[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
01 พฤษภาคม 2567 02:27:31 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า:  [1] 2 3   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ยังงงกันอยู่เหรอว่า...ทำไมนิพพานเป็นอัต  (อ่าน 34266 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
phonsak
นักโพสท์ระดับ 8
***

คะแนนความดี: +1/-2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 306


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 20 ธันวาคม 2553 01:21:36 »

ยังงงกันอยู่เหรอว่า...ทำไมนิพพานเป็นอัตตา หรืออสังขตธาตุ?


คุณจิ๊กเปงเขียน:

1. อัตตา มีความหมายในทางยึดมั่นถือมั่น เป็นตัวเป็นตน ของเรา ตัวเรา ซึ่งเป็นความเห็นผิด

2. พระพุทธศาสนา จึงไม่สอน นิพพานเป็นอัตตา คุณพลศักดิ์เอานิพพานเป็นอัตตามาจากไหน

3. นิพพานก็นิพพาน อัตตาก็อัตตา คนละเรื่องกัน



ตอบ

1. อัตตา มีความหมายในทางยึดมั่นถือมั่น เป็นตัวเป็นตน ของเรา ตัวเรา = อัตตานุทิฏฐิ หรือ อุปทาน

2. พระพุทธศาสนา จึงไม่สอน นิพพานเป็นอัตตา.... เป้าหมายของพระพุทธศาสนา คือ หนีออกจากอัตตนุทิฏฐิ โดยปฏิบัติสมถและวิปัสสนากรรมฐาน จนรู้อย่างจริงๆว่า อัตตานุทิฏฐิ ล้วนมีเกิด แก่ เจ็บ ตาย  จึงเรียกว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา  เมื่อรู้อย่างเด่นชัดแล้ว  จิตจะไม่มีความยึดมั่นถือมั่น ถอนกิเลส ตัญหา อุปทานได้  จึงได้ธรรมกาย(อายตนนิพพาน) ที่ไม่มีเกิด ไม่มีแก่ ไม่มีเจ็บ ไม่มีตาย

สมเด็จพระสังฆราช อริยวงศาคตญาณ (แพ ติสูรเทโว)

"สัตว์โลกยังมีอวิชชาจะเข้าใจว่าขันธ์ ๕ เป็นอัตตา เว้นเมื่อเข้าถึงอสังขตธาตุได้ความบริสุทธ์เป็นนิพพาน จะเข้าใจว่าขันธ์ ๕ เป็นอนัตตาทันที แล้วจะเห็นว่าพระนิพพานเป็นอัตตา"

3.  นิพพานก็นิพพาน อัตตาก็อัตตา คนละเรื่องกัน.... นิพพานก็คืออัตตา ในความหมายว่าเที่ยง ไม่ทุกข์ ไม่แปรปรวนตามกาลเวลา  อัตตาของโลก คือ อัตตานุทิฏฐิ  เป็นคนละเรื่องกับอัตตาทีพระพุทธเจ้าพูดถึง

นิพพาน = อสังขตธาตุ = อัตตา = ไม่มีเกิด ไม่มีแก่ ไม่มีเจ็บ ไม่มีตาย
อัตตาของโลก = อุปทาน หรืออัตตานุทิฏฐิ = มีเกิด แก่ เจ็บ ตาย 



-------------------------------------------------------------

อ้างอิง

ผมขออนุญาตนำเอาพุทธพจน์ต่างๆเรื่องอัตตานุทิฏฐิ อัตตา อนัตตา มาถก เพื่อสืบต่อพระพุทธศาสนาต่อไป

1. อัตตานุทิฏฐิ หรือ อัตตวาทุปาทาน สิ่งนี้เป็นอุปทาน หรือ เป็นมิจฉาทิฏฐิ บางท่านเรียกว่า อัตตาของโลก

อัตตานุทิฏฐิ = ผู้ที่ยึดมั่นในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณว่าเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา ทั้งๆที่มันเป็นอนัตตา ไม่ใช่ตัวตน(อัตตา)ของเรา เขาหลงยึดมั่นถือว่าเป็นอัตตา เป็นตัวตนของเขา


ขันธสังยุตต์ - จุลปัณณาสก์ - ทิฏฐิวรรค - ๗. อัตตานุทิฏฐิสูตร

๗. อัตตานุทิฏฐิสูตร
ว่าด้วยเหตุแห่งอัตตานุทิฏฐิ
[๓๕๘] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่ออะไรมีอยู่
เพราะอาศัยอะไร เพราะยึดมั่นอะไร จึงเกิดอัตตานุทิฏฐิ? ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า ข้าแต่

พระองค์ผู้เจริญ ธรรมของข้าพระองค์ทั้งหลายมีพระผู้มีพระภาคเป็นรากฐาน ฯลฯ

พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อรูปมีอยู่ เพราะอาศัยรูป เพราะยึดมั่นรูป จึงเกิดมีอัตตานุ
ทิฏฐิ. เมื่อเวทนามีอยู่ ... เมื่อสัญญามีอยู่ ... เมื่อสังขารมีอยู่ ... เมื่อวิญญาณมีอยู่ เพราะอาศัย

วิญญาณ เพราะยึดมั่นวิญญาณ จึงเกิดมีอัตตานุทิฏฐิ.
[๓๕๙] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือ
ไม่เที่ยง?

ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา พึงเกิดมีอัตตานุทิฏฐิ
เพราะไม่อาศัยสิ่งนั้นบ้างหรือ?

ภิ. ไม่ใช่เช่นนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เวทนา ... สัญญา ... สังขาร ... วิญญาณ เที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา พึงเกิดมีอัตตานุทิฏฐิ
เพราะไม่อาศัยสิ่งนั้นบ้างหรือ?

ภิ. ไม่ใช่เช่นนั้น พระเจ้าข้า.
พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความ
เป็นอย่างนี้มิได้มี.

จบ สูตรที่ ๗.


2. ที่ท่านเรียกว่า อัตตาของโลก = อุปทาน หรือมิจฉาทิฏฐิ นั้น พระพุทธเจ้าเรียกสิ่งนี้ว่า "อนัตตา"


อนัตตลักขณสูตร

ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา?

ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า. = อนัตตา

3. นิยาม "อัตตา" ในอนัตตลักขณะสูตร

จากอนัตตลักขณสูตรเช่นกัน พระพุทธองค์ให้นิยามคำว่า "อัตตา" ไว้ชัดเจน

" ดูกรภิกษุทั้งหลาย....

ถ้ารูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) นี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว รูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) นี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในรูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)ว่า รูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) รูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) ของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย "

4. จากท่อนจบที่พระพุทธเจ้าถามปัญจวัคคีย์

ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา?

ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า. = อนัตตสรุป

ถ้ามีรูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) ใด ที่ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในสิ่งนั้นว่า ขอให้มันเป็นอย่างนั้นเถิด อย่าเป็นอย่างนี้เลย สิ่งนั้นก็เป็น "อัตตา"

และพระพุทธองค์ยังตรัสถามพระปัญจวัคคีย์ เพื่อสอบความเข้าใจด้วยว่า :

ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา?

ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.

ตอนนี้พระพุทธเจ้าฝากผมมาถามคุณนักดาบพเนจรว่า:

ภ. ก็สิ่งใดเที่ยง ไม่เป็นทุกข์ ไม่มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา?

คุณจิ๊กเปง ตอบว่า

....... ข้อนั้น ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า. = อัตตอัตตา จึงเท่ากับ สิ่งที่เที่ยง ไม่เป็นทุกข์ ไม่มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา

แล้วอะไรล่ะที่เป็นอัตตา....ก็อสังขตธาตุ ยังไงล่ะ ดูลักษณะของอสังขตธาตุนะครับ

ลักษณะของอสังตธาตุ

อสังขตธาตุ หมายถึง ธาตุที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง และมีลักษณะความเกิดไม่ปรากฏ ๑ ความเสื่อมสลายไม่ปรากฏ ๑ เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนไม่ปรากฏ ๑

ภิกษุ ท.! อสังขตลักษณ ะของอสังขตธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่
สามอย่างอย่างไรเล่า? สามอย่างคือ :-
๑. ไม่ปรากฏมีการเกิด = ไม่เกิด
๒. ไม่ปรากฏมีการเสื่อม = ไม่แปรปรวน(แก่ เจ็บ ตาย)
๓. เมื่อตั้งอยู่ ก็ไม่มีภาวะอย่างอื่นปรากฏ = ไม่แปรปรวน(แก่ เจ็บ ตาย)

ภิกษุ ท.! สามอย่างเหล่านี้แล คืออสังขตลักษณะของอสังขตธรรม.

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 29 ธันวาคม 2553 01:13:57 โดย phonsak » บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #1 เมื่อ: 20 ธันวาคม 2553 08:47:42 »

ยังงงกันอยู่เหรอว่า...ทำไมนิพพานเป็นอัตตา หรืออสังขตธาตุ?


