[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
25 เมษายน 2567 15:19:30 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: รู้หรือไม่? ถั่วเป็นส่วนประกอบที่ใช้ในการประกอบวัตถุระเบิด!!  (อ่าน 392 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ฉงน ฉงาย
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 9
*

คะแนนความดี: +0/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
Thailand Thailand

กระทู้: 453


ระบบปฏิบัติการ:
Windows NT 10.0 Windows NT 10.0
เวบเบราเซอร์:
Chrome 104.0.0.0 Chrome 104.0.0.0


ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 01 กันยายน 2565 11:41:43 »



รู้หรือไม่? ถั่วเป็นส่วนประกอบที่ใช้ในการประกอบวัตถุระเบิด!!

https://t1.blockdit.com/photos/2021/07/60f3f5c85ef4fa0c8970e5bd_800x0xcover_7A_ZimcI.jpg
รู้หรือไม่? ถั่วเป็นส่วนประกอบที่ใช้ในการประกอบวัตถุระเบิด!!


           อัลเฟรด โนเบล (Alfred Nobel) ที่เป็นผู้ก่อตั้งรางวัลโนเบลอันทรงเกียรติขึ้นมา เขาเป็นทั้งนักเคมี วิศวกร นวัตกร นักอุตสาหกร รวมถึงผลงานที่ทำให้รู้จักไปทั่วโลกนั่นก็คือการประดิษฐ์ “ระเบิดไดนาไมต์”  ส่วนประกอบสำคัญของ“ไดนาไมต์”นั้นคือ ไนโตรกรีเซอรีน (Nitroglycerine) ซึ่งมาจาก ไนโตรเจน + กลีเซอรีน  ซึ่งเมื่อ ‘กลีเซอรีน’ ผสมกับ ‘ไนโตรเจน’ ก็จะเกิดเป็นสารประกอบเคมีชื่อว่า ‘ไนโตรกลีเซอรีน’ ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของระเบิดนั่นเอง กลีเซอรีนถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลาย และเราคุ้นเคยกันดี คือเป็นส่วนผสมของสบู่ และด้วยความหวานของกรีเซอรีนทำให้ถูกนำไปผสมในครีม และอาหารอีกหลายชนิด กลีเซอรีนนั้น ทำมาจาก “น้ำมันถั่วลิสง” ถั่วจึงกลายเป็นต้นกำเนิดไดนาไมต์และอาจเป็นต้นกำเนิดแห่งรางวัลโนเบลอีกด้วย

          ไนโตรกรีเซอรีนนี้ เป็นสารประกอบเคมี ในภาวะปกติจะเป็นของเหลว ระเบิดได้และไม่มีสี ซึ่งโนเบลได้นำไนโตรกรีเซอรีนผสมเข้ากับผงดินปืนจนกลายมาเป็นไดนาไมต์    ไดนาไมต์เป็นระเบิดชนิดรุนแรง แต่มีความปลอดภัยในการขนย้าย จึงถูกนำไปใช้ในวงกว้างทั่วโลกมักใช้ในอุตสาหกรรมชนิดต่าง ๆ เช่น การทำเหมืองแร่ การสร้างอุโมงค์ การขุดคลอง และในทางร้ายแรงคือในสงคราม ซึ่งนั่นเป็นจุดหนึ่งที่ทำให้อัลเฟรด โนเบล มักถูกมองว่าเป็นบุคคลอันตราย โดยมอบฉายานามให้เขาว่า พ่อค้าแห่งความตาย (Merchant of Death) อัลเฟรด โนเบล ประสบความสำเร็จในการดำเนินกิจการทางด้านระเบิดเป็นอย่างมาก แต่ก็มีเหตุให้เขาต้องกลายเป็นเหมือนฆาตกรระดับโลก เพราะไดนาไมต์ถูกนำไปใช้เป็นอาวุธสงคราม และเหตุการณ์สำคัญที่ทำให้อัลเฟรด โนเบลรู้สึกเศร้าเสียใจมาก ๆ คืออุบัติเหตุร้ายแรงที่เกิดขึ้นในโรงงานผลิตวัตถุระเบิดของเขานั่นเอง และเหตุการณ์นั้นก็ทำให้น้องชายและคนงานของเขาเสียชีวิตไปจำนวนมาก

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

บันทึกการเข้า

คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน


หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
หัวข้อ เริ่มโดย ตอบ อ่าน กระทู้ล่าสุด
รู้หรือไม่ นักพรตใช้อะไรในการปราบผี
ประวัติ ต้นกำเนิด ตำนานผี
หมีงงในพงหญ้า 0 3417 กระทู้ล่าสุด 29 พฤษภาคม 2553 13:45:37
โดย หมีงงในพงหญ้า
รู้หรือไม่ ปะการังกำลังย้ายถิ่นหนีโลกร้อน
สุขใจ ตลาดสด
▄︻┻┳═一 0 2611 กระทู้ล่าสุด 01 กุมภาพันธ์ 2554 10:59:59
โดย ▄︻┻┳═一
รู้หรือไม่ ? กินแกงช่วยกระตุ้นความจำได้
สุขใจ อนามัย
【ツ】ต้นไม้ความสุข ♪ 0 1913 กระทู้ล่าสุด 26 มีนาคม 2556 02:42:05
โดย 【ツ】ต้นไม้ความสุข ♪
รู้หรือไม่ เหรียญบาทใช้ชำระหนี้ได้ไม่เกิน 500 บาท
สุขใจ จิบกาแฟ
-NWO- 1 2317 กระทู้ล่าสุด 20 มีนาคม 2557 12:21:56
โดย -NWO-
รู้หรือไม่? ผิวส่งสัญญาณสุขภาพได้
สุขใจ อนามัย
ฉงน ฉงาย 0 718 กระทู้ล่าสุด 08 กุมภาพันธ์ 2564 20:54:09
โดย ฉงน ฉงาย
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.237 วินาที กับ 32 คำสั่ง

Google visited last this page 09 เมษายน 2567 11:48:11