[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
28 มีนาคม 2567 16:52:31 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: Sati ในชีวิตประจำวัน  (อ่าน 2801 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
時々๛कभी कभी๛
สมาชิกถูกดำเนินคดี
นักโพสท์ระดับ 12
*

คะแนนความดี: +9/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Nepal Nepal

กระทู้: 1921


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 14.0.835.163 Chrome 14.0.835.163


ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 20 กันยายน 2554 14:30:13 »




สติ ตามความหมายในทางพุทธศาสตร์แปลว่า ความระลึกได้ นึกได้ ความไม่เผลอ การคุมใจไว้กับกิจ หรือกุมจิตไว้กับสิ่งที่เกี่ยวข้องหรือการปฏิบัตินั่นเอง
สติเป็นสิ่งสำคัญยิ่งในการปฏิบัติในทางพุทธศาสนา เช่น สติในมรรค ๘ หรือสติในโพชฌงค์ ๗ สติในสติปัฏ
ฐาน ๔ เป็นต้นอันเป็นเหตุปัจจัยอันสําคัญยิ่งในการบรรลุถึงจุดหมายในการดับทุกข์ หรือความจางคลายหายจากทุกข์ ในที่นี้ผู้เขียนจะกล่าวจําเพาะเจาะจงลงไปในเรื่องเกี่ยวกับการปฏิบัติโดย

เฉพาะ{สติ}ให้เห็นเวทนาและจิตเป็นสําคัญ (เวทนานุปัสสนา และจิตตานุปัสสนาในสติปัฏฐาน ๔)
สตินั้นก็คือ กริยาหรืออาการหนึ่งของจิตนั่นเองที่ทำหน้าที่ระลึกได้หรือสำนึกพร้อมเป็นหนึ่งในเจตสิก ๕๒ (ข้อที่ ๒๙) เป็นสังขารขันธ์คือการกระทำทางใจหรือจิตอย่างหนึ่งและเป็นสังขารขันธ์ที่พระพุทธองธ์ทรงสรรเสริญยิ่งว่า{สติ}มีประโยชน์ในที่ทั้งปวง จึงเป็นภาเวตัพพธรรมสิ่งที่ควรภาวนาคือทำให้เจริญขึ้น

พึงจดจำไว้ว่า{สติ}ที่ใช้ในการปฏิบัติเพื่อการดับไปแห่งทุกข์นั้นทำหน้าที่สำคัญที่สุดอย่างยิ่ง คือเพื่อระลึกอย่างเท่าทันในเวทนาและจิตสังขารเป็นจุดประสงค์สำคัญสูงสุด ถ้าไม่เท่าทันในเวทนาแล้ว จึงพึงให้ระลึกอย่างเท่าทันในจิต หรือสังขารจิตนั่นเอง เช่น จิตคิดฟุ้งซ่าน จิตคิดหดหู่ หรือจิตคิดปรุงแต่งต่าง ๆ นั่นเอง อันเป็นผลที่เกิดขึ้นต่อเนื่องมาจากเวทนานั่นเองเพราะสังขารคิดหรือธรรมารมณ์บางอย่างยังให้เกิดเวทนาอันแผ่วเบา เช่นอทุกขมสุขเวทนาจึงย่อมเห็นคือระลึกรู้ได้ไม่ชัดเจนเหมือนจิตสังขาร เช่น ความคิดปรุงแต่ง โทสะ ราคะ หดหู่ ฯนั่นเอง


<table class="maeva" cellpadding="0" cellspacing="0" border="0" style="width: 800px" id="sae1"> <tr><td style="width: 800px; height: 576px" colspan="2" id="saeva1"><script type="text/javascript"><!-- // --><![CDATA[ var oldLoad = window.onload; window.onload = function() { if (typeof(oldLoad) == "function") oldLoad(); if (typeof(aevacopy) == "function") aevacopy(); } // ]]></script><embed type="application/x-mplayer2" src="http://www.se-ed.com/ads/pr/sile/song/03.%20Track%203.wma" width="800px" height="576px" wmode="transparent" quality="high" allowFullScreen="true" allowScriptAccess="never" ShowControls="True" autostart="false" autoplay="false" /></td></tr> <tr><td class="aeva_t"><a href="http://www.se-ed.com/ads/pr/sile/song/03.%20Track%203.wma" target="_blank" class="aeva_link bbc_link new_win">http://www.se-ed.com/ads/pr/sile/song/03.%20Track%203.wma</a></td><td class="aeva_q" id="aqc1"></td></tr></table>

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 กันยายน 2554 14:45:42 โดย 時々Sometime » บันทึกการเข้า

โลกเรานี้หนอช่างเหมือนความฝันเสียนี่กระไร ?

คำค้น: สติ 
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน


หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
หัวข้อ เริ่มโดย ตอบ อ่าน กระทู้ล่าสุด
ตัวอย่าง ปฏิจจสมุปบาท ในชีวิตประจำวัน ๕ ( ท่านพุทธทาสภิกขุ )
ธรรมะจากพระอาจารย์
หมีงงในพงหญ้า 1 6297 กระทู้ล่าสุด 23 สิงหาคม 2553 13:35:54
โดย เงาฝัน
ในชีวิตประจำวัน
ธรรมะทั่วไป ธารธรรม - ธรรมทาน
時々๛कभी कभी๛ 3 2429 กระทู้ล่าสุด 02 ธันวาคม 2553 12:41:15
โดย nrc2553
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.238 วินาที กับ 32 คำสั่ง

Google visited last this page 26 พฤศจิกายน 2566 04:29:40