สิ่งที่เป็นธรรมขันธ์ ไม่ใช่นิพพานจิต

1. นิพพานเป็นจิต นิพพานจิตชี้ไม่ได้ ชี้ได้แต่ธรรมกาย ซึ่งเป็นอายตนะนิพพาน หรือขันธ์ที่จิตปภัสสรสร้างขึ้น

2. พระพุทธเจ้าตรัสกับพระมหากัสสปะว่า  “...กัสสปะ ตถาคตมีธรรมจักษุครรภ์อันถูกต้อง และนิพพานจิต ลักษณะที่แท้จริง ย่อมไม่มีลักษณะ"

2. พระนาคเสน มหาเถระ พระอรหันต์สมัยพุทธปรินิพพานไป ๕๐๐ ปี ผู้ตอบปัญหาพระเจ้ามิลินทราชา กล่าวว่า:

..... พระพุทธเจ้ามีจริง แต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานดับขันธ์แล้ว ไม่อาจชี้ได้ว่าอยู่ที่ไหน เหมือนเปลวไฟที่ดับแล้วก็ไม่อาจชี้ได้ว่าอยู่ที่ไหน อาจชี้ได้เพียงพระธรรมกาย ของพระพุทธเจ้าเท่านั้น........(ตัวที่ชี้ให้ดูไม่ได้คือ จิต  ตัวที่ชี้ให้ดูได้ คือ ธรรมกาย ซึ่งเป็นอายตนนพพาน)

..... นิพพานมีอยู่จริง แต่ว่าไม่มีใครอาจแสดงให้เห็นได้ว่า นิพพานมีสี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น อย่างไร

 เปรียบเหมือน ลม ที่มีอยู่จริง แต่ก็ไม่มีใครสามารถ แสดงลมให้เห็นด้วย สี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น ได้

...... นิพพานเป็นของไม่ควรกล่าวว่าเกิดขึ้นแล้ว หรือยังไม่เกิด จักต้องเกิด ไม่ควรกล่าวว่าเป็นอดีต อนาคต หรือปัจจุบัน

 ไม่ควรกล่าวว่า เป็นของต้องเห็นด้วยตา ได้ยินด้วยหู รู้ด้วยจมูก ลิ้นกาย อย่างใดเลย.........

......นิพพานเป็นของต้องรู้ด้วยใจ พระอริยสาวกผู้ปฏิบัติชอบแล้วย่อมได้เห็นนิพพาน ด้วยใจอันบริสุทธิ์ อันสงบประณีต อันเที่ยงตรง ไม่มีเครื่องกั้นกาง อันไม่มีอามิส ....

...... นิพพานไม่มีของเปรียบ ไม่อาจชี้รูป หรือสัณฐาน วัย ประมาณ แห่งนิพพานได้ด้วยอุปมา หรือด้วยเหตุ หรือด้วยปัจจัย หรือด้วยนัย .....

...... นิพพานธาตุ อันสงบ อันเป็นสุข อันประณีตนั้นมีอยู่ ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อพิจารณาสังขารตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็กระทำให้แจ้งนิพพานธาตุด้วยปัญญา.....

...... ที่ตั้งของนิพพานไม่มี นิพพานไม่ได้ตั้งอยู่ในทิศใด แต่นิพพานมี ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อเห็นความตั้งขึ้นและเสื่อมไปของสังขารทั้งหลายด้วยโยนิโสมนสิการแล้ว ก็กระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน 

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

จิตประภัสสร

  [๔๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่
เปลี่ยนแปลงได้เร็ว เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตเปลี่ยนแปลงได้เร็วเท่าใด
นั้น แม้จะอุปมาก็กระทำได้มิใช่ง่าย ฯ

       [๕๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง แต่ว่าจิตนั้นแล เศร้าหมอง
ด้วยอุปกิเลสที่จรมา ฯ

       [๕๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง และจิตนั้นแล พ้นวิเศษแล้ว
จากอุปกิเลสที่จรมา ฯ

