.การวาดลายไทย ลายจีน ลายประดิษฐ์ต้นแบบ : ลายไทยเบื้องต้น ของ พระเทวาภินิมมิต บ่อเกิดแห่งลายไทยเนื่องมาจากธรรมชาติประเภทดอกและใบ

วาดจาก (ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น ของ พระเทวาภินิมมิต
๑. ดอกบัว
๒. ใบเทศ คือใบฝ้ายเทศ
๓. ดอกมะลิ
๔. ดอกไชยพฤกษ์
๕. ดอกลาย ซึ่งมาจากดอกบัว
๖. ลายบัว ซึ่งมาจากดอกบัว
๗. ดอกลาย ซึ่งมาจากใบเทศ
๘. ดอกลายซึ่งมาจากดอกมะลิ
๙. ดอกฝ้ายเทศหรือพุดตาน
๑๐. ดอกไม้ร่วง
๑๑. มะม่วงหิมพานต์
๑๒. ดอกลำดวน
๑๓. ดอกสี่กลีบ หรือดอกประจำยาม
๑๔. ดอกจอก
บ่อเกิดแห่งลายไทย
เนื่องมาจากธรรมชาติประเภทดอกและใบ (ต่อ)
วาดจาก (ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น ของ พระเทวาภินิมมิต
๑. ใบเทศชนิดหนึ่ง
๒. ใบเทศดอกบัว
๓. ใบเทศพุดตาน
๔. ใบพุดตานหรือฝ้าย
บ่อเกิดแห่งลายไทยส่วนหนึ่ง
วาดจาก (ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น ของ พระเทวาภินิมมิต
๑. ดอกบัวหลวง
๒. ดอกบัวสัตตบงกช
๓. ดอกบัวสัตตบุษย์
๔. บ่อเกิดแห่งลายกะหนก ๓ ตัว
๕. ลายบัวกะหนก
๖. ลายกรวยเชิง
ลายกะหนก ๓ ตัว
วาดจาก (ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น ของ พระเทวาภินิมมิต
แบบ ๑. โครงร่าง
แบบ ๒. แบ่งเป็น ๓ ตัว
แบบ ๓. สำเร็จรูปเป็นกะหนกนารี
๑. สามตัวหางหงส์
๒. ๓ ตัว ลายนาค
๓. ๓ ตัว ใบเทศ
๔. ๓ ตัว ผักกุดบ่อเกิดแห่งลายกะหนกไทย
(ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น ของ พระเทวาภินิมมิต
แบบ ๑. (ซ้ายมือ) โครงร่างส่วนของลายกะหนก ๓ ตัว ซึ่งอาจแยกเป็นลายอื่นได้มาก ดังนี้
แบบ ๒. (ขวามือ) แยกมาเป็นตัวกระจัง โดยประโยชน์ของกะหนกไทย
แบบ ๓. แยกมาเป็นนาคหางหงษ์
แบบ ๔. แยกมาเป็นลายกะหนกหางหงษ์
แบบ ๕. แยกมาเป็นกะหนกหัวนาค
แบบ ๖. กะหนกตัวเดียว อันเนื่องมาจากตัวที่ ๓ ของกะหนกทั้ง ๓ ตัวลายช่อทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ 
(ต้นแบบ) : หนังสือลายไทยเบื้องต้น ของ พระเทวาภินิมมิต
แบบ ๑. ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์
แบบ ๒. ช่อหางไหล
แบบ ๓. ช่อหางโต
แบบ ๔. ช่อเปลวมยุรา
แบบ ๕. ช่อหางโตใบเทศ
แบบ ๖. ช่อเปลวหางโต
แบบ ๗. ช่อเปลวลอย