[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
25 เมษายน 2567 22:04:41 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: กังสดาลหรือระฆังหิน  (อ่าน 445 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Kimleng
'อกุศลธรรม' เป็นสิ่งเกิดขึ้นจากการตามใจคนทั้งนั้น อะไรที่ชอบก็บอกของนั้นดี
สุขใจ๊ สุขใจ
นักโพสท์ระดับ 14
*

คะแนนความดี: +5/-0
ออนไลน์ ออนไลน์

เพศ: หญิง
Thailand Thailand

กระทู้: 5461


'อกุศลธรรม' เป็นสิ่งเกิดขึ้นจากการตามใจคนทั้งนั้น

ระบบปฏิบัติการ:
Windows NT 10.0 Windows NT 10.0
เวบเบราเซอร์:
Chrome 98.0.4758.82 Chrome 98.0.4758.82


ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« เมื่อ: 11 กุมภาพันธ์ 2565 14:15:09 »



ที่มาภาพประกอบ https://ttspace.wordpress.com/

กังสดาลหรือระฆังหิน

ระฆังหินคืออะไร?

กังสดาลหรือระฆังหิน สร้างขึ้นโดยการนำหินธรรมชาติมาตัดแต่งให้เป็นแผ่น โดยมักไม่ตัดแต่งขอบ แต่ละชิ้นจึงมีรูปทรงที่ไม่แน่นอน ส่วนมากมีความหนาประมาณ ๑๕ – ๒๐ เซนติเมตร มีลักษณะสำคัญร่วมกันคือ เจาะรูรูปวงกลมทะลุถึงกันสองด้าน ส่วนใหญ่พบในเมืองโบราณวัฒนธรรมทวารวดีบริเวณภาคกลางของประเทศไทย

นักวิชาการได้ศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่การใช้งานของแผ่นหินเจาะรู โดยการทดสอบเคาะเพื่อฟังเสียง พบว่าส่วนมากมีเสียงดังและกังวาน จึงสันนิษฐานได้ว่าแผ่นหินลักษณะดังกล่าว น่าจะเป็นเครื่องใช้ที่ทำให้เกิดเสียง หรือใช้ตีเพื่อให้สัญญาณ รูที่เจาะไว้สำหรับแขวน โดยเรียกแผ่นหินนี้ว่า “ระฆังหิน”

การเจาะรูระฆังหิน
อุปกรณ์ : สันนิษฐานว่า อุปกรณ์ที่ใช้เจาะรูกลมบนระฆังหิน ได้แก่ หินปลายแหลม ไม้กลมเหลาให้แหลม ไม้ไผ่ ท่อนกระดูก หรือท่อโลหะ เป็นต้น

วิธีการ : นำอุปกรณ์ที่ใช้เจาะรูพันกับเชือกที่มีปลายสองด้าน สำหรับ ๒ คน ปั่นสลับไปมา บริเวณที่ต้องการเจาะรู  โดยใช้ทรายเป็นตัวเสียดสีและน้ำเป็นตัวหล่อลื่น หากเป็นแผ่นหินที่มีความหนาไม่มาก อาจเจาะทะลุได้ในครั้งเดียว รูที่ได้จะเป็นรูปทรงกรวย แต่หากแผ่นหินมีความหนาหรือแข็งมาก อาจต้องเจาะหินทีละด้านเพื่อให้รูที่เจาะทะลุถึงกัน รูที่ได้อาจจะไม่ตรงกันเล็กน้อย



ที่มาภาพ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

บันทึกการเข้า



กิมเล้ง @ สุขใจ ดอท คอม
สูตรอาหาร ทำกับข้าว เที่ยวไปทั่ว
คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน

Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.188 วินาที กับ 31 คำสั่ง

Google visited last this page 17 เมษายน 2567 16:17:37