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต

ที่มา  http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=20&A=161&Z=209


 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

พูดมาได้ ไม่อายปากเลยนะ 
อ่านข้อสี่สิบเก้าให้ดีๆ
ว่าจิตประภัสสร เปลี่ยนแปลงได้เร็วขนาดไหน
ตราบใดไม่สิ้นกิเลส 

ความเปลี่ยนแปลงได้เร็ว เช่นนี้แหละ เรียกว่า เป็นอนัตตา

อย่ามามั่ว กับนิพพาน
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น








หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

มาดูพระอภิธรรมกันให้ชัดๆ
จะได้หาย งง ในสภาพพระนิพพาน

ลองดูกันครับ  ว่าจะเชื่อคุณแถพลศักดิ์  หรือจะเชื่อพระอภิธรรมดี
ความน่าเชื่อถือได้ ควรจะเชื่ออันไหนมากกว่ากัน ?
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น



สภาพของนิพพาน

พระอภิธรรม
ปริจเฉทที่ ๖ รูปสังคหวิภาค    หน้าที่ : 84

เมื่อกล่าวโดยสามัญญลักษณะสภาพของนิพพานมีเพียง ๑ คือ อนัตตลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า ปราศจากตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่มีการเกิดแก่ เจ็บ ตาย ใด ๆ ทั้งสิ้น

      แต่นิพพาน ไม่มีอนิจจลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่เที่ยง มั่นคง ยั่งยืน ไม่แปรผัน และนิพพาน ไม่มีทุกขลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ทนอยู่ได้ ด้วยว่า ไม่มีการเกิด ไม่มีการดับ และด้วยเหตุที่นิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า จึงมีสภาพที่ทน อยู่ หรือดำรงคงอยู่ในสภาพที่ว่างเปล่านั้นตลอดไป ไม่มีอะไรที่จะมาปรุงแต่งให้ กลายเป็นไม่ว่างได้

       วิเสสลักษณะ ของนิพพาน มีเพียง ๓ ประการ คือ ลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน เท่านั้น ไม่มีปทัฏฐาน

       สนฺติ ลกฺขณา                มีความสุขสงบจากเพลิงทุกข์ เป็นลักษณะ

       อจฺจุต รสา                         มีความไม่แตกดับ เป็นกิจ (สัมปัตติรส)

       อนิมิตฺต ปจฺจุปฎฺฐานา           ไม่มีนิมิตเครื่องหมาย เป็นอาการปรากฏ

     นิสฺสรณ ปจฺจุปฏฺฐานา         มีความออกไปจากภพ เป็นผล

       ปทฏฺฐานํ น ลพฺภติ          ไม่มีเหตุใกล้ให้เกิด (เพราะนิพพานเป็นธรรม  ที่พ้นจากเหตุ จากปัจจัยทั้งปวง)

       สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงคุณอันยิ่งใหญ่ พ้นแล้วจากตัณหาเครื่อง ร้อยรัด ตรัสรู้  ธรรมส่วนหนึ่ง ธรรมที่ไม่ตาย ธรรมที่เที่ยง  ธรรมที่ปัจจัยอะไร ๆ ปรุงแต่งไม่ได้ ธรรมที่ไม่มีสิ่งใดจะประเสริฐยิ่งกว่า ธรรมนั้น คือ นิพพาน

      สภาพของนิพพาน ๕ ประการ ที่กล่าวข้างต้น มีความหมายดังนี้ คือ

๑. ปทํ แปลว่า นิพพานเป็นส่วนหนึ่ง เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่งที่เข้าถึงได้ และมีอยู่โดยเฉพาะ ไม่คลุกเคล้าด้วยโลกียธรรม

๒. อจฺจุตํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ไม่ตาย ไม่มีความเกิด และไม่มี ความตาย ไม่มีแตกดับ

๓. อจฺจนฺตํ แปลว่า ธรรมที่เที่ยง คือก้าวล่วงขันธ์ ๕ ที่เป็นอดีต และ อนาคต หมายความว่า เป็นธรรมที่พ้นจากกาลทั้ง ๓ ได้แก่ นิพพาน

