[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
29 เมษายน 2567 20:32:48 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: [ข่าวมาแรง] - เริ่มล่ารายชื่อเสนอ กม.ผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ เปลี่ยน 'เบี้ยยังช  (อ่าน 100 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
สุขใจ ข่าวสด
I'm Robot
สุขใจ บอทนักข่าว
นักโพสท์ระดับ 15
****

คะแนนความดี: +101/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
Italy Italy

กระทู้: มากเกินบรรยาย


บอท @ สุขใจ


ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« เมื่อ: 14 พฤศจิกายน 2566 20:23:22 »

เริ่มล่ารายชื่อเสนอ กม.ผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ เปลี่ยน 'เบี้ยยังชีพ' เป็น 'บำนาญแห่งชาติ'
 


<span class="submitted-by">Submitted on Tue, 2023-11-14 19:38</span><div class="field field-name-body field-type-text-with-summary field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even" property="content:encoded"><p>เริ่มล่ารายชื่อเสนอ (ร่าง) พ.ร.บ.ผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... ยอดทะลุ 4 พันคน เปลี่ยน 'เบี้ยยังชีพ' ให้เป็น 'บำนาญแห่งชาติ' ที่เป็นบำนาญรายเดือนจากรัฐให้คนที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ทุกคน อย่างถ้วนหน้า ทั่วถึง และเป็นธรรม</p>
<p>14 พ.ย.2566 ภายหลังจาก เมื่อวันที่ 17 ต.ค.ที่ผ่านมา เฟซบุ๊กแฟนเพจ 'บำนาญแห่งชาติ' โพสต์แจ้งว่า สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรอนุมัติอย่างเป็นทางการแล้ว ได้เวลาล่ารายชื่อ 10,000 รายชื่อ ตอนนี้ทางภาคประชาชนได้รับหนังสือตอบกลับจากรัฐสภามาแล้วว่าเรื่องที่เราขอริเริ่มเข้าเกณฑ์ในการเสนอกฎหมายตามหมวด 3 ว่าด้วยเรื่องสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด จึงให้เชิญชวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งมาร่วมกันลงลายมือเสนอกฎหมายได้นั้น</p>
<p>ล่าสุดวานนี้ (11 พ.ย.) เฟซบุ๊กแฟนเพจ 'บำนาญแห่งชาติ' โพสต์เผยแพร่ลิงก์สำหรับล่ารายชื่อ https://pension-4all.com  พร้อมข้อความเชิญชวนว่า</p>
<p style="text-align: center;">
<iframe allow="autoplay; clipboard-write; encrypted-media; picture-in-picture; web-share" allowfullscreen="true" frameborder="0" height="668" scrolling="no" src="https://www.facebook.com/plugins/post.php?href=https%3A%2F%2Fwww.facebook.com%2Fpension4all%2Fposts%2Fpfbid0NRQk2g3gPctaVMvpYhynhYqjeK5zBptHY5EFPB51W4HGYJoMjsusbDz1WWqgf7uYl&amp;show_text=true&amp;width=500" style="border:none;overflow:hidden" width="500"></iframe></p>
<p>"มาร่วมกันเปลี่ยน “เบี้ยยังชีพ” ให้เป็น “บำนาญแห่งชาติ” ที่เป็นหลักประกันด้านรายได้แบบรายเดือนให้กับผู้สูงอายุกัน</p>
<p>(ร่าง) พ.ร.บ.ผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่..) พ.ศ. .... เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมจาก พรบ.ผู้สูงอายุฯ มีหลักการสำคัญๆ คือ</p>
<p>เป็นบำนาญรายเดือนจากรัฐให้คนที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป #ทุกคน อย่างถ้วนหน้า ทั่วถึง และเป็นธรรม</p>
<p>อัตราไม่ต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจน ตามเกณฑ์สภาพัฒน์ฯ พร้อมจัดทําแผนบํานาญพื้นฐานแห่งชาติทุก 3 ปี</p>
<p>ตั้ง "กองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ" โดยหางบมาบริหารจัดการจากภาษี 14 แหล่ง เช่น ทุนประเดิมจากรัฐ ภาษีสรรพสามิต สลากกินแบ่งรัฐบาล สัมปทานคลื่นความถี่ สัมปทานแร่ น้ำมัน/แก๊ส ภาษีจากกำไรซื้อขายหุ้น ภาษีที่ดิน ภาษีมรดก ยกเลิกบีโอไอ เป็นต้น</p>
<p>ใครที่เสนอร่างกฎหมายได้บ้าง คนไทยทุกคนที่มีเลขประจำตัว 13 หลัก, อายุครบ 18 ปีขึ้นไป และไปใช้สิทธิเลือกตั้งรอบล่าสุด (ใครพึ่งอายุ 18 ปียังไม่ได้ผ่านการเลือกตั้งก็ลงชื่อได้)</p>