คุณจิ๊กเปงเขียน:

1. อัตตา มีความหมายในทางยึดมั่นถือมั่น เป็นตัวเป็นตน ของเรา ตัวเรา ซึ่งเป็นความเห็นผิด

2. พระพุทธศาสนา จึงไม่สอน นิพพานเป็นอัตตา คุณพลศักดิ์เอานิพพานเป็นอัตตามาจากไหน

3. นิพพานก็นิพพาน อัตตาก็อัตตา คนละเรื่องกัน



ตอบ

1. อัตตา มีความหมายในทางยึดมั่นถือมั่น เป็นตัวเป็นตน ของเรา ตัวเรา = อัตตานุทิฏฐิ หรือ อุปทาน

2. พระพุทธศาสนา จึงไม่สอน นิพพานเป็นอัตตา.... เป้าหมายของพระพุทธศาสนา คือ หนีออกจากอัตตนุทิฏฐิ โดยปฏิบัติสมถและวิปัสสนากรรมฐาน จนรู้อย่างจริงๆว่า อัตตานุทิฏฐิ ล้วนมีเกิด แก่ เจ็บ ตาย  จึงเรียกว่า อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา  เมื่อรู้อย่างเด่นชัดแล้ว  จิตจะไม่มีความยึดมั่นถือมั่น ถอนกิเลส ตัญหา อุปทานได้  จึงได้ธรรมกาย(อายตนนิพพาน) ที่ไม่มีเกิด ไม่มีแก่ ไม่มีเจ็บ ไม่มีตาย

สมเด็จพระสังฆราช อริยวงศาคตญาณ (แพ ติสูรเทโว)

"สัตว์โลกยังมีอวิชชาจะเข้าใจว่าขันธ์ ๕ เป็นอัตตา เว้นเมื่อเข้าถึงอสังขตธาตุได้ความบริสุทธ์เป็นนิพพาน จะเข้าใจว่าขันธ์ ๕ เป็นอนัตตาทันที แล้วจะเห็นว่าพระนิพพานเป็นอัตตา"

3.  นิพพานก็นิพพาน อัตตาก็อัตตา คนละเรื่องกัน.... นิพพานก็คืออัตตา ในความหมายว่าเที่ยง ไม่ทุกข์ ไม่แปรปรวนตามกาลเวลา  อัตตาของโลก คือ อัตตานุทิฏฐิ  เป็นคนละเรื่องกับอัตตาทีพระพุทธเจ้าพูดถึง

นิพพาน = อสังขตธาตุ = อัตตา = ไม่มีเกิด ไม่มีแก่ ไม่มีเจ็บ ไม่มีตาย
อัตตาของโลก = อุปทาน หรืออัตตานุทิฏฐิ = มีเกิด แก่ เจ็บ ตาย 



-------------------------------------------------------------

อ้างอิง

ผมขออนุญาตนำเอาพุทธพจน์ต่างๆเรื่องอัตตานุทิฏฐิ อัตตา อนัตตา มาถก เพื่อสืบต่อพระพุทธศาสนาต่อไป

1. อัตตานุทิฏฐิ หรือ อัตตวาทุปาทาน สิ่งนี้เป็นอุปทาน หรือ เป็นมิจฉาทิฏฐิ บางท่านเรียกว่า อัตตาของโลก

อัตตานุทิฏฐิ = ผู้ที่ยึดมั่นในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณว่าเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา ทั้งๆที่มันเป็นอนัตตา ไม่ใช่ตัวตน(อัตตา)ของเรา เขาหลงยึดมั่นถือว่าเป็นอัตตา เป็นตัวตนของเขา


ขันธสังยุตต์ - จุลปัณณาสก์ - ทิฏฐิวรรค - ๗. อัตตานุทิฏฐิสูตร

๗. อัตตานุทิฏฐิสูตร
ว่าด้วยเหตุแห่งอัตตานุทิฏฐิ
[๓๕๘] พระนครสาวัตถี. พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่ออะไรมีอยู่
เพราะอาศัยอะไร เพราะยึดมั่นอะไร จึงเกิดอัตตานุทิฏฐิ? ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า ข้าแต่

พระองค์ผู้เจริญ ธรรมของข้าพระองค์ทั้งหลายมีพระผู้มีพระภาคเป็นรากฐาน ฯลฯ

พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อรูปมีอยู่ เพราะอาศัยรูป เพราะยึดมั่นรูป จึงเกิดมีอัตตานุ
ทิฏฐิ. เมื่อเวทนามีอยู่ ... เมื่อสัญญามีอยู่ ... เมื่อสังขารมีอยู่ ... เมื่อวิญญาณมีอยู่ เพราะอาศัย

วิญญาณ เพราะยึดมั่นวิญญาณ จึงเกิดมีอัตตานุทิฏฐิ.
[๓๕๙] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน รูปเที่ยงหรือ
ไม่เที่ยง?

ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา พึงเกิดมีอัตตานุทิฏฐิ
เพราะไม่อาศัยสิ่งนั้นบ้างหรือ?

ภิ. ไม่ใช่เช่นนั้น พระเจ้าข้า.
พ. เวทนา ... สัญญา ... สังขาร ... วิญญาณ เที่ยงหรือไม่เที่ยง?
ภิ. ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์หรือเป็นสุขเล่า?
ภิ. เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า.
พ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา พึงเกิดมีอัตตานุทิฏฐิ
เพราะไม่อาศัยสิ่งนั้นบ้างหรือ?

ภิ. ไม่ใช่เช่นนั้น พระเจ้าข้า.
พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับแล้ว เห็นอยู่อย่างนี้ ฯลฯ กิจอื่นเพื่อความ
เป็นอย่างนี้มิได้มี.

จบ สูตรที่ ๗.


2. ที่ท่านเรียกว่า อัตตาของโลก = อุปทาน หรือมิจฉาทิฏฐิ นั้น พระพุทธเจ้าเรียกสิ่งนี้ว่า "อนัตตา"


อนัตตลักขณสูตร

ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา?

ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า. = อนัตตา

3. นิยาม "อัตตา" ในอนัตตลักขณะสูตร

จากอนัตตลักขณสูตรเช่นกัน พระพุทธองค์ให้นิยามคำว่า "อัตตา" ไว้ชัดเจน

" ดูกรภิกษุทั้งหลาย....

ถ้ารูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) นี้จักได้เป็นอัตตาแล้ว รูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) นี้ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในรูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)ว่า รูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) รูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) ของเราจงเป็นอย่างนี้เถิด รูปของเราอย่าได้เป็นอย่างนั้นเลย "

4. จากท่อนจบที่พระพุทธเจ้าถามปัญจวัคคีย์

ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา?

ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า. = อนัตตสรุป

ถ้ามีรูป (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) ใด ที่ไม่พึงเป็นไปเพื่ออาพาธ และบุคคลพึงได้ในสิ่งนั้นว่า ขอให้มันเป็นอย่างนั้นเถิด อย่าเป็นอย่างนี้เลย สิ่งนั้นก็เป็น "อัตตา"

และพระพุทธองค์ยังตรัสถามพระปัญจวัคคีย์ เพื่อสอบความเข้าใจด้วยว่า :

ภ. ก็สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา?

ป. ข้อนั้น ไม่ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า.

ตอนนี้พระพุทธเจ้าฝากผมมาถามคุณนักดาบพเนจรว่า:

ภ. ก็สิ่งใดเที่ยง ไม่เป็นทุกข์ ไม่มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรหรือจะตามเห็นสิ่งนั้นว่า นั่นของเรา นั่นเป็นเรา นั่นเป็นตัวตน(อัตตา)ของเรา?

คุณจิ๊กเปง ตอบว่า

....... ข้อนั้น ควรเลย พระพุทธเจ้าข้า. = อัตตอัตตา จึงเท่ากับ สิ่งที่เที่ยง ไม่เป็นทุกข์ ไม่มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา

แล้วอะไรล่ะที่เป็นอัตตา....ก็อสังขตธาตุ ยังไงล่ะ ดูลักษณะของอสังขตธาตุนะครับ

ลักษณะของอสังตธาตุ

อสังขตธาตุ หมายถึง ธาตุที่ไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง และมีลักษณะความเกิดไม่ปรากฏ ๑ ความเสื่อมสลายไม่ปรากฏ ๑ เมื่อตั้งอยู่ความแปรปรวนไม่ปรากฏ ๑

ภิกษุ ท.! อสังขตลักษณ ะของอสังขตธรรม ๓ อย่างเหล่านี้ มีอยู่
สามอย่างอย่างไรเล่า? สามอย่างคือ :-
๑. ไม่ปรากฏมีการเกิด = ไม่เกิด
๒. ไม่ปรากฏมีการเสื่อม = ไม่แปรปรวน(แก่ เจ็บ ตาย)
๓. เมื่อตั้งอยู่ ก็ไม่มีภาวะอย่างอื่นปรากฏ = ไม่แปรปรวน(แก่ เจ็บ ตาย)

ภิกษุ ท.! สามอย่างเหล่านี้แล คืออสังขตลักษณะของอสังขตธรรม.

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

หมดมุก ... มุกแป๊กแล้วหรือครับ
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #2 เมื่อ: 20 ธันวาคม 2553 09:00:40 »


หมัดเด็ดน๊อคเอาท์มารพลศักดิ์

อนัตตา  ไม่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้

อัตตา    ก็อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้ อ่ะจิ ครับ

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

โอมเพี้ยง
นิพพาน เป็นอัตตา
จงมา จงมา จงมา ด่วนเลย

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7861


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 2.0.157.2 Chrome 2.0.157.2


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #3 เมื่อ: 20 ธันวาคม 2553 17:31:40 »

ตายห่า ใครเอา phonsak ไปใส่ถุงพลาสติกละโยนทิ้งถังขยะที

เอาขยะเปียกด้วยนะ มัดถุงให้แน่น ๆ จะได้ออกมาไม่ได้
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
phonsak
นักโพสท์ระดับ 8
***

คะแนนความดี: +1/-2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 306


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #4 เมื่อ: 21 ธันวาคม 2553 00:24:41 »


หมัดเด็ดน๊อคเอาท์มารพลศักดิ์

อนัตตา  ไม่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้

อัตตา    ก็อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้ อ่ะจิ ครับ

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น




ขันธ์ 5 เป็นอนัตตา เพราะไม่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้  มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย และไม่อาจเปลี่ยนแปลงเป็นอะไรเลย

ธรรมขันธ์ (ธรรมกาย) เป็นอัตตา  เพราะอยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้  ไม่ให้เกิด  ไม่ให้แก่  ไม่ให่เจ็บ ไม่ให้ตาย  และจะเปลี่ยนแปลงเป็นอะไรก็ได้  เช่น พระโพธิสัตว์กวนอิม ท่านจะเปลี่ยนเป็นใครก็ได้
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #5 เมื่อ: 21 ธันวาคม 2553 09:42:42 »


หมัดเด็ดน๊อคเอาท์มารพลศักดิ์

อนัตตา  ไม่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้

อัตตา    ก็อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้ อ่ะจิ ครับ

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น




ขันธ์ 5 เป็นอนัตตา เพราะไม่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้  มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย และไม่อาจเปลี่ยนแปลงเป็นอะไรเลย

ธรรมขันธ์ (ธรรมกาย) เป็นอัตตา  เพราะอยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้  ไม่ให้เกิด  ไม่ให้แก่  ไม่ให่เจ็บ ไม่ให้ตาย  และจะเปลี่ยนแปลงเป็นอะไรก็ได้  เช่น พระโพธิสัตว์กวนอิม ท่านจะเปลี่ยนเป็นใครก็ได้

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
โอมเพี้ยง ธรรมกายของเรา จงโตขึ้นๆๆ
จากห้าวา เป็นสิบวา จากสิบวา เป็นยี่สิบวา
จงใสขึ้นๆๆ

โอมเพี้ยง
พลศักดิ์ เปลี่ยนเป็นเดียรถีย์

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #6 เมื่อ: 21 ธันวาคม 2553 10:06:08 »

ยังงงกันอยู่เหรอว่า...ทำไมนิพพานเป็นอัตตา หรืออสังขตธาตุ?