๔. อสงฺขตํ แปลว่า นิพพาน ไม่ได้ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย หมายความว่า นิพพานนี้ไม่ใช่ จิต เจตสิก รูป เพราะ จิต เจตสิก รูป นั้นเป็น ธรรมที่เกิดขึ้นโดยมีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ปราศจากการปรุงแต่ง ชื่อว่า อสังขตะ ได้แก่ นิพพาน

          บัญญัติ ก็เป็นอสังขตธรรมเหมือนกัน แต่ในที่นี้กล่าวเฉพาะ ธรรมที่เป็นปรมัตถ บัญญัติไม่ใช่ปรมัตถธรรม ฉะนั้นอสังขตธรรม ในที่นี้จึงหมายถึง นิพพาน แต่อย่างเดียว

๕. อนุตฺตรํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ประเสริฐอย่างที่ไม่มีธรรมใด ๆ จะเทียมเท่า

 
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

ขอโหวตหน่อย .....
ถ้าเชื่อพลศักด์  กด * 1
ถ้าเชื่อพระอภิธรรม  กด *2

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


ข้อสงสัยข้อนี้ผมยินดีตอบ  ทั้งๆที่ตอบออกไป  คงจะมีคนเข้าใจน้อยมาก  แต่เมื่อเขาฝึกปฏิบัติไปเรื่อยๆ เขาจะเขาใจเอง

พึงระลึกว่า  ผมตอบ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของคุณนะครับ  เพราะคุณมีทิฏฐิมานะ  ไม่ยอมรับแม้แต่เรื่องเดียว  ทั้งๆที่จนมุมในทุกเรื่อง  ผมตอบเพราะมันเป็นประโยชน์กับผู้อื่นนะครับ

คุณกำลังงงเรื่องจิตและขันธ์   จิตสังขารของคุณ กับขันธ์ 5 ของคุณ มันคนละเรื่องกัน  จิตสังขาร และแม้แต่นิพพานซึ่งเป็นจิตบริสุทธิ์หรือจิตปภัสสร ล้วนเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า  จิตไม่เคยตาย  ใครก็ฆ่าไม่ได้  ฆ่าได้แต่ขันธ์หรืออายตนะที่จิตไปอาศัยอยู่

อนัตตา = สิ่งที่เป็นขันธ์ 5 (รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)
ไม่มีอะไรที่เกี่ยวกับจิต(สังขาร) ซึ่งเป็นอาทิสมานกายหรือกายทิพย์
อัตตา = สิ่งที่เป็นธรรมขันธ์ ไม่ใช่นิพพานจิต

1. นิพพานเป็นจิต นิพพานจิตชี้ไม่ได้ ชี้ได้แต่ธรรมกาย ซึ่งเป็นอายตนะนิพพาน หรือขันธ์ที่จิตปภัสสรสร้างขึ้น

2. พระพุทธเจ้าตรัสกับพระมหากัสสปะว่า  “...กัสสปะ ตถาคตมีธรรมจักษุครรภ์อันถูกต้อง และนิพพานจิต ลักษณะที่แท้จริง ย่อมไม่มีลักษณะ"

2. พระนาคเสน มหาเถระ พระอรหันต์สมัยพุทธปรินิพพานไป ๕๐๐ ปี ผู้ตอบปัญหาพระเจ้ามิลินทราชา กล่าวว่า:

..... พระพุทธเจ้ามีจริง แต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานดับขันธ์แล้ว ไม่อาจชี้ได้ว่าอยู่ที่ไหน เหมือนเปลวไฟที่ดับแล้วก็ไม่อาจชี้ได้ว่าอยู่ที่ไหน อาจชี้ได้เพียงพระธรรมกาย ของพระพุทธเจ้าเท่านั้น........(ตัวที่ชี้ให้ดูไม่ได้คือ จิต  ตัวที่ชี้ให้ดูได้ คือ ธรรมกาย ซึ่งเป็นอายตนนพพาน)