<p>ไม่ต้องรีบ...ค่อยๆ อ่าน... ถ้าเห็นด้วยตามนี้ มาร่วมกันลงลายมือชื่อเสนอกฎหมายของประชาชนแบบออนไลน์ได้ที่ https://pension-4all.com หรือสแกนคิวอาร์โค้ดตามสะดวก (เนื้อหาเพิ่มเติมอยู่ในเว็บไซต์)</p>
<p>หรือใครอยากส่งแบบเป็นกระดาษอาจขอแรงพิมพ์แบบฟอร์ม โดยโหลดตามนี้ https://shorturl.asia/KnmXQ หรือตามนี้ https://shorturl.asia/qWwDS</p>
<p>"เราไม่ใช่มิจฉาชีพแน่นอน เลขบัตรประชาชนแต่ละท่านใช้ในการเสนอกฎหมายเท่านั้น รักษาความลับไว้ดุจไข่ในหิน มาช่วยกันสร้าง #รัฐสวัสดิการ #บำนาญแห่งชาติ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในประเทศนี้ไม่ใช่แค่รอดตาย แต่ต้องอยู่ได้อย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” เพจบำนาญแห่งชาติ ระบุ</p>
<p>โดยล่าสุดวันนี้ (14 พ.ย.) มีผู้ร่วมลงชื่อแล้ว 4,431 รายชื่อ เปิดรับถึง 10 ธ.ค.นี้</p>
<p>สาระสำคัญคร่าวๆ ของกฎหมายฉบับนี้ :</p>
<div class="note-box">
<p>"พระราชบัญญัติผู้สูงอายุและบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....” (เป็นการแก้ไขเพิ่มเติม พรบ.ผู้สูงอายุฯ) เพื่อเปลี่ยนระบบการจ่ายเงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุจาก “เบี้ยยังชีพ” เป็น “บำนาญ” ให้ผู้สูงอายุมีหลักประกันด้านรายได้แบบรายเดือนจากรัฐ </p>
<p>หลักการสำคัญของร่างกฎหมายฉบับนี้ เป็น “สิทธิ” ที่รัฐมีหน้าที่จัดสวัสดิการให้บุคคล ทุกคน ที่มีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป โดยจ่ายเป็นบำนาญที่เป็นรายได้แบบรายเดือนอย่างถ้วนหน้า ทั่วถึง และเป็นธรรม ซึ่งอัตราเงินบำนาญต้องไม่ต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจนตามเกณฑ์สภาพัฒน์ฯ กำหนด และต้องจัดทําแผนบํานาญพื้นฐานแห่งชาติทุกสามปี</p>
<p>บริหารจัดการระบบมี “คณะกรรมการนโยบายและบริหารกองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ” ที่มีองค์ประกอบทั้งภาครัฐและผู้แทนองค์กรเอกชน เข้ามาช่วยมีบทบาทสำคัญในการกำหนดนโยบายการจ่ายบํานาญพื้นฐานแห่งชาติที่เป็นธรรมและยั่งยืนสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเศรษฐกิจและสังคมที่ครอบคลุมประชากรทุกกลุ่ม</p>
<p>แหล่งที่มาของเงิน  จะมีการจัดตั้ง “กองทุนบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ” เป็นแหล่งเงินทุนสำหรับใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการบำนาญพื้นฐานแห่งชาติ มาจาก 14 แหล่ง เช่น เงินทุนประเดิมที่รัฐบาลจัดสรรให้ ภาษีสรรพสามิต สลากกินแบ่งรัฐบาล ส่วนแบ่งค่าสัมปทานคลื่นความถี่ ค่าภาคหลวงตามกฎหมายว่าด้วยแร่ เงินบํารุงภาษีรถยนต์ ส่วนแบ่งกฎหมายว่าด้วยการพนัน ส่วนแบ่งรายได้ขุดเจาะน้ำมันหรือแก๊สธรรมชาติ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีความมั่งคั่ง ภาษีกำไรจากหุ้นและอสังหาริมทรัพย์ ภาษีมรดก ภาษีการได้รับประโยชน์จากการพัฒนาระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของรัฐ (ภาษีลาภลอย) ภาษีเงินได้จากการยกเลิกบีโอไอ หรือสิทธิพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยส่งเสริมการลงทุน เป็นต้น</p>
<p>โดยให้ราชการส่วนท้องถิ่นยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีหน้าที่และอํานาจในการช่วยลงทะเบียนรายชื่อของผู้สูงอายุที่มีความประสงค์จะรับสิทธิดังกล่าว (เหมือนที่ขึ้นทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุที่ทำในตอนนี้)</p>
</div>
<p> </p>
</div></div></div><div class="field field-name-field-variety field-type-taxonomy-term-reference field-label-hidden"><div class="field-items"><div class="field-item even"><a href="/category/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7" typeof="skos:Concept" property="rdfs:label skos:prefLabel" datatype="">ขhttps://fb.me/prachatai : ทวิตเตอร์ https://twitter.com/prachatai : LINE ไอดี = @prachatai</div></div></div>
 