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
นิพพาน = อสังขตธาตุ = อัตตา = ธรรมธาตุ=ธรรมกาย = ธรรมขันธ์ = เจ้าแม่กวนอิม = เปลี่ยนเป็นใครอะไรก็ได้

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

เลอะเทอะ

บันทึกการเข้า
phonsak
นักโพสท์ระดับ 8
***

คะแนนความดี: +1/-2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 306


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #7 เมื่อ: 21 ธันวาคม 2553 14:09:52 »


หมัดเด็ดน๊อคเอาท์มารพลศักดิ์

อนัตตา  ไม่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้

อัตตา    ก็อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้ อ่ะจิ ครับ

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น




ขันธ์ 5 เป็นอนัตตา เพราะไม่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้  มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย และไม่อาจเปลี่ยนแปลงเป็นอะไรเลย

ธรรมขันธ์ (ธรรมกาย) เป็นอัตตา  เพราะอยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้  ไม่ให้เกิด  ไม่ให้แก่  ไม่ให่เจ็บ ไม่ให้ตาย  และจะเปลี่ยนแปลงเป็นอะไรก็ได้  เช่น พระโพธิสัตว์กวนอิม ท่านจะเปลี่ยนเป็นใครก็ได้

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
โอมเพี้ยง ธรรมกายของเรา จงโตขึ้นๆๆ
จากห้าวา เป็นสิบวา จากสิบวา เป็นยี่สิบวา
จงใสขึ้นๆๆ

โอมเพี้ยง
พลศักดิ์ เปลี่ยนเป็นเดียรถีย์

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


1.  คิดผิด คิดใหม่ได้นะ  ผมว่าเดียรถีย์ตัวจริงคือ armageddon  เดียรถีย์ตัวนี้ อวตาร ก่อกวนเว็บธรรมะเขาไปทั่ว  ใช้ชื่อต่างๆมากมาย เช่น เสี่ยวอีสาน(เว็บmanager) เอกวีร์(เว็บพลังจิต)

มารarmageddonนี้น่าสงสารมาก  มีความอยากรู้อยากเห็นเรื่องธรรมมาก แต่โดนสาบไม่ให้มีทางเห็นธรรมได้

มารarmageddonลองไปคิดดู  ถ้าคิดออก  จะค่อยๆเริ่มเห็นธรรม

ผู้ที่พูดเรื่องธรรมกายคนแรก คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระมหาโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร(กวนอิม)  ตกลงพวกท่านก็เป็นเดียรถีย์หรือเปล่า

เมื่อไรที่คุณมองเห็นว่า  องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระมหาโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร(กวนอิม) ไม่ได้เป็นเดียรถีย์  แต่armageddonต่างหากเป็นเดียรถีย์  เมื่อนั้นผมจะแก้คำสาบของคุณเอง  จะได้เลิกก่อกวนในเว็บธรรมะสักที

พระอวโลกิเตศวร : ธรรมกาย คือ อายตนะนิพพาน พระพุทธเจ้า : ธรรมกาย เป็น อัตตา


อ้างอิง 1. [ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร พระอวโลกิเตศวรสอนพระสารีบุตรว่า[/color]


" ธรรมกาย ก็คือปรัชญาปารมิตาซึ่งเป็นสภาวธรรมแห่งพระตถาคตตรัสรู้
ก็คืออายตนะนิพพานนั้นเอง ย่อมปราศจากการมาในอดีต ฤาการไปในอนาคต แลในปรัตยุบันกาลเล่าก็ปราศจากการตั้งอยู่มั่นคง "


อ้างอิง 2.[ ขุทฺทกนิกาย จริยา อรรถกถาปกิณณกกถา เล่ม 74 หน้า 571

"...หรือบารมีย่อมตักตวงคุณมีศีลเป็นต้นอื่นไว้ในสันดานของตนเป็นอย่างยิ่ง หรือบารมีย่อมทำลายปฏิปักษ์อื่นจาก ธรรมกายอันเป็นอัตตา...."


อ้างอิง 3. [จากหนังสือชุมนุมบทความของหลวงปู่เปรม (เปมงฺกโร ภิกขุ) วัดบรมนิวาส กรุงเทพมหานคร  


  ------- เปมงฺกโร ภิกฺขุ--------

จิตบริสุทธิ์พ้นจากอำนาจวัฏฏะ ๓ คือ กิเลส กรรม วิบาก เป็นตัวธรรม เป็นสัจจะธรรม คือ นิโรธสัจจ์ คู่กับ ทุกขสัจจ์นั้น และเป็นอัตตาตัวตน ดังที่พระพุทธองค์ตรัสว่า

อตฺตทีปา วิหรถ อตฺตสรณา อนญฺญสรณา
ธมฺมทีปา วิหรถ ธมฺมสรณา อนญฺญสรณา แปลว่า
ท่านทั้งหลาย จงมีตนเป็นที่เกาะกุม มีธรรมเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่ง ดังนี้

ตน คือ ธรรม / ธรรม ก็คือ ตน
ธรรม คือ จิตที่บริสุทธิ์ เป็นวิมุตติจิต เป็นอมตธรรม ธรรมที่ไม่ตาย หรือนิพพาน ก็ได้.


สรุป


อายตนะนิพพาน คือ ธรรมกาย คือ จิตบริสุทธิ์ คือ ธรรม คือ นิพพาน คือ วิมุตติจิต


2. อัตตาในอนัตตลักขณสูตรมีเงื่อนไขอีกข้อหนึ่งที่ยากต่อการพิสูจน์ นอกจากไม่อาพาธ เจ็บป่วยแก่ตายแล้ว ยังต้องเป็นไปดังใจ  หรือเมื่อบังคับให้เป็นไปตามใจปรารถนาได้ เช่น ธรรมกายของเจ้าแม่กวนอิม ท่านจะแปลงเป็นใครก็ได้

เอ้า! ลืมไป  ผมโดนหมัดเด็ดของarmageddonน๊อคเอาท์ไปแล้ว  เหตุไฉนจึงตอบคำถามนี้ของarmageddonได้ว่า  "อัตตา"  ที่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้ = ธรรมกาย  และให้ตัวอย่างของธรรมกายของพระมหาโพธิสัตว์กวนอิมได้ด้วย.....   สงสัยจริงๆ อ่ะจิ  หัวเราะลั่น แบร่ ขำ
บันทึกการเข้า
เจ้าทึ่ม
one for all, all for one
นักโพสท์ระดับ 5
*****

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 41


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 8.0 MS Internet Explorer 8.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #8 เมื่อ: 21 ธันวาคม 2553 16:14:25 »

เจ้าทึ่มขอนอบน้อมแด่พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บรรพบุรุษ ครูบาอาจารย์ มิตรสหาย ตลอดจนทีมงานร่วมอุดมการณ์ทุกท่าน หากความเห็นนี้จะเป็นประโยชน์ต่อท่านบ้างก็ขออุทิศบุญกุศลนี้ให้แก่ท่านทั้งหลายผู้ได้นำไปใช้ประโยชน์ตลอดจนผู้ที่เจ้าทึ่มได้กล่าวนอบน้อมสักการะไว้ข้างต้นนั้นเทอญ

"อนัตตา" นั้นเป็นเพียงคำกล่าวที่นำมาใช้แสดงภาวะที่ตรงข้ามกับ "อัตตา" เพื่อให้ผู้ฟังเข้าถึง "มัชฌิมาปฏิปทา" เท่านั้น โดยตัวของคำว่า "อนัตตา" เองนั้น หาได้มีความหมายใดๆเฉพาะตัวไม่ ขอท่านทั้งหลายได้โปรดพิจารณาดูโดยแยบคายเถิด

สิ่งใดคือ "อัตตา" สิ่งที่ตรงข้ามนั้นแลคือ "อนัตตา"
หากอัตตาคือ "ตัวตนของความมี" อนัตตาก็คือ "การไม่มีตัวตนแห่งความมีนั้น"
หากอัตตาคือ "ตัวตนของความไม่มี" อนัตตาก็คือ "การไม่มีตัวตนแห่งความไม่มีนั้น"
เมื่อใดไม่มี "อัตตา" เมื่อนั้นก็ย่อมไม่มี "อนัตตา"

หากเปรียบ "อัตตา" เป็นเสมือนนิ้วที่ชี้ลงดิน
"อนัตตา" ก็เป็นเสมือนนิ้วที่ชี้ไปยังดวงจันทร์
นิ้วเหมือนกัน
ต่างกันเพียงทิศทางที่ชี้เท่านั้น
นิ้วที่ชี้ลงดินไม่ใช่ดิน
นิ้วที่ชี้ไปยังดวงจันทร์ก็ไม่ใช่ดวงจันทร์
ตัวเรามีหน้าที่เพียงมองไปที่ดวงจันทร์
ไม่จำเป็นต้องจ้องมองนิ้วใดๆ
มองนิ้วย่อมไม่เห็นดวงจันทร์
มองดวงจันทร์ย่อมไม่เห็นนิ้ว
นิ้วก็คือนิ้ว
ดวงจันทร์ก็คือดวงจันทร์
นิ้วจะเป็นดวงจันทร์ไปได้อย่างไร
buddhismforliving.weebly.com
บันทึกการเข้า

น้อมคารวะบรรพบุรุษครูบาอาจารย์และทีมงาน
phonsak
นักโพสท์ระดับ 8
***

คะแนนความดี: +1/-2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 306


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #9 เมื่อ: 21 ธันวาคม 2553 20:15:07 »

คุณเจ้าทึ่มครับ


อนัตตา ที่พระพุทธเจ้าตรัสในอนัตตาลักขณะสูตร = สิ่งที่ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ แปรปรวนเป็นธรรมดา

อนัตตา = สิ่งที่ เกิด แก่ เจ็บ ตาย

อนัตตา = สิ่งที่ไม่เป็นอมตะ  อะไรล่ะที่ไม่เป็นอมตะ  ก็สิ่งที่จิตสังขาร หรือจิตคิดปรุงแต่งดำรงอยู่ คือ ขันธ์ 5  ขันธ์ 5 จึงเป็นอนัตตา

.............................................................................