..... นิพพานมีอยู่จริง แต่ว่าไม่มีใครอาจแสดงให้เห็นได้ว่า นิพพานมีสี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น อย่างไร

 เปรียบเหมือน ลม ที่มีอยู่จริง แต่ก็ไม่มีใครสามารถ แสดงลมให้เห็นด้วย สี สัณฐาน เล็ก ใหญ่ ยาว สั้น ได้

...... นิพพานเป็นของไม่ควรกล่าวว่าเกิดขึ้นแล้ว หรือยังไม่เกิด จักต้องเกิด ไม่ควรกล่าวว่าเป็นอดีต อนาคต หรือปัจจุบัน

 ไม่ควรกล่าวว่า เป็นของต้องเห็นด้วยตา ได้ยินด้วยหู รู้ด้วยจมูก ลิ้นกาย อย่างใดเลย.........

......นิพพานเป็นของต้องรู้ด้วยใจ พระอริยสาวกผู้ปฏิบัติชอบแล้วย่อมได้เห็นนิพพาน ด้วยใจอันบริสุทธิ์ อันสงบประณีต อันเที่ยงตรง ไม่มีเครื่องกั้นกาง อันไม่มีอามิส ....

...... นิพพานไม่มีของเปรียบ ไม่อาจชี้รูป หรือสัณฐาน วัย ประมาณ แห่งนิพพานได้ด้วยอุปมา หรือด้วยเหตุ หรือด้วยปัจจัย หรือด้วยนัย .....

...... นิพพานธาตุ อันสงบ อันเป็นสุข อันประณีตนั้นมีอยู่ ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อพิจารณาสังขารตามคำสอนของพระพุทธเจ้า ก็กระทำให้แจ้งนิพพานธาตุด้วยปัญญา.....

...... ที่ตั้งของนิพพานไม่มี นิพพานไม่ได้ตั้งอยู่ในทิศใด แต่นิพพานมี ผู้ปฏิบัติชอบ เมื่อเห็นความตั้งขึ้นและเสื่อมไปของสังขารทั้งหลายด้วยโยนิโสมนสิการแล้ว ก็กระทำให้แจ้งซึ่งนิพพาน 

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

จิตประภัสสร

  [๔๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่เล็งเห็นธรรมอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่
เปลี่ยนแปลงได้เร็ว เหมือนจิต ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตเปลี่ยนแปลงได้เร็วเท่าใด
นั้น แม้จะอุปมาก็กระทำได้มิใช่ง่าย ฯ

       [๕๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง แต่ว่าจิตนั้นแล เศร้าหมอง
ด้วยอุปกิเลสที่จรมา ฯ

       [๕๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตนี้ผุดผ่อง และจิตนั้นแล พ้นวิเศษแล้ว
จากอุปกิเลสที่จรมา ฯ

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต

ที่มา  http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=20&A=161&Z=209


 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

พูดมาได้ ไม่อายปากเลยนะ 
อ่านข้อสี่สิบเก้าให้ดีๆ
ว่าจิตประภัสสร เปลี่ยนแปลงได้เร็วขนาดไหน
ตราบใดไม่สิ้นกิเลส 

ความเปลี่ยนแปลงได้เร็ว เช่นนี้แหละ เรียกว่า เป็นอนัตตา

อย่ามามั่ว กับนิพพาน
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น









หลวงปู่ฝั้น อาจาโร

"จิตวิญญาณมันไม่ใช่ของแตกของทำลาย แลไม่ใช่ของสูญหาย พระพุทธเจ้าสอนให้จิตมันเที่ยง เหมือนพระนิพพานเป็นของเที่ยง ไม่แปรผัน ยักย้าย สิ่งใดไม่เที่ยงสิ่งนั้นเป็นทุกข์.


