[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
29 มีนาคม 2567 21:16:03 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: พระเจ้า ๕๐๐ ชาติ เรื่องที่ ๘๖ สุชาตาชาดก : พระราชากับแมา่ค้า  (อ่าน 149 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Kimleng
'อกุศลธรรม' เป็นสิ่งเกิดขึ้นจากการตามใจคนทั้งนั้น อะไรที่ชอบก็บอกของนั้นดี
สุขใจ๊ สุขใจ
นักโพสท์ระดับ 14
*

คะแนนความดี: +5/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: หญิง
Thailand Thailand

กระทู้: 5392


'อกุศลธรรม' เป็นสิ่งเกิดขึ้นจากการตามใจคนทั้งนั้น

ระบบปฏิบัติการ:
Windows NT 10.0 Windows NT 10.0
เวบเบราเซอร์:
Chrome 108.0.0.0 Chrome 108.0.0.0


ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« เมื่อ: 11 ธันวาคม 2565 13:17:26 »



พระเจ้า ๕๐๐ ชาติ เรื่องที่ ๘๖ สุชาตาชาดก
พระราชากับแม่ค้า

         ในเมืองพาราณสีมีพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ วันหนึ่งพระองค์ทอดพระเนตรเห็นสุชาดา หญิงผู้มีรูปงาม หน้าตาสะสวย มีอาชีพเก็บพุทราขาย อายุยังน้อย ยังไม่มีสามี พระราชาจึงรับสั่งให้เข้าวัง แล้วทรงแต่งตั้งให้เป็นอัครมเหสี พระนางสุขาดาเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าพรหมทัตยิ่งนัก
          อยู่มาวันหนึ่ง พระนางทรงเห็นพระราชากำลังหยิบพุทราในจานทองมาเสวย จึงทูลถามด้วยความคะนองว่า
          “ข้าแต่พระสวามีผู้ประเสริฐ  ผลไม้อะไรเอ่ย มีรูปทรงสวยงามคล้ายกับไข่ มีเมล็ดสีแดง”
          พระราชาได้ฟังแล้วทรงพระพิโรธ จึงตรัสขึ้นว่า
          “นี่เจ้าแม่ค้า เมื่อก่อนนางก็เป็นแม่ค้ายขายพุทรามิใช่หรือ ทำเป็นไม่รู้จักผลไม้ที่ตนเองขายเป็นประจำ นางคงไม่เหมาะที่จะอยู่ในวังเสียแล้ว ท่านอำมาตย์ทั้งหลายจงพานางกลับไปส่งบ้านเดี๋ยวนี้”
          อำมาตย์คนสนิทรีบเข้าไปกราบทูลว่า
          “ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท สตรีที่ต้อยต่ำที่ได้รับแต่งตั้งในตำแหน่งสูง ย่อมไม่รู้จักรับผิดชอบเป็นธรรมดา ถ้าพระองค์ถือโทษเพียงเท่านี้ จะไม่เป็นการสมควรแก่พระองค์”
          พระราชาทรงยอมเชื่อฟังท่านอำมาตย์ และทรงอดกลั้นต่อความผิดเล็กน้อยของพระเทวี แต่นั้นมา ทั้งสองพระองค์ทรงอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขตลอดกาลนาน
 

นิทานชาดกเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
ความอดทนอดกลั้น ทำให้อยู่ร่วมกันได้

พุทธศาสนสุภาษิตประจำเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า
ขนฺติ หิตสุขาวหา
ความอดทน นำมาซึ่งประโยชน์สุข (ส.ม.)


ที่มา : นิทานชาดกจากพระไตรปิฎก : พระเจ้า ๕๐๐ ชาติ ฉบับสมบูรณ์ จัดพิมพ์เผยแพร่ธรรมโดย ธรรมสภา สถาบันบันลือธรรม

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

บันทึกการเข้า



กิมเล้ง @ สุขใจ ดอท คอม
สูตรอาหาร ทำกับข้าว เที่ยวไปทั่ว
คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน


หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
หัวข้อ เริ่มโดย ตอบ อ่าน กระทู้ล่าสุด
พระเจ้า ๕๐๐ ชาติ เรื่องที่ เรื่องที่ ๔๑ กัสสปมันติยชาดก : บิดาชรากับบุตรน้อย
ชาดก พระเจ้า 500 ชาติ
Kimleng 0 623 กระทู้ล่าสุด 06 กุมภาพันธ์ 2564 19:58:21
โดย Kimleng
พระเจ้า ๕๐๐ ชาติ เรื่องที่ เรื่องที่ ๔๒ ติตติรชาดก : ฤๅษีปากจัด
ชาดก พระเจ้า 500 ชาติ
Kimleng 0 549 กระทู้ล่าสุด 06 กุมภาพันธ์ 2564 20:02:37
โดย Kimleng
พระเจ้า ๕๐๐ ชาติ เรื่องที่ เรื่องที่ ๔๓ โสมทัตตชาดก : โสมทัตคนประหม่า
ชาดก พระเจ้า 500 ชาติ
Kimleng 0 578 กระทู้ล่าสุด 06 กุมภาพันธ์ 2564 20:05:57
โดย Kimleng
พระเจ้า ๕๐๐ ชาติ เรื่องที่ เรื่องที่ ๔๔ ธัมมัทรชาดก : ธรรมธัชบัณฑิต
ชาดก พระเจ้า 500 ชาติ
Kimleng 0 500 กระทู้ล่าสุด 11 มีนาคม 2564 18:33:29
โดย Kimleng
พระเจ้า ๕๐๐ ชาติ เรื่องที่ เรื่องที่ ๔๕ อัฏฐิเสนชาดก : ฤๅษีอัฏฐิเสน
ชาดก พระเจ้า 500 ชาติ
Kimleng 0 471 กระทู้ล่าสุด 12 มีนาคม 2564 19:29:23
โดย Kimleng
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.293 วินาที กับ 34 คำสั่ง

Google visited last this page 30 กันยายน 2566 20:11:49