อัตตา ที่พระพุทธเจ้าตรัสในอนัตตาลักขณะสูตร = สิ่งที่เที่ยง ไม่เป็นทุกข์ ไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา

อัตตา = สิ่งที่ ไม่เกิด ไม่แก่ ไม่เจ็บ ไม่ตาย

อัตตา = สิ่งที่เป็นอมตะ  อะไรล่ะที่เป็นอมตะ  ก็สิ่งที่จิตบริสุทธิ์พุทธะ หรือจิตที่ไม่มีคิดปรุงแต่งดำรงอยู่ คือ ธรรมขันธ์(ธรรมกาย.ธรรมธาตุ)  ธรรมขันธ์(ธรรมกาย.ธรรมธาตุ)จึงเป็นอัตตา

สรุป

อนัตตา คือ สิ่งที่ไม่เป็นอมตะ  ซึ่งจิตสังขารเข้าไปอยู่ คือ ขันธ์ 5

อัตตา คือ สิ่งที่เป็นอมตะ ซึ่งจิตบริสุทธิ์ ที่ไม่มีความโลภ โกรธ หลง เข้าไปอยู่ คือ ธรรมขันธ์(ธรรมกาย.ธรรมธาตุ) ที่เรียกว่า "อายตนะนิพพาน"

ท่านเข้าใจหรือยัง  นี่คือคำสอนทั้งหมดของพระพุทธเจ้า  พระพุทธเจ้าจึงยืนยันในขุทฺทกนิกาย จริยา อรรถกถาปกิณณกกถา เล่ม 74 หน้า 571ว่า "ธรรมกายอันเป็นอัตตา...."

และพระอวโลกิเตศวรจึงสอนพระสารีบุตร บึนทึกในปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร ว่า

" ธรรมกาย ก็คือปรัชญาปารมิตาซึ่งเป็นสภาวธรรมแห่งพระตถาคตตรัสรู้ ก็คืออายตนะนิพพานนั้นเอง ย่อมปราศจากการมาในอดีต ฤาการไปในอนาคต แลในปรัตยุบันกาลเล่าก็ปราศจากการตั้งอยู่มั่นคง "


บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #10 เมื่อ: 21 ธันวาคม 2553 21:43:04 »


หมัดเด็ดน๊อคเอาท์มารพลศักดิ์

อนัตตา  ไม่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้

อัตตา    ก็อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้ อ่ะจิ ครับ

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น




ขันธ์ 5 เป็นอนัตตา เพราะไม่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้  มีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย และไม่อาจเปลี่ยนแปลงเป็นอะไรเลย

ธรรมขันธ์ (ธรรมกาย) เป็นอัตตา  เพราะอยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้  ไม่ให้เกิด  ไม่ให้แก่  ไม่ให่เจ็บ ไม่ให้ตาย  และจะเปลี่ยนแปลงเป็นอะไรก็ได้  เช่น พระโพธิสัตว์กวนอิม ท่านจะเปลี่ยนเป็นใครก็ได้

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
โอมเพี้ยง ธรรมกายของเรา จงโตขึ้นๆๆ
จากห้าวา เป็นสิบวา จากสิบวา เป็นยี่สิบวา
จงใสขึ้นๆๆ

โอมเพี้ยง
พลศักดิ์ เปลี่ยนเป็นเดียรถีย์

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น


1.  คิดผิด คิดใหม่ได้นะ  ผมว่าเดียรถีย์ตัวจริงคือ armageddon  เดียรถีย์ตัวนี้ อวตาร ก่อกวนเว็บธรรมะเขาไปทั่ว  ใช้ชื่อต่างๆมากมาย เช่น เสี่ยวอีสาน(เว็บmanager) เอกวีร์(เว็บพลังจิต)

มารarmageddonนี้น่าสงสารมาก  มีความอยากรู้อยากเห็นเรื่องธรรมมาก แต่โดนสาบไม่ให้มีทางเห็นธรรมได้

มารarmageddonลองไปคิดดู  ถ้าคิดออก  จะค่อยๆเริ่มเห็นธรรม

ผู้ที่พูดเรื่องธรรมกายคนแรก คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระมหาโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร(กวนอิม)  ตกลงพวกท่านก็เป็นเดียรถีย์หรือเปล่า

เมื่อไรที่คุณมองเห็นว่า  องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระมหาโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร(กวนอิม) ไม่ได้เป็นเดียรถีย์  แต่armageddonต่างหากเป็นเดียรถีย์  เมื่อนั้นผมจะแก้คำสาบของคุณเอง  จะได้เลิกก่อกวนในเว็บธรรมะสักที

พระอวโลกิเตศวร : ธรรมกาย คือ อายตนะนิพพาน พระพุทธเจ้า : ธรรมกาย เป็น อัตตา


อ้างอิง 1. [ปรัชญาปารมิตาหฤทัยสูตร พระอวโลกิเตศวรสอนพระสารีบุตรว่า[/color]


" ธรรมกาย ก็คือปรัชญาปารมิตาซึ่งเป็นสภาวธรรมแห่งพระตถาคตตรัสรู้
ก็คืออายตนะนิพพานนั้นเอง ย่อมปราศจากการมาในอดีต ฤาการไปในอนาคต แลในปรัตยุบันกาลเล่าก็ปราศจากการตั้งอยู่มั่นคง "


อ้างอิง 2.[ ขุทฺทกนิกาย จริยา อรรถกถาปกิณณกกถา เล่ม 74 หน้า 571

"...หรือบารมีย่อมตักตวงคุณมีศีลเป็นต้นอื่นไว้ในสันดานของตนเป็นอย่างยิ่ง หรือบารมีย่อมทำลายปฏิปักษ์อื่นจาก ธรรมกายอันเป็นอัตตา...."


อ้างอิง 3. [จากหนังสือชุมนุมบทความของหลวงปู่เปรม (เปมงฺกโร ภิกขุ) วัดบรมนิวาส กรุงเทพมหานคร  


  ------- เปมงฺกโร ภิกฺขุ--------

จิตบริสุทธิ์พ้นจากอำนาจวัฏฏะ ๓ คือ กิเลส กรรม วิบาก เป็นตัวธรรม เป็นสัจจะธรรม คือ นิโรธสัจจ์ คู่กับ ทุกขสัจจ์นั้น และเป็นอัตตาตัวตน ดังที่พระพุทธองค์ตรัสว่า

อตฺตทีปา วิหรถ อตฺตสรณา อนญฺญสรณา
ธมฺมทีปา วิหรถ ธมฺมสรณา อนญฺญสรณา แปลว่า
ท่านทั้งหลาย จงมีตนเป็นที่เกาะกุม มีธรรมเป็นที่พึ่ง อย่ามีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่ง ดังนี้

ตน คือ ธรรม / ธรรม ก็คือ ตน
ธรรม คือ จิตที่บริสุทธิ์ เป็นวิมุตติจิต เป็นอมตธรรม ธรรมที่ไม่ตาย หรือนิพพาน ก็ได้.


สรุป


อายตนะนิพพาน คือ ธรรมกาย คือ จิตบริสุทธิ์ คือ ธรรม คือ นิพพาน คือ วิมุตติจิต


2. อัตตาในอนัตตลักขณสูตรมีเงื่อนไขอีกข้อหนึ่งที่ยากต่อการพิสูจน์ นอกจากไม่อาพาธ เจ็บป่วยแก่ตายแล้ว ยังต้องเป็นไปดังใจ  หรือเมื่อบังคับให้เป็นไปตามใจปรารถนาได้ เช่น ธรรมกายของเจ้าแม่กวนอิม ท่านจะแปลงเป็นใครก็ได้

เอ้า! ลืมไป  ผมโดนหมัดเด็ดของarmageddonน๊อคเอาท์ไปแล้ว  เหตุไฉนจึงตอบคำถามนี้ของarmageddonได้ว่า  "อัตตา"  ที่อยู่ในวิสัยที่บังคับบัญชาได้ = ธรรมกาย  และให้ตัวอย่างของธรรมกายของพระมหาโพธิสัตว์กวนอิมได้ด้วย.....   สงสัยจริงๆ อ่ะจิ  หัวเราะลั่น แบร่ ขำ

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

มั่วและก็แถ ตามเคยแหละ คุณเดียรถีย์พลศักดิ์

ยังจะเอาพระอวโลกิเตศวร ที่ไม่มีในพระไตรปิฎกมาและก็พระสารีบุตร ก็ไม่เคยเจอพระอวโลกิเตศาวรสักหนเดียว จนเข้าพระนิพพาน

คุณเดียรถีย์พลศักดิ์ ดันเอาเรืองนิยาย ที่แต่ทีหลังจากพระพุทธเจ้าเข้านิพพาน มาอ้างอีกแน่ะ

เจ้าแม่กวนอิม ก็ถือกำเนิด มาหลังจากพระพุทธเจ้าเข้านิพพานไปนานแล้ว 
เจ้าแม่กวนอิม ไปฟังพระพุทธเจ้าพระองคไหนมาล่ะครับ
หรือว่าไปฟังในนิพพาน ทั้งๆที่เจ้าแม่ยังเข้านิพพานไม่ได้