พระเทพสิทธิมุนี
(พระอาจารย์โชฎก ญาณสิทธิ)

" พระอรหันต์มี ความว่างจากตัวตน-ของตน โดยสิ้นเชิง มีอิสระเหนือทุกอย่าง ที่เรียกว่า "ว่าง" นี้ คือไม่ใช่ว่างชนิดที่เขาพูดกันว่า เช่นว่า จิตนึกคิดอะไรไม่ได้ กายก็แข็งทื่อเป็นท่อนไม้ แต่ที่ถูกนั้น เป็นความว่างจากกิเลส ว่างที่เฉลียวฉลาดที่สุด"
บันทึกการเข้า
phonsak
นักโพสท์ระดับ 8
***

คะแนนความดี: +1/-2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 306


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #51 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 12:55:14 »

อ้างอิงคำพูดคุณเดียรถีย์พลศักดิ์


ผมคงไม่อ่านอะไรที่คุณต้องการถามหรอต้องการถก  คุณต้องไปถามพ่อคุณ หรือเมียของคุณดูว่า  ข้อความของคุณดูถูกด่าว่าเขาตลอด  แล้วยังไปถามเรื่องสูงสุดที่ตัวคุณเองไม่มีทางรู้ แล้วตอบเองไม่ได้กับเขาอีก

เมื่อไรที่พ่อของคุณหรือเมียของคุณยอมตอบ  เมื่อนั้นผมจะมาตอบปัญหาต่างๆที่คุณสงสัย

เมื่อผมเป็นเดียรถีย์พลศักดิ์   จะมาถามผมทำไมล่ะ  ผมให้โอกาสคุณอีกครั้ง  กราบเท้าคุณพลศักดิ์ และคารวะผมเป็นอาจารย์  ถ้าอยากจะรู้คำตอบในสิ่งที่ตัวคุณเองสงสัยมาทั้งชีวิต และไม่มีทางรู้ได้ด้วยตนเอง  คิดจะยั่วผม  แล้วจะให้ผมตอบ เมินเสียเถิดน้อง.... ขำ บ๊าบบาย  อกหัก
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #52 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 16:00:23 »

อ้างอิงคำพูดคุณเดียรถีย์พลศักดิ์


ผมคงไม่อ่านอะไรที่คุณต้องการถามหรอต้องการถก  คุณต้องไปถามพ่อคุณ หรือเมียของคุณดูว่า  ข้อความของคุณดูถูกด่าว่าเขาตลอด  แล้วยังไปถามเรื่องสูงสุดที่ตัวคุณเองไม่มีทางรู้ แล้วตอบเองไม่ได้กับเขาอีก

เมื่อไรที่พ่อของคุณหรือเมียของคุณยอมตอบ  เมื่อนั้นผมจะมาตอบปัญหาต่างๆที่คุณสงสัย

เมื่อผมเป็นเดียรถีย์พลศักดิ์   จะมาถามผมทำไมล่ะ  ผมให้โอกาสคุณอีกครั้ง  กราบเท้าคุณพลศักดิ์ และคารวะผมเป็นอาจารย์  ถ้าอยากจะรู้คำตอบในสิ่งที่ตัวคุณเองสงสัยมาทั้งชีวิต และไม่มีทางรู้ได้ด้วยตนเอง  คิดจะยั่วผม  แล้วจะให้ผมตอบ เมินเสียเถิดน้อง.... ขำ บ๊าบบาย  อกหัก


 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

คุณเดียรถึย์ .....จนตรอก ...

หาธรรมะมา ....มาตอบไม่ได้ ...
จะไปแว้งกัดเมีย.... กัดพ่อผม.....อีก

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

คุณเดียรถีย์พ่นสาก

หาความน่าเชื่อถือไม่ได้...
จับแพะชนแกะ ไปวันๆ

ได้แต่แถไปวันๆ.... เอาศาสนาอื่นมามั่ว...มาตอบ...ส่งเดช

เป้นบุคลที่ความน่าเชื่อถือ ล้มละลาย...แล้ว

ลงเวทีไปได้เลย...

