[ สุขใจ ดอท คอม บ้านหลังเล็กอันแสนอบอุ่น ] ธรรมะ พุทธประวัติ ฟังธรรม ดูหนัง ฟังเพลง เกมส์ เบาสมอง ดูดวง สุขภาพ สารพันความรู้
20 เมษายน 2567 04:47:33 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เวบบอร์ด   ช่วยเหลือ ห้องเกม ปฏิทิน Tags เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก ห้องสนทนา  
บุคคลทั่วไป, คุณถูกห้ามตั้งกระทู้หรือส่งข้อความส่วนตัวในฟอรั่มนี้
Fuck Advertise !!

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: เหตุแห่งการเป็น พระธาตุ  (อ่าน 2096 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7861


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« เมื่อ: 02 สิงหาคม 2553 23:06:35 »

http://i63.photobucket.com/albums/h151/chotiparla/chotiparla2/01.jpg
เหตุแห่งการเป็น พระธาตุ


พระอริยะหรืออริยบุคคลที่ปฏิบัติธรรมถูกหลักธรรมจักรฯนั้น กายและ ใจของท่านจะได้รับการซักฟอก ชำระล้างด้วยวิมุตติธรรม
(ธาตุธรรมอันบริสุทธิ์แท้อยู่ระหว่างรูปกับนาม อยู่เหนืออนิจจังแห่งภพสาม)
อนุสัย และ อาสวะกิเลสทั้งหลายค่อยๆ ถูกขจัดออกไปจากส่วนต่างๆทั้งกายและใจ (ทุกส่วนของขันธ์ 5)
ส่วนต่างๆที่ลมปราณเคยผ่านไปถึงจึงค่อยๆกลายเป็นพระธาตุไป กล่าวอย่างย่อก็คือว่า จิตอันบริสุทธิ์ของพระอรหันต์นั้น
มีอำนาจซักฟอกธาตุขันธ์ให้เป็นธาตุอันบริสุทธิ์ จึงเกิดเป็นพระธาตุได้
หลวงปู่ตื้อ อจลธัมโม วัดป่าอรัญวิเวก ต.บ้านป่า อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม พระอริยะสำคัญสายพระอาจารย์มั่น และ เป็นสหายร่วมธุดงค์ของหลวงปู่แหวน สุจิณโณ
ได้เคยกล่าวไว้ว่า "อำนาจตบะที่อริยบุคคลได้ตั้งหน้าบำเพ็ญเพียรเพื่อขัดเกลากิเลสนั้น มิได้แผดเผาชำระล้างเฉพาะกิเลสเท่านั้น
หากแต่ได้แผดเผา ชำระล้าง ซักฟอกกระดูกในร่างกายให้กลายเป็นพระธาตุไปด้วยในขณะเดียวกัน"


*จากหนังสือพระบรมธาตุ ของ อ.บริภัทร

Share this topic on AskShare this topic on DiggShare this topic on FacebookShare this topic on GoogleShare this topic on LiveShare this topic on RedditShare this topic on TwitterShare this topic on YahooShare this topic on Google buzz

บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
หมีงงในพงหญ้า
ยืนงงในดงตีน
ผู้ก่อตั้งเวบฯ
นักโพสท์ระดับ 15
*

คะแนนความดี: +62/-0
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
United Kingdom United Kingdom

กระทู้: 7861


• Big Bear •

ระบบปฏิบัติการ:
Windows XP Windows XP
เวบเบราเซอร์:
MS Internet Explorer 7.0 MS Internet Explorer 7.0


ไม่มี ไม่ใช้ ไม่รู้
ดูรายละเอียด เว็บไซต์
« ตอบ #1 เมื่อ: 02 สิงหาคม 2553 23:06:49 »

กระดูกของปุถุชนผู้มีกิเลสหนา ตัณหาเหนียว ย่อมมีโครงสร้างสลับซับซ้อน ประกอบด้วยสารผสมเชิงซ้อนหลายชั้นจนมีสีดำ

กระดูกของผู้มีศีลธรรม ผู้มีกิเลศเบา ตัณหาบาง ย่อมมีโครงสร้างโปร่งประกอบด้วยสารประกอบที่มีความสับสนน้อย มักมีสีเทา

กระดูกของพระอรหันต์ ผู้หมดจดปราศจากกิเลศตัณหา เพราะตัดสายอุปทาน (อันเป็นแรงร้อยยึดเหนี่ยว) เสียได้
กระดูกของท่านจึงสลายตัวกลายเป็นธาตุเดี่ยว กล่าวคือ ส่วนที่เป็นแคลเซียมก็รวมตัวกับแคลเซียม
ส่วนที่เป็นซิลิคอนรวมกับซิลิคอน มีสีและคุณสมบัติเป็นธาตุอันอิสระตามเดิม ซึ่งเรียกว่า พระธาตุดังนี้


*จากหนังสือ พระไตรปิฏกฉบับพิเศษ ธรรมธาตุ ธรรมชาติแห่งสรรพสิ่ง ของ ไชย ณ พล
บันทึกการเข้า

B l a c k B e a r : T h e D i a r y
คำค้น: เหตุ สาเหตุ การเกิด การเป็น พระธาตุ.พระบรมธาตุ 
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  


คุณ ไม่สามารถ ตั้งกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ ตอบกระทู้ได้
คุณ ไม่สามารถ แนบไฟล์ได้
คุณ ไม่สามารถ แก้ไขข้อความได้
BBCode เปิดใช้งาน
Smilies เปิดใช้งาน
[img] เปิดใช้งาน
HTML เปิดใช้งาน


หัวข้อที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนี้
หัวข้อ เริ่มโดย ตอบ อ่าน กระทู้ล่าสุด
เชิญชมสารคดีเรื่องยาว พระธาตุ ดูกันแบบเต็ม ๆ มีไฟล์ให้ดาวน์โหลด (100 กว่าเมกฯ)
ห้อง วีดีโอ
หมีงงในพงหญ้า 0 2348 กระทู้ล่าสุด 29 สิงหาคม 2553 18:17:24
โดย หมีงงในพงหญ้า
Powered by MySQL Powered by PHP
Bookmark and Share

www.SookJai.com Created By Mckaforce | Sookjai.com Sitemap | CopyRight All Rights Reserved
Mckaforce Group | Sookjai Group
Best viewed with IE 7.0 , Chrome , Opera , Firefox 3.5
Compatible All OS , Resolution 1024 x 768 Or Higher
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.166 วินาที กับ 32 คำสั่ง

Google visited last this page 12 มีนาคม 2567 20:01:57