สรุป

นิพพาน = อสังขตธาตุ = อัตตา = ธรรมธาตุ=ธรรมกาย = ธรรมขันธ์ = เจ้าแม่กวนอิม = เปลี่ยนเป็นใครอะไรก็ได้ = เลอะเทอะ
 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น




บันทึกการเข้า
phonsak
นักโพสท์ระดับ 8
***

คะแนนความดี: +1/-2
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 306


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #11 เมื่อ: 23 ธันวาคม 2553 00:29:57 »

ผู้ใดไม่เห็นธรรม  ย่อมไม่เห็นเราตถาคต
ผู้ใดไม่เห็นเราตถาคต  ย่อมไม่เห็นเรา พลศักดิ์ วังวิวัฒน์
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #12 เมื่อ: 23 ธันวาคม 2553 08:19:24 »

ผู้ใดไม่เห็นธรรม  ย่อมไม่เห็นเราตถาคต
ผู้ใดไม่เห็นเราตถาคต  ย่อมไม่เห็นเรา พลศักดิ์ วังวิวัฒน์



หมดมุกแล้วหรือครับ  มุกแป๊กก....ครับ
ตะแล้น..ตะแล้น..ตะแล้น... หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

คุณเดียรถียร์พลศักดิ์ บิดเบือนพุทธพจน์ อีกแระ

ถีงแม้ว่า จะเป็นธรรมที่ไม่บริสุทธิ์ ที่ผู้มีมลทินอย่างคุณเดียรถีย์ พลศักดิ์ ได้คิดค้นจินตนาการรำพัน ขี้นมา

ก็พอมีอรรถรสอยู่บ้าง เพราะรสพระธรรมนั้นเป็นเลิศกว่ารสใดๆ
แม้จะแทบหาความบริสุทธิ์เอาไม่ได้เสียเลย

ผู้มีศีลมีสติ มีสมาธิและปัญญา ก็ยังจะสามารถเลือกคัดเอาได้ หละนะ

แต่ธรรมะที่บริสุทธิ์อันแท้จริง ที่พระพุทธเจ้าได้ค้นพบ
ไม่ได้อยู่ที่ใดอื่น

อยู่ในใจเราทุกคนนั่นแหละ ไม่ต้องเที่ยวแสวงหาออกไปนอกกายนอกใจนี่เลย

พยายามๆเข้าไว้เน้อ คุณหนูเดียรถีย์พลศักดิ์
ก็ขออัญเชิญ มอบ คำขวัญและกำลังใจ 
ด้วยสโลแกน  ของท่านปรมาจารย์ อิอิ

ด้วยบทนี้

" ทำไปเรื่อยๆ เราไม่เหนื่อย เราไม่เมื่อย
ทำไปเรื่อยๆ เราไม่เมื่อย เราไม่เหนือย "

สวัสดีปีใหม่ครับคุณเดียรถีย์พลศักดิ์
สวัสดีปีใหม่ครับ ท่านผู้ชม

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

บันทึกการเข้า
เจ้าทึ่ม
one for all, all for one
นักโพสท์ระดับ 5
*****

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 41


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 8.0 MS Internet Explorer 8.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #13 เมื่อ: 23 ธันวาคม 2553 10:28:58 »

เจ้าทึ่มขอนอบน้อมแด่พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บรรพบุรุษ ครูบาอาจารย์ มิตรสหาย ตลอดจนทีมงานร่วมอุดมการณ์ทุกท่าน หากความเห็นนี้จะเป็นประโยชน์ต่อท่านบ้างก็ขออุทิศบุญกุศลนี้ให้แก่ท่านทั้งหลายผู้ได้นำไปใช้ประโยชน์ตลอดจนผู้ที่เจ้าทึ่มได้กล่าวนอบน้อมไว้ข้างต้นนั้นเทอญ

กราบคารวะท่านพลศักดิ์

กราบขอบพระคุณอย่างสูงที่ยกข้อธรรมะที่น่าสนใจนี้ขึ้นมาเป็นประเด็นให้ผู้สนใจได้ร่วมกันพิจารณา
ขอบุญกุศลนี้ได้สนับสนุนให้ท่านเป็นผู้มีดวงตาเห็นธรรม ตรงต่อนิพพานตามเหตุตามปัจจัยอันสมควรยิ่งเทอญ

อันว่าพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ นั้นล้วนมีอยู่แล้วในใจท่านและมีอยู่ในใจเราด้วย
ดังนั้นธรรมะของพระพุทธเจ้าจึงไม่ต้องอ้างพระไตรปิฎกหรือพระสูตรอันใด
เราสามารถพิสูจน์ได้ในใจเราเอง สิ่งนี้แลที่เรียกว่า "ธรรมกาย"
กล่าวคือธรรมะทั้งหลายนั้นพิจารณาและพิสูจน์ได้ในกายในใจของพวกเราเองทุกคน

หากเรากล่าวเจาะจงลงไปว่า "อนัตตา" คือ "ความไม่เที่ยง ความแปรปรวน"
"อนัตตา" นั้นก็เป็น "อัตตา" ชนิดหนึ่ง เป็น "อัตตาแห่งความไม่เที่ยง"
เป็น "ความไม่เที่ยงที่ดำรงอยู่เป็นนิจนิรันดร์ "
เป็น "ความไม่เที่ยงที่ไม่ยอมแปรปรวนไปเป็นความเที่ยง"
เรียกได้ว่า "อนัตตา" ในความหมายข้างต้นก็คือ "อัตตา" นั่นเอง
จากความข้างต้น
หากเราเรียก "อนัตตา" ว่า "ความว่าง" เรียก "อัตตา" ว่า "รูป"
เราจะกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า "รูปก็คือความว่าง ความว่างก็คือรูป"
สิ่งนี้แลที่พระมหาโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรกล่าวแก่พระสารีบุตรไว้ในปรัชญาปารมิตาสูตร

การที่เรากล่าวเจาะจงลงไปว่า "อัตตา" คือ "ความเที่ยง ความเป็นนิจนิรันดร์ สิ่งที่เป็นอมตะ" นั้น
ความจริงแล้วคือการยอมรับโดยนัยว่า "อัตตา" นั้นมีธรรมชาติแห่ง "ความแปรปรวน ความไม่เที่ยง"
มิฉะนั้นเราก็ไม่จำเป็นต้องไปเรียกมันว่า "อมตะ" ตัวอย่างเช่น

"จิต" นั้นมีธรรมชาติแห่งการ "แปรเปลี่ยน" 
บางท่านจึงเรียกสภาวะที่มันอยู่ได้นานโดยไม่แปรเปลี่ยนว่าเป็น "จิตอันบริสุทธิ์ เป็นอมตะ เป็นนิจนิรันดร์"
จุดประสงค์ที่ใช้คำพูดเช่นนั้นก็เพื่อ "หลีกเลี่ยงภาวะสุดโต่งข้างใดข้างหนึ่ง"
ไม่ให้ยึดอย่างสุดโต่งว่า "จิตเป็นอนัตตา"
เนื่องจากนักปฏิบัติธรรมบางท่านเมื่อฝึกมากเข้าก็อาจเผลอไปยึด "อนัตตา" เข้าเป็นตัวเป็นตน
ตั้งหน้าตั้งตาบำเพ็ญทุกขกิริยาเพียงอย่างเดียวเพื่อละอัตตา
ถือเป็น "อัตตกิละมะถานุโยโค" เป็นภาวะสุดโต่งอย่างหนึ่งที่ตรงข้ามกับ "กามะสุขัลลิกานุโยโค"
สิ่งนี้แลที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสเตือนปัญจวคีย์ไว้ในธัมมะจักรกัปปะวตนสูตร
พวกเราควรเข้าใจให้ตรงว่า "จิตนั้นเป็นได้ทั้งอนัตตาและอัตตา...และไม่ควรยึดเป็นสรณะทั้งคู่"

รูปก็คือความว่าง
ความว่างก็คือรูป
แต่รูปก็คือรูป
ความว่างก็คือความว่าง

"สังสารวัฏ" นั้นมีธรรมชาติแห่งการ "แปรเปลี่ยน"
บางท่านจึงเรียกสภาวะที่มันอยู่ได้นานโดยไม่แปรเปลี่ยนว่าเป็น "นิพพาน"
จุดประสงค์ที่ใช้คำพูดเช่นนั้นก็เพื่อชี้ให้สาธุชนเห็นทางเลี่ยง "ภาวะสุดโต่งข้างใดข้างหนึ่ง"
ไม่ให้ยึดอย่างสุดโต่งว่า "นิพพานเป็นอนัตตา"
เนื่องจากนักปฏิบัติธรรมบางท่านเมื่อฝึกมากเข้าก็อาจเผลอไปตั้ง "อนัตตา" เป็นจุดมุ่งหมายสุงสุดในการปฏิบัติธรรม
ถือเป็น "อัตตกิละมะถานุโยโค" เป็นภาวะสุดโต่งอย่างหนึ่งที่ตรงข้ามกับ "กามะสุขัลลิกานุโยโค"
สิ่งนี้แลที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสเตือนปัญจวคีย์ไว้ในธัมมะจักรกัปปะวตนสูตร
พวกเราควรเข้าใจให้ตรงว่า "นิพพานนั้นไม่มีชื่อเรียก...ไม่ว่าจะเป็นอนัตตาหรืออัตตา"

รูปก็คือความว่าง
ความว่างก็คือรูป
แต่รูปก็คือรูป
ความว่างก็คือความว่าง

คำว่า "อัตตา" หรือ "อนัตตา"นั้นเป็นเพียงคำคู่ตรงข้าม
เอาไว้ใช้คู่กันให้เห็น "มัชฌิมาปฏิปทา" เท่านั้น
เป็นเพียง "นิ้ว" ที่ชี้ในทิศตรงข้ามกันให้พวกเรามองเห็นทางเบื้องหน้าเท่านั้น

หากเรายึด "อัตตา" เราก็มองเห็นแต่ดิน
ในกรณีที่เรายึดมั่นในคำพูดมากเกินไปก็เปรียบเสมือนการจ้องมองแต่เพียงนิ้วที่ชี้ลงดิน
...เราไม่มีโอกาสมองเห็นดินด้วยซ้ำไป

