ความรุนแรงทางการเมือง และการเมืองเรื่องความทรงจำ | หมายเหตุประเพทไทย EP.517
<span class="submitted-by">Submitted on Sun, 2024-04-07 18:17</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p style="text-align: center;">
<iframe width="720" height="415" src="
https://www.youtube.com/embed/9Qpq7nTv7UM?si=MIT3wMKeIwh5h3LO" title="YouTube video player" frameborder="0" allow="accelerometer; autoplay; clipboard-write; encrypted-media; gyroscope; picture-in-picture; web-share" referrerpolicy="strict-origin-when-cross-origin" allowfullscreen=""></iframe></p>
<p>หมายเหตุประเพทไทยสัปดาห์นี้ ประภาภูมิ เอี่ยมสม และต่อศักดิ์ จินดาสุขศรี พูดถึงการเมืองเรื่องความทรงจำ โดยภายหลังเหตุการณ์ความรุนแรงทางการเมือง ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านหลังเหตุนั้น ไม่ได้มีเพียงแค่การนำคนผิดมาลงโทษ แต่รวมถึงการค้นหาความจริง และการเยียวยาในหลายมิติ</p>
<p>และอีกประการหนึ่งก็จะพิจารณาด้วยว่าเหตุการณ์ที่เกิดไปแล้ว ถูกจดจำเล่าถึงอย่างไร และผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ในอดีตอาจจดจำ มองเห็น เหตุการณ์ดังกล่าวแตกต่างกัน การเมืองเรื่องความทรงจำจึงเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย การเลือกจำ การจำ การลืมก็เป็นการเมืองของความทรงจำเช่นกัน โดยกรณีของสังคมไทยที่ยกเป็นกรณีศึกษาได้ เช่น กรณีคนเสื้อแดง และเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 #หมายเหตุประเพทไทย #ความทรงจำ #Politicsofmemory</p>
<p style="text-align: center;"><img alt="" src="
https://live.staticflickr.com/65535/53628527092_381e2ff5fe_k.jpg" />
</p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ข
https://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์
https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
https://prachatai.com/journal/2024/04/108736 