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #53 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 16:12:30 »

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

เอาพระอภิธรรม ...มาให้อ่านอีกรอบ
จะได้เห็นชัดๆ ว่า ...

โมฆะบุรุษ ....บิดเบือนพระธรรม ว่านิพพาน เป็นอัตตา 
แย้งพระอธิธรรม ...
แถมแอบอ้าง เชิดชูศาสนาอื่น นิกายอิ่น มาแถตอบมั่วๆ
อันเป็น ...วาทะของเหล่าเดียรถีย์ และปริพาชก

ล้มละลาย ความน่าเชื่อถือเสียแล้ว
ความประสงค์ ที่แฝงมา เพื่อทำลายพระศาสนาเถรวาท
ดั่งปนิธาน ที่คุณพลศักดิ์ ได้กล่าวย้ำเสมอๆ
ว่ามาเพื่อทำลายพระศาสนา

ของให้รู้ว่า ...ความพยายามของคุณ...
เป็นหมัน ...เสียแล้ว

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


สภาพของนิพพาน

พระอภิธรรม
ปริจเฉทที่ ๖ รูปสังคหวิภาค    หน้าที่ : 84

เมื่อกล่าวโดยสามัญญลักษณะสภาพของนิพพานมีเพียง ๑ คือ อนัตตลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า ปราศจากตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่มีการเกิดแก่ เจ็บ ตาย ใด ๆ ทั้งสิ้น

      แต่นิพพาน ไม่มีอนิจจลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่เที่ยง มั่นคง ยั่งยืน ไม่แปรผัน และนิพพาน ไม่มีทุกขลักษณะ เพราะนิพพานเป็นสิ่งที่ทนอยู่ได้ ด้วยว่า ไม่มีการเกิด ไม่มีการดับ และด้วยเหตุที่นิพพานเป็นสิ่งที่ว่างเปล่า จึงมีสภาพที่ทน อยู่ หรือดำรงคงอยู่ในสภาพที่ว่างเปล่านั้นตลอดไป ไม่มีอะไรที่จะมาปรุงแต่งให้ กลายเป็นไม่ว่างได้

       วิเสสลักษณะ ของนิพพาน มีเพียง ๓ ประการ คือ ลักษณะ รสะ ปัจจุปัฏฐาน เท่านั้น ไม่มีปทัฏฐาน

       สนฺติ ลกฺขณา                มีความสุขสงบจากเพลิงทุกข์ เป็นลักษณะ

       อจฺจุต รสา                         มีความไม่แตกดับ เป็นกิจ (สัมปัตติรส)

       อนิมิตฺต ปจฺจุปฎฺฐานา           ไม่มีนิมิตเครื่องหมาย เป็นอาการปรากฏ

     นิสฺสรณ ปจฺจุปฏฺฐานา         มีความออกไปจากภพ เป็นผล

       ปทฏฺฐานํ น ลพฺภติ          ไม่มีเหตุใกล้ให้เกิด (เพราะนิพพานเป็นธรรม  ที่พ้นจากเหตุ จากปัจจัยทั้งปวง)

       สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้แสวงคุณอันยิ่งใหญ่ พ้นแล้วจากตัณหาเครื่อง ร้อยรัด ตรัสรู้  ธรรมส่วนหนึ่ง ธรรมที่ไม่ตาย ธรรมที่เที่ยง  ธรรมที่ปัจจัยอะไร ๆ ปรุงแต่งไม่ได้ ธรรมที่ไม่มีสิ่งใดจะประเสริฐยิ่งกว่า ธรรมนั้น คือ นิพพาน

      สภาพของนิพพาน ๕ ประการ ที่กล่าวข้างต้น มีความหมายดังนี้ คือ

๑. ปทํ แปลว่า นิพพานเป็นส่วนหนึ่ง เป็นธรรมชาติชนิดหนึ่งที่เข้าถึงได้ และมีอยู่โดยเฉพาะ ไม่คลุกเคล้าด้วยโลกียธรรม

