[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
29 มีนาคม 2567 05:28:11 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: คัมภีร์สังคิณีกุสะลาธัมมา  (อ่าน 2456 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
時々๛कभी कभी๛
สมาชิกถูกดำเนินคดี
นักโพสท์ระดับ 12
*

คะแนนความดี: +9/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Nepal Nepal

กระทู้: 1921


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 12.0.742.112 Chrome 12.0.742.112


ดูรายละเอียด
« เมื่อ: 05 กรกฎาคม 2554 17:04:59 »


<a href="http://d1.scribdassets.com/ScribdViewer.swf?document_id=59344025&amp;access_key=key-1tk4sitceouukgein1o0&amp;page=1&amp;viewMode=list" target="_blank">http://d1.scribdassets.com/ScribdViewer.swf?document_id=59344025&amp;access_key=key-1tk4sitceouukgein1o0&amp;page=1&amp;viewMode=list</a>

เรียบเรียงใหม่โดย Sometime


๑. คัมภีร์พระสังคิณีกุสะลาธัมมาพระธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศลให้ผลเป็นความสุขอะกุสะลาธัมมาธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล ให้ผลเป็นความทุกข์อัพ๎ยากะตาธัมมาธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤตเป็นจิตกลาง ๆ อยู่กะตะเม ธัมมากุสะลา ธรรมเหล่าใดเป็นกุศลยัส๎ะมิง สะมะเยในสมัยใด

กามาวะจะรังกุสะลัง จิตตังอุปปันนัง โหติโสมะนัสสะสะหะคะตัง ญาณะสัมปะยุตตังกามาวจรกุศลจิตที่ร่วมด้วยโสมนัส คือความยินดีประกอบด้วย
ญาน คือ ปัญญาเกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใด ๆ รูปารัมมะนังวาจะเป็นรูปารมณ์ คือยินดีในรูปเป็นอารมณ์ก็ดีสัททารัมมะนังวาจะเป็นสัททารมณ์ คือยินดีในเสียงเป็นอารมณ์ก็ดีคันธารัมมะนังวาจะเป็นคันธารมณ์ คือยินดีในกลิ่นเป็นอารมณ์ก็ดีระสารัมมะนังวาจะเป็นรสารมณ์คือยินดีในรสเป็นอารมณ์ก็ดี

โผฏฐัพพารัมมะนังวาจะเป็นโผฏฐัพพารมณ์ คือยินดีในสิ่งที่กระทบถูกต้องกายเป็นอารมณ์ก็ดีธัมมารัมมะนังวายัง ยังวาปะนารัพภะจะเป็นธรรมารมณ์ คือยินดีในธรรมเป็นอารมณ์ก็ดีตัส๎ะมิงสะมะเยผัสโสโหติ อะวิกเขโปโหติเยวาปะนะตัส๎ะมิงสะมะเยอัญเญปิ อัตถิปะฏิจจะสะมุปปันน
อะรูปิโธัมมาในสมัยนั้นผัสสะและความไม่ฟุ้งซ่านย่อมมีอีกอย่างหนึ่งในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใดแม้อื่นมีอยู่เป็นธรรมที่ไม่มีรูปอาศัยกันและกันเกิดขึ้นอิเมธัมมากุสะลาธรรมเหล่านี้เป็นกุศลให้ผลเป็นความสุข



Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 05 กรกฎาคม 2554 17:30:03 โดย 時々sometime » บันทึกการเข้า

โลกเรานี้หนอช่างเหมือนความฝันเสียนี่กระไร ?

時々๛कभी कभी๛
สมาชิกถูกดำเนินคดี
นักโพสท์ระดับ 12
*

คะแนนความดี: +9/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Nepal Nepal

กระทู้: 1921


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 12.0.742.112 Chrome 12.0.742.112


ดูรายละเอียด
« ตอบ #1 เมื่อ: 05 กรกฎาคม 2554 17:11:13 »


๒. คัมภีร์......พระวิภังค์
ปัญจักขันธา ขันธ์ห้าคือส่วนประกอบหน้าอย่างที่รวมเข้าเป็นชีวิต ได้แก่ รูปักขันโธ รูปขันธ์คือส่วนที่เป็นรูปภายนอกและภายในคือร่างกายนี้ ประกอบด้วยธาตุ ๔ เวทะนากขันโธเวทนาขันธ์คือความรู้สึกเสวยอารมณ์ ที่เป็นสุขเป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ สัญญากขันโธ สัญญาขันธ์คือความจำได้หมายรู้ในอารมณ์  ๖