https://prachatai.com/journal/2023/11/106805
 

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

บันทึกการเข้า

นักข่าวหัวเห็ด แห่งเวบสุขใจ
อัพเดตข่าวทันใจ ตลอด 24 ชั่วโมง

>> http://www.SookJai.com <<
คำค้น:
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน


หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
หัวข้อ เริ่มโดย ตอบ อ่าน กระทู้ล่าสุด
[ข่าวมาแรง] - สารคดีแม่น้ำโขง: เปลี่ยน (Consequence)
สุขใจ ร้านน้ำชา
สุขใจ ข่าวสด 0 79 กระทู้ล่าสุด 25 ตุลาคม 2566 02:36:41
โดย สุขใจ ข่าวสด
[ข่าวมาแรง] - ครม.อนุมติร่าง พรบ.สมรสเท่าเทียมของ ยธ.เปลี่ยน ‘ชาย-หญิง’ เป็น ‘บุคคล’ รองรับสิทธ
สุขใจ ร้านน้ำชา
สุขใจ ข่าวสด 0 65 กระทู้ล่าสุด 21 พฤศจิกายน 2566 23:51:52
โดย สุขใจ ข่าวสด
[ข่าวมาแรง] - 'กัณวีร์' ผิดหวังงบปี'67 เหมือนลอก 'ประยุทธ์' งบฯ ความมั่นคงสูง เปลี่ยน กต.
สุขใจ ร้านน้ำชา
สุขใจ ข่าวสด 0 51 กระทู้ล่าสุด 04 มกราคม 2567 21:33:32
โดย สุขใจ ข่าวสด
[ข่าวมาแรง] - 'สปส.' แจงผลเลือกตั้งบอร์ดฯ เปลี่ยน เป็นปัญหาผู้ปฏิบัติงาน-'ไม่ตอบ' ให้สอบ
สุขใจ ร้านน้ำชา
สุขใจ ข่าวสด 0 54 กระทู้ล่าสุด 25 มกราคม 2567 23:59:31
โดย สุขใจ ข่าวสด
[ข่าวมาแรง] - สภาฯ เปิดรับฟังความคิดเห็นร่าง กม.เปลี่ยน 'เบี้ยยังชีพ' ให้เป็น 'บำนาญแห่งช
สุขใจ ร้านน้ำชา
สุขใจ ข่าวสด 0 42 กระทู้ล่าสุด 29 มกราคม 2567 18:35:31
โดย สุขใจ ข่าวสด
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.132 วินาที กับ 32 คำสั่ง

Google visited last this page วานนี้