[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
19 เมษายน 2567 04:35:56 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: บทสวด 'ฟุโดะเมียวโอะ' (Fudomyoo) หรือ เทพ 'อาจลนาถ' [วัชรโทสะ เทพพิโรธตันตระ]  (อ่าน 3879 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
มดเอ๊ก
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 14
*

คะแนนความดี: +8/-1
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Thailand Thailand

กระทู้: 5064


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 50.0.2661.271 Chrome 50.0.2661.271


ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 26 สิงหาคม 2559 10:20:03 »



อาจละ (สันสกฤต: अचल; อ่านว่า /อา-จะ-ละ/, จีน: 不動明王; Bùdòng Míngwáng, ญี่ปุ่น: 不動明王  Fudō myō-ō ฟุโดเมียวโอ ?) เป็นวิทยราชองค์หนึ่งในลัทธิพุทธตันตระวัชรยานหรือในศาสนาพุทธนิกายชินงนในกรณีของประเทศญี่ปุ่น เป็นสัญลักษณ์ของผู้ทำลายสิ่งลวงตาและปกป้องพุทธศาสนา รูปลักษณ์ของอาจละแสดงถึงการอยู่นิ่ง การไม่เคลื่อนที่ ในขณะที่เกิดอารมณ์โกรธ ช่วยเหลือเหล่ามนุษย์ เป็นสัญลักษณ์ของการควบคุมตนเอง ตามนัยของคำว่า "อาจละ" ในภาษาสันสกฤต ซึ่งแปลว่า "ไม่เคลื่อนไหว" ถือเป็นเทพเจ้าที่ทำงานให้กับพระไวโรจนะพุทธะ

อาจละนับเป็นวิทยราชซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางที่สุดในบรรดาวิทยราชทั้งห้าผู้สถิตในครรภโกษธาตุ นามอื่นๆ ของอาจละในภาษาสันสกฤตได้แก่ "อาจลวิทยราช", "อาจลนาถ", "อารยาจลนาถ" และ "จัณฑมหาโรศนะ"

รูปลักษณ์ของอาจละในภาพวาดหรือตามรูปปั้น มีลักษณะเป็นรูปบุคคลถือดาบซึ่งมีปลายด้ามเป็นรูปวัชระในมือขวา ใช้การในปราบสิ่งชั่วร้าย มือซ้ายถือเชือกเพื่อการจับมัดสิ่งชั่วร้าย ด้านหลังล้อมรอบด้วยเปลวไฟเป็นประภามณฑล และมักปรากฏในท่ายืนหรือนั่งบนหินแสดงถึงการไม่เคลื่อนไหว ทรงผมมัดเป็นเปียอยู่เจ็ดปมและปลายผมวางบนไหล่ซ้าย เป็นสัญลักษณ์ของผู้รับใช้ของพระพุทธเจ้า ที่มุมปากมีเขี้ยวสองข้าง ด้านหนึ่งชี้ลงแสดงถึงการปฏิบัติตัวบนโลก และข้างหนึ่งชี้ขึ้นแสดงถึงการค้นหาความจริง





nan mo san mang duo gua zi nan nai han

nan mo mo gu san mang da

<a href="https://www.youtube.com/v/YfLTel5hDWA" target="_blank">https://www.youtube.com/v/YfLTel5hDWA</a>

สำรอง http://www.tairomdham.net/index.php/topic,11458.0.html

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

บันทึกการเข้า

ทิ นัง มิไฮ นัง มิจะนัง ทิกุนัง แปลว่า
ที่นั่ง มีให้นั่ง มึงจะนั่ง ที่กูนั่ง ทิ้งไว้เป็น
ปริศนาธรรม นะตะเอง
คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน


หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
หัวข้อ เริ่มโดย ตอบ อ่าน กระทู้ล่าสุด
มันดาลา หรือ เบญจคุณ พลวัตแห่งความว่าง: ปัญจพุทธกุล หรือ พลังปัญญาห้าสี
กระบวนการ NEW AGE
มดเอ๊ก 6 13033 กระทู้ล่าสุด 13 มิถุนายน 2553 14:51:03
โดย มดเอ๊ก
เพลงพระคาถาพาหุง (บทสวด พุทธชัยมงคลคาถา) ไพเราะมาก
เพลงสวดมนต์
หมีงงในพงหญ้า 0 3643 กระทู้ล่าสุด 26 มกราคม 2556 23:48:53
โดย หมีงงในพงหญ้า
ดุ ดิบ โหด โกรธ เทพพิโรธตันตระ (ปริศนาธรรม ออกแนว ฮาร์ดคอ ทั้งภาพ และ เสียง)
จิตอาสา - พุทธศาสนาเพื่อสังคม
มดเอ๊ก 0 1385 กระทู้ล่าสุด 14 มกราคม 2558 16:09:00
โดย มดเอ๊ก
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร บทสวด-คำแปล
บทสวด - คัมภีร์ คาถา - วิชา อาคม
ใบบุญ 0 1828 กระทู้ล่าสุด 12 กุมภาพันธ์ 2559 19:58:23
โดย ใบบุญ
ธรรมปาละ พระอจลนาถ วิทยราชา ( ฟุโดเมียวโอ ) เทพพิโรธตันตระ ญี่ปุ่น
จิตอาสา - พุทธศาสนาเพื่อสังคม
มดเอ๊ก 1 2514 กระทู้ล่าสุด 07 พฤศจิกายน 2562 06:17:46
โดย Xavier Humphries
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.231 วินาที กับ 32 คำสั่ง

Google visited last this page 16 เมษายน 2567 02:00:37