หากเรายึด "อนัตตา" เราก็มองเห็นแต่ฟ้า
ในกรณีที่เรายึดมั่นในคำพูดมากเกินไปก็เปรียบเสมือนการจ้องมองแต่เพียงนิ้วที่ชี้ขึ้นฟ้า
...เราไม่มีโอกาสมองเห็นท้องฟ้าด้วยซ้ำไป

เมื่อพวกเรามุ่งมั่นกับการ "ก้มหน้าลงดิน"
ครูบาอาจารย์บางท่านจึง "ชี้ฟ้า" ให้พวกเราได้เงยหน้าขึ้น
จุดมุ่งหมายคือให้เรา "มองเห็นทางเบื้องหน้า"
ไม่ได้ตั้งใจให้เรามองฟ้าหรือมองนิ้วที่ชี้ขึ้นไปบนฟ้าแต่อย่างใด

เมื่อพวกเรามุ่งมั่นกับการ "แหงนหน้าขึ้นมองฟ้า"
ครูบาอาจารย์บางท่านจึง "ชี้ดิน" ให้พวกเราได้ก้มหน้าลง
จุดมุ่งหมายคือให้เรา "มองเห็นทางเบื้องหน้า"
ไม่ได้ตั้งใจให้เรามองดินหรือมองนิ้วที่ชี้ลงไปยังดินแต่อย่างใด
buddhismforliving.weebly.com
บันทึกการเข้า

น้อมคารวะบรรพบุรุษครูบาอาจารย์และทีมงาน
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #14 เมื่อ: 23 ธันวาคม 2553 17:43:17 »

เจ้าทึ่มขอนอบน้อมแด่พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บรรพบุรุษ ครูบาอาจารย์ มิตรสหาย ตลอดจนทีมงานร่วมอุดมการณ์ทุกท่าน หากความเห็นนี้จะเป็นประโยชน์ต่อท่านบ้างก็ขออุทิศบุญกุศลนี้ให้แก่ท่านทั้งหลายผู้ได้นำไปใช้ประโยชน์ตลอดจนผู้ที่เจ้าทึ่มได้กล่าวนอบน้อมไว้ข้างต้นนั้นเทอญ

กราบคารวะท่านพลศักดิ์

กราบขอบพระคุณอย่างสูงที่ยกข้อธรรมะที่น่าสนใจนี้ขึ้นมาเป็นประเด็นให้ผู้สนใจได้ร่วมกันพิจารณา
ขอบุญกุศลนี้ได้สนับสนุนให้ท่านเป็นผู้มีดวงตาเห็นธรรม ตรงต่อนิพพานตามเหตุตามปัจจัยอันสมควรยิ่งเทอญ

อันว่าพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ นั้นล้วนมีอยู่แล้วในใจท่านและมีอยู่ในใจเราด้วย
ดังนั้นธรรมะของพระพุทธเจ้าจึงไม่ต้องอ้างพระไตรปิฎกหรือพระสูตรอันใด
เราสามารถพิสูจน์ได้ในใจเราเอง สิ่งนี้แลที่เรียกว่า "ธรรมกาย"
กล่าวคือธรรมะทั้งหลายนั้นพิจารณาและพิสูจน์ได้ในกายในใจของพวกเราเองทุกคน

หากเรากล่าวเจาะจงลงไปว่า "อนัตตา" คือ "ความไม่เที่ยง ความแปรปรวน"
"อนัตตา" นั้นก็เป็น "อัตตา" ชนิดหนึ่ง เป็น "อัตตาแห่งความไม่เที่ยง"
เป็น "ความไม่เที่ยงที่ดำรงอยู่เป็นนิจนิรันดร์ "
เป็น "ความไม่เที่ยงที่ไม่ยอมแปรปรวนไปเป็นความเที่ยง"
เรียกได้ว่า "อนัตตา" ในความหมายข้างต้นก็คือ "อัตตา" นั่นเอง
จากความข้างต้น
หากเราเรียก "อนัตตา" ว่า "ความว่าง" เรียก "อัตตา" ว่า "รูป"
เราจะกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า "รูปก็คือความว่าง ความว่างก็คือรูป"
สิ่งนี้แลที่พระมหาโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรกล่าวแก่พระสารีบุตรไว้ในปรัชญาปารมิตาสูตร

การที่เรากล่าวเจาะจงลงไปว่า "อัตตา" คือ "ความเที่ยง ความเป็นนิจนิรันดร์ สิ่งที่เป็นอมตะ" นั้น
ความจริงแล้วคือการยอมรับโดยนัยว่า "อัตตา" นั้นมีธรรมชาติแห่ง "ความแปรปรวน ความไม่เที่ยง"
มิฉะนั้นเราก็ไม่จำเป็นต้องไปเรียกมันว่า "อมตะ" ตัวอย่างเช่น

"จิต" นั้นมีธรรมชาติแห่งการ "แปรเปลี่ยน" 
บางท่านจึงเรียกสภาวะที่มันอยู่ได้นานโดยไม่แปรเปลี่ยนว่าเป็น "จิตอันบริสุทธิ์ เป็นอมตะ เป็นนิจนิรันดร์"
จุดประสงค์ที่ใช้คำพูดเช่นนั้นก็เพื่อ "หลีกเลี่ยงภาวะสุดโต่งข้างใดข้างหนึ่ง"
ไม่ให้ยึดอย่างสุดโต่งว่า "จิตเป็นอนัตตา"
เนื่องจากนักปฏิบัติธรรมบางท่านเมื่อฝึกมากเข้าก็อาจเผลอไปยึด "อนัตตา" เข้าเป็นตัวเป็นตน
ตั้งหน้าตั้งตาบำเพ็ญทุกขกิริยาเพียงอย่างเดียวเพื่อละอัตตา
ถือเป็น "อัตตกิละมะถานุโยโค" เป็นภาวะสุดโต่งอย่างหนึ่งที่ตรงข้ามกับ "กามะสุขัลลิกานุโยโค"
สิ่งนี้แลที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสเตือนปัญจวคีย์ไว้ในธัมมะจักรกัปปะวตนสูตร
พวกเราควรเข้าใจให้ตรงว่า "จิตนั้นเป็นได้ทั้งอนัตตาและอัตตา...และไม่ควรยึดเป็นสรณะทั้งคู่"

รูปก็คือความว่าง
ความว่างก็คือรูป
แต่รูปก็คือรูป
ความว่างก็คือความว่าง

"สังสารวัฏ" นั้นมีธรรมชาติแห่งการ "แปรเปลี่ยน"
บางท่านจึงเรียกสภาวะที่มันอยู่ได้นานโดยไม่แปรเปลี่ยนว่าเป็น "นิพพาน"
จุดประสงค์ที่ใช้คำพูดเช่นนั้นก็เพื่อชี้ให้สาธุชนเห็นทางเลี่ยง "ภาวะสุดโต่งข้างใดข้างหนึ่ง"
ไม่ให้ยึดอย่างสุดโต่งว่า "นิพพานเป็นอนัตตา"
เนื่องจากนักปฏิบัติธรรมบางท่านเมื่อฝึกมากเข้าก็อาจเผลอไปตั้ง "อนัตตา" เป็นจุดมุ่งหมายสุงสุดในการปฏิบัติธรรม
ถือเป็น "อัตตกิละมะถานุโยโค" เป็นภาวะสุดโต่งอย่างหนึ่งที่ตรงข้ามกับ "กามะสุขัลลิกานุโยโค"
สิ่งนี้แลที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสเตือนปัญจวคีย์ไว้ในธัมมะจักรกัปปะวตนสูตร
พวกเราควรเข้าใจให้ตรงว่า "นิพพานนั้นไม่มีชื่อเรียก...ไม่ว่าจะเป็นอนัตตาหรืออัตตา"

รูปก็คือความว่าง
ความว่างก็คือรูป
แต่รูปก็คือรูป
ความว่างก็คือความว่าง

คำว่า "อัตตา" หรือ "อนัตตา"นั้นเป็นเพียงคำคู่ตรงข้าม
เอาไว้ใช้คู่กันให้เห็น "มัชฌิมาปฏิปทา" เท่านั้น
เป็นเพียง "นิ้ว" ที่ชี้ในทิศตรงข้ามกันให้พวกเรามองเห็นทางเบื้องหน้าเท่านั้น

หากเรายึด "อัตตา" เราก็มองเห็นแต่ดิน
ในกรณีที่เรายึดมั่นในคำพูดมากเกินไปก็เปรียบเสมือนการจ้องมองแต่เพียงนิ้วที่ชี้ลงดิน
...เราไม่มีโอกาสมองเห็นดินด้วยซ้ำไป

หากเรายึด "อนัตตา" เราก็มองเห็นแต่ฟ้า
ในกรณีที่เรายึดมั่นในคำพูดมากเกินไปก็เปรียบเสมือนการจ้องมองแต่เพียงนิ้วที่ชี้ขึ้นฟ้า
...เราไม่มีโอกาสมองเห็นท้องฟ้าด้วยซ้ำไป

เมื่อพวกเรามุ่งมั่นกับการ "ก้มหน้าลงดิน"
ครูบาอาจารย์บางท่านจึง "ชี้ฟ้า" ให้พวกเราได้เงยหน้าขึ้น
จุดมุ่งหมายคือให้เรา "มองเห็นทางเบื้องหน้า"
ไม่ได้ตั้งใจให้เรามองฟ้าหรือมองนิ้วที่ชี้ขึ้นไปบนฟ้าแต่อย่างใด

เมื่อพวกเรามุ่งมั่นกับการ "แหงนหน้าขึ้นมองฟ้า"
ครูบาอาจารย์บางท่านจึง "ชี้ดิน" ให้พวกเราได้ก้มหน้าลง
จุดมุ่งหมายคือให้เรา "มองเห็นทางเบื้องหน้า"
ไม่ได้ตั้งใจให้เรามองดินหรือมองนิ้วที่ชี้ลงไปยังดินแต่อย่างใด
buddhismforliving.weebly.com