สังขารักขันโธสังขารขันธ์คือความคิดที่ปรุงแต่งจิตให้ดีหรือชั่วหรือเป็นกลาง ๆวิญญาณักขันโธวิญญาณขันธ์คือความรู้แจ้งในอารมณ์ทางอายตนะทั้ง ๖ ตัตถะกะตะโมรูปักขันโธบรรดาขันธ์ทั้งหมดรูปขันธ์เป็นอย่างไรยังกิญจิ รูปังรูปอย่างใดอย่างหนึ่ง
อะตีตานาคะตะปัจจุปปันนังที่เป็นอดีตอนาคตและปัจจุบัน
อัชฌัตตังวาภายในก็ตามพะหิทธาวาภายนอกก็ตามโอฬาริกังวาสุขุมังวาหยาบก็ตามละเอียดก็ตามหีนังวาปะณีตังวาเลวก็ตามประณีตก็ตามยังทูเรวาสันติเกวาอยู่ไกลก็ตามอยู่ใกล้ก็ตาม
ตะเทกัชฌัง อะภิสัญญูหิต๎วาอะภิสังขิปิต๎วาย่นกล่าวร่วมกัน
อะยังวุจจะติ รูปักขันโธเรียกว่ารูปขันธ์


๓. คัมภีร์...........พระธาตุกถา
สังคะโห อะสังคะโหการสงเคราะห์ การไม่สงเคราะห์ คือ
สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตังสิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์แล้วอะสังคะหิเตนะสังคะหิตังสิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้
สังคะหิเตนะ สังคะหิตังสิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ได้
อะสังคะหิเตนะอะสังคะหิตังสิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้


สัมปะโยโควิปปะโยโคการอยู่ด้วยกันการพลัดพรากกัน คือ
สัมปะยุตเตนะวิปปะยุตตังการพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน
วิปปะยุตเตนะสัมปะยุตตังการอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากไป
อะสังคะหิตังจัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้
๔. คัมภีร์...........พระปุคคลปัญญัตติ
ฉะปัญญัตติโยบัญญัติ  ๖ ประการอันบัณฑิตผู้รู้พึงบัญญัติขึ้นคือ
ขันธะปัญญัตติการบัญญัติธรรมที่เป็นหมวดหมู่กันเรียกว่าขันธ์ มี ๕ อายะตะนะปัญญัตติการบัญญัติธรรมอันเป็นบ่อเกิดแห่งทุกข์และไม่ทุกข์เรียก
ว่าอายตนะมี ๑๒ ธาตุปัญญัตติการบัญญัติธรรมที่ทรงตัวอยู่เรียกว่าธาตุมี ๑๘ สัจจะปัญญัตติการบัญญัติธรรมที่เป็นของจริงเรียกว่าสัจจะมี ๔ คือ
อริยสัจจ์

๔ อินท๎ริยะปัญญัตติการบัญญัติธรรมที่เป็นใหญ่เรียกว่าอินทรีย์ มี ๒๒
ปุคคะละปัญญัตติการบัญญัติจำพวกบุคคลของบุคคลทั้งหลาย
กิตตาวะตาปุคคะลานังปุคคะละปัญญัตติบุคคลบัญญัติของบุคคลมีเท่าไรสะมะยะวิมุตโตอะสะมะยะวิมุตโตผู้พ้นในกาลบางคราวผู้พ้นอย่างเด็ดขาดกุปปะธัมโมอะกุปปะธัมโมผู้มีธรรมที่กำเริบได้ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้ปะริหานะธัมโมอะปะริหานะธัมโมผู้มีธรรมที่เสื่อมได้ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้เจตะนาภัพโพอะนุรัก

ขะนาภัพโพผู้มีธรรมที่ควรแก่เจตนาผู้มีธรรมที่ควรแก่การรักษาปุถุชชะโนโคต๎ระภูผู้เป็นปุถุชนผู้คร่อมโคตรภะยูปะระโตอะภะยูปะระโตผู้เว้นชั่วเพราะกลัวผู้เว้นชั่วไม่ใช่เพราะกลัวภัพพาคะมะโนอะภัพพาคะมะโน ผู้ควรแก่มรรคผลนิพพานผู้ไม่ควรแก่มรรคผลนิพพาน
นิยะโตอะนิยะโตผู้เที่ยงผู้ไม่เที่ยงปะฏิปันนะโกผะเลฏฐิโตผู้ปฏิบัติอริยมรรคผู้ตั้งอยู่ในอริยผลอะระหาอะระหัตตายะปะฏิปันโนผู้เป็นพระอรหันต์ผู้ปฏิบัติเพื่อเป็นพระอรหันต์



« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 05 กรกฎาคม 2554 17:30:34 โดย 時々sometime » บันทึกการเข้า

โลกเรานี้หนอช่างเหมือนความฝันเสียนี่กระไร ?

