[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
07 กรกฎาคม 2568 01:58:05 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: [ข่าวมาแรง] - ชังชาติ  (อ่าน 248 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
สุขใจ ข่าวสด
I'm Robot
สุขใจ บอทนักข่าว
นักโพสท์ระดับ 15
****

คะแนนความดี: +101/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Italy Italy

กระทู้: มากเกินบรรยาย


บอท @ สุขใจ


ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« เมื่อ: 11 ธันวาคม 2566 02:09:08 »

ชังชาติ
 


<span class="submitted-by">Submitted on Sun, 2023-12-10 22:11</span><div class="field field-name-field-byline field-type-text-long field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><p>เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ</p>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>ไมเคิล แซนเดล (Michael Sandel) อาจารย์มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด เขาเป็นศาสตราจารย์ทางกฎหมาย แต่มีผลงานทางปรัชญาการเมืองด้วย ตั้งข้อสังเกตว่า “โลกสมัยใหม่กับโลกสมัยเก่ากำลังขัดแย้งกัน”</p>
<p>“โลกสมัยเก่า” เขาหมายถึง “หลักศีลธรรมและความยุติธรรมของอริสโตเติ้ล” ส่วน “โลกสมัยใหม่” หมายถึง “โลกเสรีประชาธิปไตย” อริสโตเติ้ลเป็นนักปรัชญาที่ให้ความสำคัญกับ “ชุมชน” สมัยนั้นเรียกว่า “polis” คือ รัฐขนาดเล็ก อริสโตเติ้ลเชื่อเรื่องเหตุผลและการมีเป้าหมายปลายทางของตัวเอง (telos) ส่วนโลกสมัยใหม่ให้ความสำคัญกับ “สิทธิเสรีภาพ”</p>
<p>อริสโตเติ้ลเชื่อว่าคนแยกออกจากชุมชนไม่ได้ ไม่เช่นนั้นคนก็มีชีวิตไม่ต่างอะไรจากสัตว์ ส่วนทางด้านโลกเสรีประชาธิปไตยเชื่อมั่นในเสรีภาพของปัจเจกบุคคล เชื่อว่าการให้ปัจเจกบุคคลตัดสินใจเป็นสิ่งที่ดีที่สุด</p>
<p>นักปรัชญารุ่นหลังบางคนไม่ได้คิดอย่างอริสโตเติ้ล เช่น โนซิก (Nozick) เห็นว่าเสรีภาพของปัจเจกบุคคลสำคัญกว่ารัฐ ไม่ควรให้รัฐใช้อำนาจมากเกินไป จะล่วงล้ำเสรีภาพของปัจเจกบุคคล อันเป็นการผิดศีลธรรม (immoral) การมีเสรีภาพของปัจเจกบุคคลต่างหากที่เป็นหน้าที่ตามหลักศีลธรรมที่รัฐต้องให้ความคุ้มครอง รัฐบาลสมัยใหม่ต้องเป็นกลางตามมาตรฐานศีลธรรม (the modern government should be scrupulously neutral) และใช้อำนาจให้น้อยที่สุด (minimal state) ส่วนค้านท์ (Kant) และจอห์น รอลส์ (John Rawls) สองคนหลังเห็นทำนองว่า ขั้นแรก รัฐต้องจัดวางสิทธิและอิสรภาพพื้นฐานให้กับประชาชนก่อน แล้วจากนั้นจึงค่อยจัดวางหลักศีลธรรม พูดง่ายๆ ว่า “สิทธิเสรีภาพ” ต้องมาก่อน แล้วค่อยพูดถึงหลักการของชุมชนที่คนจะอยู่ร่วมกัน </p>
<p>ประเด็นของจอห์น รอลส์ นี้แหละ ที่โลกนำมาถกเถียงกัน รอลส์เห็นว่าสิทธิเสรีภาพต้องมาก่อน ส่วนหลักการชุมชน หรือ “ชุมชนนิยม” มาทีหลัง เขาใช้คำว่า “unencumbered self” ตรงตัวแปลว่า “ตัวตนที่ไม่มีพันธะผูกพัน” ความหมายของรอลส์ คือ อัตลักษณ์ (identity) ของคนไม่ถูกจำกัดหรือถูกนิยามโดยความสัมพันธ์พื้นฐานของคนกับสังคม นั่นคือ คนย่อมมีสิทธิกำหนดอัตลักษณ์และเป้าหมายชีวิตของตนเอง ไม่ใช่ทุกอย่างเป็นไปตามที่สังคมกำหนดหรือมีสิ่งกำหนดเอาไว้ล่วงหน้า</p>
<p>ต่อมา ทศวรรษ 1980 ความคิดดังกล่าวถูกไมเคิล แซนเดล วิพากษ์ว่าตัวตนของคนจะแยกออกจากสังคมและประวัติศาสตร์ได้ยังไง? แซนเดล อ้างข้อเขียนของอะลาสแดร์ แม็คอินทายเออร์ (Alasdair McIntyre) ในหนังสือ After Virtue (1981) ที่เขียนว่า
<span style="color:#2980b9;">“I am someone’s son or daughter, someone’s cousin or uncle; I am a citizen of this or that city, a member of this or that guild or profession; I belong to this clan, that tribe, that nation. Hence, what is good for me has to be good for one who inhabits these roles
บันทึกการเข้า

นักข่าวหัวเห็ด แห่งเวบสุขใจ
อัพเดตข่าวทันใจ ตลอด 24 ชั่วโมง

>> http://www.SookJai.com <<
คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน

Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.328 วินาที กับ 28 คำสั่ง

Google visited last this page 16 พฤษภาคม 2568 02:55:14