คุณเจ้าทึ่ม ไปเอามาจากไหนครับ
ฟังแล้วทะแม่งๆ

สำนวนความเห็น คล้ายๆ จ้อแก้ต่างใน กรณีธรรมกาย
จะมาบอกว่าพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์นั่นมีอยู่ในใจแล้ว
นั่นหมายถึงผู้ถึงไตรสรณะคมณ์แล้ว
แต่ถ้ายังไม่ถึงไตรสรณะคมณ์

ก็จะเป็นได้แค่มนุษย์ดิรัจฉาโน  มนุสสเปโต มนุษย์เนรยิโก
ซึ่งพวกเหล่านี้ ไม่ได้มีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ในใจ

และที่กล่าวว่า "ธรรมะพระพุทธเจ้า ไม่ต้องอ้าง พระไตรปิฎกหรือพระสูตรอันใด
เราสามารถพิสูจน์ได้ในใจเราเอง สิ่งนั้นแลเรียกว่า ธรรมกาย"

ข้อนี้ยิ่งเพี้ยนไปใหญ่
ใจเป็นอริยะ โสดาบันขึ้นไป ตรงแน่วเที่ยงแท้สู่กระแสพระนิพพาน ได้แล้วหรือยัง
ถ้าเป็นมนุษย์ดิรัจฉานโน มนุษย์สเปโต มนุษย์เนรยิโกอยู่
ถ้าไม่อาศัยพระไตรปิฎก จะพิจารณา พิสูจน์ ใจ เหล่านี้ได้อย่างไร

ข้อต่อไป เมื่อกล่าวว่า ไม่อาศัยพระไตรปิฎก หรือพระสูตร
แต่
กลับไปอาศัยพระสูตร ที่พระอวโลกิเตศวรตรัส บพระสารีบุตร ในปารามิตตาสูตร มาอ้าง

คือจะอ้าง พระสูตรของมหายานแทน มาให้น้ำหนักคำพูด ว่าพอจะน่าเชื่อถือได้

แต่ ไม่เอาพระธรรม ในพระไตรปิฎก มาสแกนพระอวโลกิเตศวรเสียก่อน  ว่ามีพอจะน่าเชื่อถือได้ไหม

ก่อนที่จะเอาวาทะ รูปคือความว่าง มาอ้าง
จะได้กระจ่างในสภาวะความเป็นจริง ก่อนที่จะหลงเชื่ออะไรง่ายๆ

และก็ ยังมีอีกหลายประเด็น ในข้อความที่คุณยกมา
ทั้งอัตตกิละมะถานุโยค และกามสุขัลลิกานุโยค
ที่มาเปรียบจิต อัตตาอนัตตา
ดูๆแล้วความเห็นจากเวปที่ยกมา จะวุ่นวายสับสนไม่เบา

คงต้องร่ายกันยาวหละครับ

 หุบปากซะ

ไปกาลามาสูตรดีกว่า  หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น







บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #15 เมื่อ: 23 ธันวาคม 2553 21:59:11 »

อ้างอิงข้อความคุณเจ้าทึ่ม

หากเรากล่าวเจาะจงลงไปว่า "อนัตตา" คือ "ความไม่เที่ยง ความแปรปรวน"
"อนัตตา" นั้นก็เป็น "อัตตา" ชนิดหนึ่ง เป็น "อัตตาแห่งความไม่เที่ยง"
เป็น "ความไม่เที่ยงที่ดำรงอยู่เป็นนิจนิรันดร์ "
เป็น "ความไม่เที่ยงที่ไม่ยอมแปรปรวนไปเป็นความเที่ยง"
เรียกได้ว่า "อนัตตา" ในความหมายข้างต้นก็คือ "อัตตา" นั่นเอง
จากความข้างต้น
หากเราเรียก "อนัตตา" ว่า "ความว่าง" เรียก "อัตตา" ว่า "รูป"
เราจะกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า "รูปก็คือความว่าง ความว่างก็คือรูป"
สิ่งนี้แลที่พระมหาโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรกล่าวแก่พระสารีบุตรไว้ในปรัชญาปารมิตาสูตร


เผยความทะแม่งๆ ของข้อความที่คุณเจ้าทึ่มนำมา  หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

แล้วลองเทียบกับพระไตรปิฎกดีกว่า
อนัตตา จะเป็น อัตตาแบบหนึ่งได้อย่างไร
นอกจากเป็นความวิปลาส 4 เท่านั้น ที่เห็นว่า อนัตตา เป็นอัตตาแบบหนึ่ง



ภิกษุทั้งหลาย สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฎฐิไม่วิปลาส ๔ นี้ ๔ คืออะไรบ้าง คือ สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฎฐิไม่วิปลาส ว่าไม่เที่ยงในสิ่งที่ไม่เที่ยง…ว่าทุกข์ในสิ่งที่เป็นทุกข์…ว่าเป็นอนัตตาในสิ่งที่เป็นอนัตตา…ว่าไม่งามในสิ่งที่ไม่งาม…นี้แล สัญญาไม่วิปลาส จิตไม่วิปลาส ทิฎฐิไม่วิปลาส ๔ ประการ

         สัตว์เหล่าใดสำคัญว่าเที่ยงในสิ่งที่ไม่เที่ยง สำคัญว่าสุขในสิ่งที่เป็นทุกข์ สำคัญว่าเป็นอัตตาในสิ่งที่เป็นอนัตตา และสำคัญว่างามในสิ่งที่ไม่งาม ถูกความเห็นผิดชักนำไปแล้ว ความคิดซัดส่ายไป มีความสำคัญ (คิดเห็น) วิปลาส สัตว์เหล่านั้นชื่อว่า ถูกเครื่องผูกของมารผูกไว้แล้ว เป็นคนไม่เกษมโยคะ ย่อมเวียนเกิดเวียนตายไป.

         เมื่อใดพระพุทธเจ้าทั้งหลายผู้ประดุจดวงอาทิตย์บังเกิดขึ้นในโลก ทรงประกาศธรรมอันนี้ ซึ่งเป็นทางให้ถึงความสงบทุกข์ เมื่อนั้น สัตว์เหล่านั้น ผู้ที่มีปัญญาได้ฟังธรรมของท่านแล้ว จึงกลับได้คิดเห็นสิ่งที่ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาและไม่งาม ตามความเป็นจริง เพราะมาถือเอาทางความเห็นชอบ ก็ล่วงพ้นทุกข์ทั้งปวงได้ (อัง.จตุ. 35/49/172)


 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น นี่แหละ อิทธิฤทธิ์ของ กาลามาสูตร

บันทึกการเข้า
WangJai
นักโพสท์ระดับ 5
*****

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 34


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Firefox 3.0.13 Firefox 3.0.13


ดูรายละเอียด
« ตอบ #16 เมื่อ: 23 ธันวาคม 2553 22:18:18 »


คำว่า "อัตตา" หรือ "อนัตตา"นั้นเป็นเพียงคำคู่ตรงข้าม
เอาไว้ใช้คู่กันให้เห็น "มัชฌิมาปฏิปทา" เท่านั้น
เป็นเพียง "นิ้ว" ที่ชี้ในทิศตรงข้ามกันให้พวกเรามองเห็นทางเบื้องหน้าเท่านั้น

หากเรายึด "อัตตา" เราก็มองเห็นแต่ดิน
ในกรณีที่เรายึดมั่นในคำพูดมากเกินไปก็เปรียบเสมือนการจ้องมองแต่เพียงนิ้วที่ชี้ลงดิน
...เราไม่มีโอกาสมองเห็นดินด้วยซ้ำไป

หากเรายึด "อนัตตา" เราก็มองเห็นแต่ฟ้า
ในกรณีที่เรายึดมั่นในคำพูดมากเกินไปก็เปรียบเสมือนการจ้องมองแต่เพียงนิ้วที่ชี้ขึ้นฟ้า
...เราไม่มีโอกาสมองเห็นท้องฟ้าด้วยซ้ำไป

เมื่อพวกเรามุ่งมั่นกับการ "ก้มหน้าลงดิน"
ครูบาอาจารย์บางท่านจึง "ชี้ฟ้า" ให้พวกเราได้เงยหน้าขึ้น
จุดมุ่งหมายคือให้เรา "มองเห็นทางเบื้องหน้า"
ไม่ได้ตั้งใจให้เรามองฟ้าหรือมองนิ้วที่ชี้ขึ้นไปบนฟ้าแต่อย่างใด

เมื่อพวกเรามุ่งมั่นกับการ "แหงนหน้าขึ้นมองฟ้า"
ครูบาอาจารย์บางท่านจึง "ชี้ดิน" ให้พวกเราได้ก้มหน้าลง
จุดมุ่งหมายคือให้เรา "มองเห็นทางเบื้องหน้า"
ไม่ได้ตั้งใจให้เรามองดินหรือมองนิ้วที่ชี้ลงไปยังดินแต่อย่างใด
buddhismforliving.weebly.com


ไม่ต้องก้มๆ เงยๆ หรอก
แค่เหลือบตามองก็เห็นทั้งหมดในแว้บเดียว 
ทั้งตัวคนที่ชี้และตัวที่คอยชักใย

นิ้วที่ชี้ลงดินอยู่เหยงๆ ก็ของพลศักดิ์นั่นไง

แค่จะชี้ไปข้างหน้าตรงๆ ยังทำไม่ได้
ได้แต่ชี้ชวนลงสู่เบื้องต่ำสถานเดียว
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #17 เมื่อ: 24 ธันวาคม 2553 00:54:30 »

ตรวจสอบ  ช๊อค

พระมหาปุริษลักษณะ  32 ประการ
ของพระอวโลกิเตศวร

ลักษณะของมหาปุริสลักษณะ 32 ประการที่ผู้ใดมีจะสามารถทำนายคติได้สองอย่างคือ จะได้เป็นพระมหาจักรพรรดิ หรือจะได้บรรลุเป็นศาสดาเอกของโลก ลักษณะทั้ง 32 ประการนี้เกิดจากการรักษาศีลและสร้างสมบารมีมาช้านานทั้งสิ้น