๒. อจฺจุตํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ไม่ตาย ไม่มีความเกิด และไม่มี ความตาย ไม่มีแตกดับ

๓. อจฺจนฺตํ แปลว่า ธรรมที่เที่ยง คือก้าวล่วงขันธ์ ๕ ที่เป็นอดีต และ อนาคต หมายความว่า เป็นธรรมที่พ้นจากกาลทั้ง ๓ ได้แก่ นิพพาน

๔. อสงฺขตํ แปลว่า นิพพาน ไม่ได้ถูกปรุงแต่งด้วยปัจจัย หมายความว่า นิพพานนี้ไม่ใช่ จิต เจตสิก รูป เพราะ จิต เจตสิก รูป นั้นเป็น ธรรมที่เกิดขึ้นโดยมีปัจจัยปรุงแต่ง สภาวธรรมที่ปราศจากการปรุงแต่ง ชื่อว่า อสังขตะ ได้แก่ นิพพาน

          บัญญัติ ก็เป็นอสังขตธรรมเหมือนกัน แต่ในที่นี้กล่าวเฉพาะ ธรรมที่เป็นปรมัตถ บัญญัติไม่ใช่ปรมัตถธรรม ฉะนั้นอสังขตธรรม ในที่นี้จึงหมายถึง นิพพาน แต่อย่างเดียว

๕. อนุตฺตรํ แปลว่า นิพพาน เป็นธรรมที่ประเสริฐอย่างที่ไม่มีธรรมใด ๆ จะเทียมเท่า

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


ยังมีเวลาให้โหวตครับพี่น้อง


ถ้าเชื่อพลศักดิ์  กด* 1
ถ้าเชื่อพระอภิธรรม  กด *2

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น







บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #54 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 16:33:14 »

ยืนยัน สภาวะเดียรถีย์ .... ของ.... เดียรถีย์พลศักดิ์ ...บุตรของพระเจ้า
ที่ชอบเอาศาสนาอื่น มามั่ว มาสอดแทรก

ลองอ่าน

   
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

[๕๘๓] คำว่า ชนเหล่าใด ย่อมสรรเสริญธรรมอื่นจากธรรมนี้ ชนเหล่านั้น ย่อม
เป็นผู้พลาดทางแห่งความหมดจด เป็นผู้ไม่บริบูรณ์ ความว่า ชนเหล่าใด ย่อมสรรเสริญธรรม
คือ ทิฏฐิ ปฏิปทา มรรค อื่นจากธรรมนี้ ชนเหล่านั้น ย่อมเป็นผู้ พลั้ง พลาด คลาด
เคลื่อนทางแห่งความหมดจด ทางแห่งความหมดจดวิเศษ ทางแห่งความหมดจดรอบ ทางแห่ง
ความขาว ทางแห่งความขาวรอบ ชื่อว่าพลาดจากอรหัตผล เป็นผู้ไม่บริบูรณ์ ไม่เต็มเปี่ยม ไม่
เต็มรอบ คือ เป็นพวกเลว ทราม ต่ำช้า ลามก สกปรก ต่ำต้อย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า
ชนเหล่าใด ย่อมสรรเสริญธรรมอื่นจากธรรมนี้ ชนเหล่านั้น ย่อมเป็นผู้พลาดทางแห่งความหมด
จด เป็นผู้ไม่บริบูรณ์.

http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=29&A=6685&Z=6832&pagebreak=0
บันทึกการเข้า
phonsak
นักโพสท์ระดับ 8
***

คะแนนความดี: +1/-2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 306


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #55 เมื่อ: 29 ธันวาคม 2553 19:33:41 »

กราบเท้าผมเป็นอาจารย์เมื่อไร  ผมจะมาตอบคำถามและความสงสับของคุณ   ไม่งั้นสิ่งที่คุณสงสัย และอยากรู้อยากเห็น  จะไม่มีทางได้รับคำตอบเด็ดขาด

คนประเภทคุณ  ผมต้องสั่งสอนให้เข็ด  อยากพูดอะไรก็พูดไป แบร่ แบร่ แบร่ บ๊าบบาย บ๊าบบาย