時々๛कभी कभी๛
สมาชิกถูกดำเนินคดี
นักโพสท์ระดับ 12
*

คะแนนความดี: +9/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

Nepal Nepal

กระทู้: 1921


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Chrome 12.0.742.112 Chrome 12.0.742.112


ดูรายละเอียด
« ตอบ #2 เมื่อ: 05 กรกฎาคม 2554 17:15:16 »



๕. คัมภีร์..............พระกถาวัตถุ
ปุคคะโลอุปะลัพภะติสัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงหรือ ?
อามันตาถูกแล้วโยสัจฉิกัตโถปะระมัตโถตะโตโสปุคคะโลอุปะลัพภะติสัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติปรมัตถ์ คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ค้นหาบุคคลนั้น

ไม่ได้โดยปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันนั้นหรือ ? นะเหวังวัตตัพเพท่านไม่ควรกล่าวอย่างนั้นอาชานาหินิคคะหัง หัญจิปุคคะโลอุปะลัพภะติสัจฉิกัตถะปะระมัตเถนะเตนะวะตะ เรวัตตัพเพโยสัจฉิกัตโถปะระมัตโถตะโตโสปุคคะโลอุปะลัพภะติ สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ มิจฉาท่านจงรู้นิคหะการข่มปรามเถิด
ถ้าท่านค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงแล้วท่านก็ควรกล่าวด้วยเหตุนั้นว่าปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์คือโดยความหมายอันแท้จริงนั้นคำตอบของท่านที่ว่าปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์คือโดยความหมายอันแท้จริงอันนั้นจึงผิด

๖. คัมภีร์....................พระยมก
เยกจิกุสะลาธัมมาธรรมบางเหล่าเป็นกุศลสัพเพเตกุสะละมูลาธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีกุศลเป็นมูลเยวาปะนะกุสะละมูลาอีกอย่างหนึ่งธรรมเหล่าใดมีกุศลเป็นมูลสัพเพเตธัมมากุสะลาธรรมเหล่านั้นทั้งหมดก็เป็นกุศลเยเกจิกุสะลาธัมมาธรรมบางเหล่าเป็นกุศลสัพเพเตกะสุละมูลเลนะเอกะมูลาธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูลเยวาปะนะกุสะละมูเลนเอกะมูลาอีกอย่างหนึ่งธรรมเหล่าใดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล
สัพเพเตธัมมากุสะลาธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล

๗. คัมภีร์.......................พระมหาปัฏฐาน
เหตุปัจจะโย ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย
อารัมมะณะปัจจะโย ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย
อะธิปะติปัจจะโย ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย
อะนันตะระปัจจะโย ธรรมที่มีปัจจัยไม่มีอะไรคั่นในระหว่าง
สะมะนันตะระปัจจะโยธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน

สะหะชาตะปัจจะโยธรรมที่เกิดพร้อมกับปัจจัย
อัญญะมัญญะปัจจะโยธรรมที่เป็นปัจจัยของกันและกัน
นิสสะยะปัจจะโยธรรมที่มีนิสัยเป็นปัจจัย
อุปะนิสสะยะปัจจะโย ธรรมที่มีอุปนิสัยเป็นปัจจัย

ปุเรชาตะปัจจะโย ธรรมที่มีการเกิดก่อนเป็นปัจจัย
ปัจฉาชาตะปัจจะโย ธรรมที่มีการเกิดภายหลังเป็นปัจจัย
อาเสวะนะปัจจะโย ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย
กัมมะปัจจะโย ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย
วิปากะปัจจะโย ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย

อาหาระปัจจะโย ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย
อินท๎ริยะปัจจะโย ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย
ฌานะปัจจะโย ธรรมที่มีฌานเป็นปัจจัย
มัคคะปัจจะโย ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย

สัมปะยุตตะปัจจะโย ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย
วิปปะยุตตะปัจจะโย ธรรมที่ไม่มีการประกอบเป็นปัจจัย
อัตถิปัจจะโย ธรรมที่มีปัจจัย
นัตถิปัจจะโย ธรรมที่ไม่มีปัจจัย
วิคะตะปัจจะโย ธรรมที่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย
อะวิคะตะปัจจะโย ธรรมที่มีการอยู่ไม่ปราศจากเป็นปัจจัย


<a href="http://www.fungdham.com/download/song/allhits/13.wma" target="_blank">http://www.fungdham.com/download/song/allhits/13.wma</a>

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 05 กรกฎาคม 2554 17:31:03 โดย 時々sometime » บันทึกการเข้า

โลกเรานี้หนอช่างเหมือนความฝันเสียนี่กระไร ?

เงาฝัน
สุขใจ คนพิเศษ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +58/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
Thailand Thailand

กระทู้: 7493


ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
Firefox 5.0 Firefox 5.0


ดูรายละเอียด
« ตอบ #3 เมื่อ: 06 กรกฎาคม 2554 10:11:33 »









อุปมาแห่งสัทธรรม ศิลปิน เพลิง วัตสาร

บันทึกการเข้า
คำค้น: คัมภีร์ 
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน

Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.215 วินาที กับ 32 คำสั่ง

Google visited last this page 19 มีนาคม 2567 16:56:19