๑. พระบาทประดิษฐานเป็นอันดี สุปะติฎฐิตะปาโท เมื่อทรงเหยียบพระบาท  ทรงจรดพื้นด้วยฝ่าพระบาททุกส่วนเสมอกัน  เมื่อทรงยกพระบาทขึ้นก็เสมอกัน

๒. ใต้พระบาททั้งสองมีลายธรรมจักร มงคล ๑๐๘ ประการ  เหฎฐา ปาทะตะเลสุ  จักกานิ

๓. ส้นพระบาทยาว อายะตะปัณหิ พระบาทแบ่งออกเป็นสี่ส่วน  ปลายพระบาทสองส่วน ลำพระชงฆ์ (แข้ง) ตั้งในส่วนที่สาม  เหลือส้นพระบาทอีกหนึ่งส่วน และส้นพระบาทนั้นสีแดงงาม

๔. นิ้วพระหัตถ์ นิ้วพระบาทยาวเรียว กลมงาม ทีฆังคุลี

๕. พระวรกายตั้งตรงดังกายท้าวมหาพรหม พรหมุชุ คัตโต  ไม่น้อมไปข้างหน้า หรือหงายไปข้างหลัง

๖. พระมังสะ (เนื้อ) อูมในที่ ๗ แห่ง  สัตตุสสะโท ได้แก่  หลังพระหัตถ์ทั้งสอง หลังพระบาททั้งสอง พระอังสา (บ่า) ทั้งสอง  ลำพระศอ (คอ) มิได้เห็นเส้นปรากฏออกมาภายนอก

๗. ฝ่าพระหัตถ์ ฝ่าพระบาทอ่อนนุ่ม มุทุตะละนะหัตถะปาโท

๘. ฝ่าพระหัตถ์ ฝ่าพระบาทมีลายดังตาข่าย ชาละหัตถะปาโท  นิ้วพระหัตถ์ทั้งสี่ เว้น พระอังคุฎฐะ (นิ้วหัวแม่มือ)  นิ้วพระบาททั้งห้าเสมอกัน ชิดสนิทดี

(บุพพชาติทรงอนุเคราะห์คนด้วยสังคหวัตถุสี่ คือ ทาน ปิยะวาจา อัตถจริยา สมานัตตา นิ้วทั้งสี่จึงยาวเท่ากัน)

๙. หลังพระบาทนูนดุจสังข์คว่ำ  อุสสังขะปาโท และข้อพระบาทกลอกกลับผันแปรอย่างคล่องขณะย่างพระบาท

๑๐. พระโลมา (ขน) มีสีดำสนิท ขดเป็นทักษิณาวัฎ (เวียนขวา) ๓ รอบและมีปลายช้อนขึ้น

๑๑. พระชงฆ์ (แข้ง) เรียวดังแข้งเนื้อทราย กลมกลึงงาม เอณิชังโฆ

๑๒. พระฉวีวรรณ (ผิว) ละเอียด สุขุมมัจฉวี  ธุลีละอองมิติดต้องพระวรกายได้ มลทินใดมาสัมผัสก็เลื่อนหลุดไปดุจน้ำกลิ้งตกจากใบบัว

๑๓. พระฉวีวรรณ (ผิว) เหลืองงามดังทองคำ สุวัณณะวัณโณ

๑๔. พระคุยหะเร้นอยู่ในฝัก โกโสหิตะวัตถะคุโยหะ  องค์กำเนิดเพศชายหดเร้นเข้าข้างใน

๑๕. พระวรกายสง่างาม สมบูรณ์ สมส่วน ดังปริมณฑลแห่งต้นนิโครธ  (ต้นไทร)  นิโครธปริมัณฑโล ความสูงของพระวรกายเท่ากับวาของพระองค์

๑๖. พระกรยาวจนใช้พระหัตถ์ลูบพระชานู (เข่า) โดยไม่ต้องน้อมพระวรกาย  ปาณิตะเลหิ ชันนุกานิ ปริมะสะติ

๑๗. พระวรกายส่วนหน้าล่ำพีบริบูรณ์ สง่างามดุจราชสีห์  สีหะปุพพะทะธะกาโย

๑๘. พระปฤษฎางค์ (หลัง) เต็ม ปิตตันตะรังโส ตั้งแต่บั้นพระองค์ (เอว)  ขึ้นไปถึงต้นพระศอ (คอ) พื้นพระมังสะ (เนื้อ)  ปิดพระปฤษฎางค์เป็นอันดี มิได้เห็นข้อพระอัฐิท่ามกลางพระขนอง  (ข้อกระดูกสันหลัง) ปรากฏออกมาภายนอก

๑๙. พระศอกลมเสมอกัน สะมะวัฎฎักขันโธ

๒๐. มีเส้นประสาทสำหรับนำรสอาหารดีเลิศ  ระสัคคะสัคคี  มีเส้นประสาทปลายข้างบนประชุมอยู่ที่พระศอสำหรับนำรสอาหารแผ่ซ่านสม่ำเสมอไปทั่วพระวรกาย

๒๑. พระเนตรดำสนิท อะภินีละเนตโต มีการเห็นแจ่มใส

๒๒. ดวงพระเนตรสดใสดังตาโค  โคปะขุโม (บุพพชาติทรงทอดพระเนตรสัตว์ด้วยความเมตตา เอ็นดู)

๒๓. พระเศียรกลมงาม พระพักตร์มีอุณหิสคือลักษณะเหมือนมีกรอบหน้า  อุณหีสะสีโส

๒๔. โลมา (ขน) มีขุมละเส้น เอเกกะโลโม

๒๕. มีพระอุณาโลมระหว่างพระโขนง (คิ้ว) สีขาวอ่อนเหมือนปุยฝ้าย  อุณณาโลมา ภมุกันตะเรชาตา

๒๖. พระทนต์มี ๔๐ ซี่ จัตตาฬีสะทันโต เบื้องบน ๒๐ ซี่ เบื้องล่าง ๒๐  ซี่เสมอกัน

๒๗. พระทนต์มิได้ห่าง สนิทกันดี อะวิระฬะทันโต

๒๘. พระชิวหาอ่อน กว้าง ยาวกว่าชนทั้งปวง ปหูตะชิโวห

๒๙. พระสุรเสียงไพเราะดุจเสียงท้าวมหาพรหม  กระแสเสียงดุจเสียงนกการเวก  พรหมัสสะโร กะระวิกะภาณี

(บุพพชาติทรงเว้นขาดจากการพูดคำหยาบ ส่อเสียด คำไม่จริง)

๓๐. พระหนุ (คาง) ดุจคางราชสีห์ สีหะหะนุ

๓๑. พระทนต์เรียงเรียบเสมอกัน สะมะทันโต

๓๒. พระทาฐะ (เขี้ยว) ทั้ง ๔ ซี่ขาวบริสุทธิ์ รุ่งเรืองด้วยรัศมี  สุสุกกะทาโฐ


 ช๊อค ช๊อค ช๊อค



Hayagriva
Horse Headed Avalokitesvara
马头明王
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #18 เมื่อ: 24 ธันวาคม 2553 08:26:06 »

สารีบุตร!

รูปไม่ต่างไปจากความว่าง,

ความว่างก็ไม่ต่างไปจากรูป.

รูปคือความว่างนั่นเอง,

(และ) ความว่างก็คือรูปนั่นเอง.

เวทนา, สัญญา, ก็เป็นดังนี้ด้วย

สังขาร, และวิญญาณ

ก็เป็นดังนี้ด้วย.

 ช๊อค ช๊อค ช๊อค
บันทึกการเข้า
armageddon
สมาชิกขาประจำ
นักโพสท์ระดับ 8
*

คะแนนความดี: +2/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 229


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #19 เมื่อ: 24 ธันวาคม 2553 08:33:03 »

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น



ข้อนั้นข้าพเจ้า บังเกิดความ น่าสงสัยยิ่ง พระเจ้าค่า

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น

พระพุทธเจ้า(พระองค์จริง )ได้ทรงสอนเสมอๆ  และให้ข้าพเจ้าถามว่า

 .... พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย..........

ผู้มีวาทะอย่างนี้ ควรเป็นผู้อันเธอทั้งหลาย พึงถามอย่างนี้ว่า

.....ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ปริยายที่นิวรณ์๕ อาศัยแล้วเป็น ๑๐ อย่าง
 ที่โพชฌงค์ ๗ อาศัยแล้วเป็น ๑๔ อย่าง มีอยู่หรือ?

...............

 หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น หัวเราะลั่น
บันทึกการเข้า
คำค้น:
หน้า:  [1] 2 3   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน


หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
หัวข้อ เริ่มโดย ตอบ อ่าน กระทู้ล่าสุด
ทุกข์เพราะไปผูกพันกับสิ่งที่เปลี่ยนแปลง
ไขปัญหาโลก ธรรม และความรัก
เงาฝัน 7 6545 กระทู้ล่าสุด 08 มิถุนายน 2553 20:28:52
โดย sometime
เยือนถิ่นคนมอญ ย้อนรอยสงกรานต์เมืองสังขละบุรี
สุขใจ ไปเที่ยว
เงาฝัน 2 6108 กระทู้ล่าสุด 05 เมษายน 2553 15:59:10
โดย เงาฝัน
เมื่อเรากลายเป็น “ ของมัน ” พระไพศาล
ธรรมะจากพระอาจารย์
เงาฝัน 0 2044 กระทู้ล่าสุด 12 มกราคม 2554 14:57:09
โดย เงาฝัน
หลักปฏิบัติของลูกที่พึงกระทำต่อพ่อแม่(มาตา)
จิตอาสา - พุทธศาสนาเพื่อสังคม
時々๛कभी कभी๛ 1 2753 กระทู้ล่าสุด 26 มีนาคม 2554 11:41:59
โดย เงาฝัน
ทำไมหมีขั้วโลกต้องพึ่งพาน้ำแข็งทะเล
สุขใจ ห้องสมุด
ฉงน ฉงาย 2 1638 กระทู้ล่าสุด 29 พฤษภาคม 2563 16:39:44
โดย ฉงน ฉงาย
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 1.001 วินาที กับ 33 คำสั่ง

Google visited last this page 16 มีนาคม 2567 12:30:43