สงสัยเข้าไปให้หัวระเบิด  ก็ไม่มีทางได้รับคำตอบจากผม   หลับ หลับ หลับ
บันทึกการเข้า
WangJai
นักโพสท์ระดับ 5
*****

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 34


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Firefox 3.0.13 Firefox 3.0.13


ดูรายละเอียด
« ตอบ #56 เมื่อ: 30 ธันวาคม 2553 00:09:35 »

อ้างอิงคำพูดคุณเดียรถีย์พลศักดิ์


ผมคงไม่อ่านอะไรที่คุณต้องการถามหรอต้องการถก  คุณต้องไปถามพ่อคุณ หรือเมียของคุณดูว่า  ข้อความของคุณดูถูกด่าว่าเขาตลอด  แล้วยังไปถามเรื่องสูงสุดที่ตัวคุณเองไม่มีทางรู้ แล้วตอบเองไม่ได้กับเขาอีก

เมื่อไรที่พ่อของคุณหรือเมียของคุณยอมตอบ  เมื่อนั้นผมจะมาตอบปัญหาต่างๆที่คุณสงสัย

เมื่อผมเป็นเดียรถีย์พลศักดิ์   จะมาถามผมทำไมล่ะ  ผมให้โอกาสคุณอีกครั้ง  กราบเท้าคุณพลศักดิ์ และคารวะผมเป็นอาจารย์  ถ้าอยากจะรู้คำตอบในสิ่งที่ตัวคุณเองสงสัยมาทั้งชีวิต และไม่มีทางรู้ได้ด้วยตนเอง  คิดจะยั่วผม  แล้วจะให้ผมตอบ เมินเสียเถิดน้อง.... ขำ บ๊าบบาย  อกหัก

 ขำ กิ๊วๆ หมดภูมิแล้วละซี ไม่มีปัญญาเอาธรรมะมาแก้ ก็ยังจะแถเอาหน้ารอด อะนะ

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #57 เมื่อ: 30 ธันวาคม 2553 00:55:48 »

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


เดียรถีย์....จนตรอก...

เอาธรรมะ มาตอบไม่ได้ ก็แถ...โกยอ้าว

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า
คำค้น:
หน้า:  1 2 [3]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน


หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
หัวข้อ เริ่มโดย ตอบ อ่าน กระทู้ล่าสุด
ทุกข์เพราะไปผูกพันกับสิ่งที่เปลี่ยนแปลง
ไขปัญหาโลก ธรรม และความรัก
เงาฝัน 7 6534 กระทู้ล่าสุด 08 มิถุนายน 2553 20:28:52
โดย sometime
เยือนถิ่นคนมอญ ย้อนรอยสงกรานต์เมืองสังขละบุรี
สุขใจ ไปเที่ยว
เงาฝัน 2 6096 กระทู้ล่าสุด 05 เมษายน 2553 15:59:10
โดย เงาฝัน
เมื่อเรากลายเป็น “ ของมัน ” พระไพศาล
ธรรมะจากพระอาจารย์
เงาฝัน 0 2039 กระทู้ล่าสุด 12 มกราคม 2554 14:57:09
โดย เงาฝัน
หลักปฏิบัติของลูกที่พึงกระทำต่อพ่อแม่(มาตา)
จิตอาสา - พุทธศาสนาเพื่อสังคม
時々๛कभी कभी๛ 1 2745 กระทู้ล่าสุด 26 มีนาคม 2554 11:41:59
โดย เงาฝัน
ทำไมหมีขั้วโลกต้องพึ่งพาน้ำแข็งทะเล
สุขใจ ห้องสมุด
ฉงน ฉงาย 2 1631 กระทู้ล่าสุด 29 พฤษภาคม 2563 16:39:44
โดย ฉงน ฉงาย
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 1.3 วินาที กับ 32 คำสั่ง

Google visited last this page 29 กุมภาพันธ์ 2567 09:50:27